SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
จัดทำโดย
นำยภูวิศ เดชะบุญเลขที่ ๒๘
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๕.๑๓
โรงเรียนสำมัคคีวิทยำคม
สารบัญ
• กำรปฏิวัติของประเทศจีนครั้งแรก
• สำเหตุกำรปฏิวัติครั้งแรกของจีน
• สำเหตุที่ ๑
• สำเหตุที่ ๒
• สำเหตุที่ ๓
• ลัทธิไตรรำษฎร์
• ลัทธิที่ ๑
• ลัทธิที่ ๒
• ลัทธิที่ ๓
ผลของกำรปฏิวัติครั้งแรก
ผลกระทบของกำรปฏิวัติจีนครั้งแรกต่อโลก
กำรปฏิวัติของประเทศจีนครั้งที่ ๒
กำรปฏิวัติของจีนครั้งที่ ๒
สำเหตุกำรปฏิวัติครั้งที่ ๒ ของจีน
ควำมสำเร็จของกำรปฏิวัติของจีนครั้งที่ ๒
ผลกระทบของกำรปฏิวัติจีนครั้งแรก
บรรณำนุกรม
กำรปฏิวัติของประเทศจีนครั้งแรก
กำรปฏิวัติจีนครั้งแรก เกิดในปี ค.ศ. ๑๙๑๑ เป็นกำรโค่นล้มอำนำจกำรปกครองของรำชวงศ์ชิง
รำชวงศ์สุดท้ำยที่ปกครองจีน และสถำปนำสำธำรณรัฐจีน
กำรปฏิวัตินี้ได้ชื่อว่ำซินไฮ่เพรำะมีขึ้นใน ค.ศ. ๑๙๑๑ ซึ่งตรงกับอักษรซินไฮ่ในแผนภูมิสวรรค์ใน
ปฏิทินจีน โดยกำรนำของ ดร.ชุน ยัดเซน หัวหน้ำพรรคก๊ก มิน ตั๋ง เป็นผลทำให้จีนเปลี่ยนแปลงกำรปกครองเข้ำ
สู่ระบอบประชำธิปไตยในที่สุด
สำเหตุกำรปฏิวัติครั้งแรกของจีน
๑. กำรคุกคำมจำกต่ำงชำติ
โดยเฉพำะชำติมหำอำนำจตะวันตกแลญี่ปุ่น ซึ่งจีนทำสงครำมต่อต้ำนกำรรุกรำนของกองกำลังต่ำงชำติเป็นฝ่ำยแพ้
มำโดยตลอด ทำให้คณะปฏิวัติไม่พอใจระบอบกำรปกครองของรำชวงศ์แมนจู
๒. ควำมอ่อนแอของรำชวงศ์ชิง
จักรพรรดิแมนจูปกครองจนเป็นเวลำ 268 ปี (ค.ศ. ๑๖๔๔ - ๑๙๑๒) ส่วนใหญ่ขำดควำมเข้มแข็งในกำรปกครอง มี
กำรแย่งชิอำนำจในหมู่ผู้นำรำชวงศ์
๓. ควำมเสื่อมโทรมของสภำพสังคมจีน
รำษฎรส่วนใหญ่ตกอยู่ในสภำพยำกจน ชำวไร่ชำวนำถูกขูดรีดภำษีอย่ำงหนัก ถูกเอำรัดเอำเปรียบจำกเจ้ำของที่ดิน
ชำวต่ำงชำติเข้ำมำกอบโกยผลประโยชน์จำกแผ่นดินจีน
สำเหตุที่ ๑ : สงครำมจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่๑
หลังกำรปฏิรูปเมจิในญี่ปุ่นช่วงปลำยศตวรรษที่ ๑๙ ญี่ปุ่นเริ่มขยำยอำนำจออกนอกประเทศ โดยมี
เป้ำหมำยที่แผ่นดินจีนอันกว้ำงใหญ่ ด้วยกำรนำกองทัพบุกยึดครองเกำหลีซึ่งเป็น ประเทศรำชของจีนเพื่อหวัง
เป็นเส้นทำงเข้ำสู่จีน
ปี พ.ศ. ๒๔๓๗ (ค.ศ. ๑๘๙๔) รัชศกกวงซี่ ปีที่ ๒๐ เกำหลีเกิดจลำจลกลุ่มภูมิปัญญำตะวันออก(ตงเส
วียตั่ง) ขึ้น จึงร้องขอให้จีนช่วยเหลือ จีนส่งกองทัพไปตำมคำขอ ส่วนญี่ปุ่นส่งกองทัพเรือไปยึดครองเกำหลีและ
โจมตีทหำรจีนอันเป็นกำรประกำศสงครำมอย่ำงเป็นทำงกำร กองทหำรชิงพ่ำยแพ้ ญี่ปุ่นยังรุกต่อเนื่องทำให้รำช
สำนักชิงหวั่นเกรงควำมเข้มแข็งของกองทัพญี่ปุ่น จึงรีบขอเจรจำสงบศึกก่อน
สงครำมจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่1 (ต่อ)
ในปีค.ศ. ๑๘๙๕ จึงทำสนธิสัญญำ ชิโมโนเซกิ ระหว่ำงขุนนำงหลี่หงจำง กับ ผู้นำญี่ปุ่นชื่อ นำยอิโต อิโรบูมิ
ควำมสูญเสียของจีนคือ ยกเกำหลี ไต้หวัน คำบสมุทรเหลียวตง ให้ญี่ปุ่น ใช้เงินค่ำปฏิกรรมสงครำมนับสองร้อยล้ำน
ตำลึง อนุญำตให้ตั้งโรงงำนตำมเมืองท่ำของจีนได้
ผลจำกสนธิสัญญำนี้บำงส่วนไปกระทบต่อควำมมั่นคงของรัสเซียซึ่งมีดินแดนบำงส่วนติดกับจีนที่บริเวณ
คำบสมุทรเหลียวตง รัสเซียร่วมกับฝรั่งเศส เยอรมัน ทำกำรคัดค้ำนกำรยึดครองดินแดนผืนนั้นอย่ำงหนักหน่วง ญี่ปุ่น
จำใจคืนคำบสมุทรเหลียวตงให้จีน โดยแลกกับเงินแท่งหลำยล้ำนตำลึง กำรต้องใช้จ่ำยเงินจำนวนสูงมำกในหลำย
กรณีโดยรำชสำนักชิง ทำให้ประชำชนเดือดร้อนหนักจำกกำรรีดภำษี ควำมยำกแค้นแผ่ขยำยกว้ำงขึ้นเรื่อยๆ แรงคับ
แค้นใจถูกเก็บอัดแน่นมำกขึ้นในหมู่ประชำชน
สำเหตุที่ ๒ : รัฐธรรมนูญของรำชวงศ์ชิง
ช่วงปลำยลมหำยใจของพระนำงซูสีไทเฮำ ฝ่ำยต่อต้ำนรำชสำนักชิงมีพลังมำกขึ้นและแยกเป็นสองฝ่ำย
คือ ฝ่ำยสนับสนุนให้มีรัฐธรรมนูญโดยยังมีฮ่องเต้ของคังโหย่วเหวยกับ ฝ่ำยล้มล้ำงรำชวงศ์ชิงของดร.ซุนยัดเซน
เพื่อเป็นกำรลดควำมร้อนแรงของประชำชน รำชสำนักชิงเลือกจะร่ำงรัฐธรรมนูญตำมที่ประชำชนต้องกำร ทำให้ฝ่ำย
ล้มล้ำงรำชวงศ์ชิงไม่เป็นที่สนใจ เพรำะควำมหวังใหม่ในท่ำทีอ่อนลงของรำชสำนัก
พระนำงซูสีไทเฮำคัดเลือกรัชทำยำทใหม่และ ถือเป็นคนสุดท้ำยของรำชวงศ์ชิงก่อนสิ้นลมหำยใจ คือ
จักรพรรดิผู่อี๋หรือผู่อี๋ ตอนนั้นมีพระชนมำยุไม่ถึง ๓ ขวบ และเปลี่ยนเป็นรัชศกเซียนถ่ง โดยมีพระบิดำ คือ เจ้ำชำยฉุน
(ไจ้เฟิง) เป็นผู้สำเร็จรำชกำรบริหำรแผ่นดินแทน
รัฐธรรมนูญของรำชวงศ์ชิง (ต่อ)
พระบิดำร่ำงรัฐธรรมนูญต่อไปเมื่อประกำศใช้ในแผ่นดินกลับสร้ำงควำมผิดหวังแก่ประชำชนอย่ำง
มำก เมื่อกำหนดให้กลุ่มผู้บริหำรประเทศเป็นเชื้อพระวงศ์ชิงส่วนใหญ่ คนจีนตระหนักใจแล้วว่ำ ควำมหวังเดียว
ของชำติ คือ ต้องใช้กำลังล้มล้ำงรำชวงศ์ชิงเท่ำนั้น
ฝ่ำยที่เคยเรียกร้องรัฐธรรมนูญของคังโหย่วเหวยผันตัวเองไปสนับสนุนกลุ่มดร.ซุนยัดเซนมำกขึ้น
หลังจำกเห็นรัฐธรรมนูญฉบับของรำชสำนักชิงแล้ว ประชำชนเปลี่ยนไปเข้ำร่วมแนวคิดของดร.ซุนยัดเซนเพิ่ม
ทวีขึ้นและถือว่ำทรงอิทธิพลมำก ชะตำกรรมของรำชสำนักชิงเข้ำสู่จุดวิกฤติ
สำเหตุที่ ๓ : ควำมเสื่อมโทรมของระบบจักรพรรดิ
ประเทศจีนอยู่ภำยใต้กำรนำของรำชวงศ์แมนจูเป็นเวลำสองร้อยปีเศษก็ถึงซึ่งควำมเสื่อม เมื่อเรำ
สังเกตประวัติวัฏจักรของรำชวงศ์จีนเป็นเวลำ ๒,๐๐๐ ปีเศษแล้ว กำรเสื่อมโทรมของรำชวงศ์แมนจูก็เป็นไป
ตำมกฎกำรเกิดกำรเสียอำนำจของรัฐบำลจีนดังได้กล่ำวแล้ว แต่กำรสูญเสียอำนำจของรำชวงศ์แมนจูครั้งนี้ผิด
กับกำรสูญเสียอำนำจของรำชวงศ์จีนในสมัยก่อน ในข้อที่ว่ำ มีมหำอำนำจตะวันตกเข้ำไปแทรกแซงด้วยกำลัง
อำวุธ อันทันสมัย
มหำอำนำจตะวันตกได้ฝ่ำน้ำข้ำมทะเลไปแสดงแสนยำนุภำพหรือ “ควำมป่ำเถื่อน” ต่อชนชำวจีน
ด้วยกำรประเดิมชัยในสงครำมฝิ่น ปี ค.ศ. ๑๘๔๐ - ๑๘๔๒ และสงครำมแอโร ปี ค.ศ. ๑๘๕๗ - ๑๘๕๘
ประเทศจีนต้องยอมจำนนต่อกำรบีบบังคับด้วยอำนำจของมหำอำนำจตะวันตก
อันเป็นผลให้ต้องชำระ ค่ำปฏิกรรมสงครำม ต้องเปิดเมืองท่ำ และผลซึ่งตำมมำก็คือกำรแทรกซึมใน
ด้ำนกำรเมือง จนทำให้กำรปกครองตำมระบอบสมบูรณำญำสิทธิรำชย์ ตลอดทั้งรำกฐำนในทำงเศรษฐกิจ
กำรสังคมต้องสั่นคลอนไปตำมกัน ๓
ลัทธิไตรรำษฎร์
๑. ลัทธิประชำชำติมีควำมหมำย ๒ ด้ำนคือปลดแอกตนเองจำกกำรถูกครอบงำของบรรดำจักรวรรดินิยม และ
กำรปลดแอกประชำชนที่ถูกกดขี่ให้มีควำมเสมอภำคกัน
๒. ลัทธิประชำสิทธิ คือ ประชำชนทุกคนมีสิทธิเสมอภำคกันโดยถ้วนหน้ำ ไม่ใช่ปล่อยให้อำนำจถูกผูกขำดไว้
กับกลุ่มบุคคลหรือชนชั้นใด แล้วใช้อำนำจนั้นย้อนกลับมำกดขี่ประชำชน ต้องยึดอำนำจคืนมำจำกคนขำย
ชำติ สุนัขรับใช้จักรวรรดิินิยม และพวกขุนศึกบ้ำอำนำจ
๓. ลัทธิประชำชีพ คือ กำรเฉลี่ยสิทธิที่ดินและควบคุมทุน ดึงที่ดินที่ถูกผูกขำดไว้ในมือคนกลุ่มน้อยของ
ประเทศที่มีเพียงหยิบมือหนึ่งออกมำปันส่วน กระจำยสิทธิกำรถือครองที่ดินทำกินให้คนส่วนใหญ่ของ
ประเทศ “ชำวนำต้องมีที่นำเป็นของตนเอง” ต่อสู้กับทุนเอกชนที่ควบคุมชีวิตของประชำชนคนส่วนใหญ่ไว้
ในมือ
ลัทธิที่ ๑ : ลัทธิควำมเป็นเอกรำชของชำติ
ควำมคิดนี้ได้รับกำรขยำยควำมใหม่ในปี ๑๙๒๔ กำรโค่นล้มรำชวงศ์แมนจูได้สำเร็จแล้ว แต่
มหำอำนำจจักรวรรดินิยมยังคงถือเป็นขวักไขว่อยู่ตำมหัวเมืองต่ำง ๆ ผืนแผ่นดินของจีนหำใช่เป็นลัทธิขิงชำว
จีนไม่ ซุนได้เพิ่มเอำคำโฆษณำต่อต้ำนจักรวรรดินิยมมำสอดแทรกหลักกำรปกครองตนเองที่ควรจะได้แก่ชน
กลุ่มน้อยภำยในประเทศจีน (ประเทศจีนประกอบด้วยเชื้อชำติกลุ่มใหญ่ ๘ เผ่ำ คือ ฮั่น แมนจู มองโกล ทิเบต
มอสเล็ม เหมียว(แม้ว) เหยำ(เย้ำ) หลี ) หลักกำรนี้จะได้รับควำมสำเร็จต่อเมื่อได้มีกำรปฏิวัติต่อต้ำนกำร
ควบคุมของจักรวรรดินิยม รวมทั้งชำวจีนเองที่สมรู้น่วมคิดกับจักรวรรดินิยม หน้ำที่ของชำวจีนตำมควำมหวัง
ของซุนนั้น รวมถึงกำรช่วยเหลือปลดแอกลัทธิจักรวรรดินิยมให้แก่ประชำชำติ นั่นก็คือ เขำได้ขยำยขอบเขต
ของกำรปฏิวัติจำกภำยในประเทศเป็นกำรปฏิวัติสังคมทั่วไปแห่งโลกด้วย จีนควรให้ควำมร่วมมือกับญี่ปุ่นใน
กำรให้ควำมช่วยเหลือแก่ชำวเอเชียเพื่อต่อสู้กับจักรวรรดินิยมฝรั่ง ในขณะเดียวกันจีนควรให้ควำมร่วมมือกับ
โซเวียตในกำรต่อต้ำนชนชั้นขูดรีด ไม่เลือกว่ำผู้นั้นจะมีกำเนิดมำจำกแหล่งใด
ลัทธิควำมเป็นเอกรำชของชำติ (ต่อ)
ในปัญญำชนกลุ่มน้อยนั้น ควำมคิดของซุนไม่แตกต่ำงไปจำกควำมคิดของเหล่ำจำรีดนิยมที่ได้รับ
อิทธิพลของลัทธิขงจื้อเท่ำไรนัก ในขณะที่เขำประกำศสนับสนุนหลักกำรปกครองตนเองให้แก่ชนกลุ่มน้อย
เขำกล่ำวว่ำ กำสรกลืนเชื้อชำติ (national assimilation) นั้นไม่ขัดกับหลักควำมเป็นเอกรำชแห่งชำติ นั้นก็
เท่ำกับว่ำ ถ้ำหำกชำวจีนสำมำรถกลืนชนกลุ่มน้อยโดยวิธีกำรซึมซำบแล้ว ชนกลุ่มน้อยก็ไม่จำเป็นต้องแสวงหำ
หลักกำรปกครองของตนเอง คำสอนนี้เตือนให้คิดถึงหลักกำรควำมเป็นพี่น้องและเพื่อนกันในระหว่ำงชนชำว
จีน (ต้ำถุง Great Commonwealth) ซึ่งไม่มีกำรขีดเส้นแบ่งเชื้อชำติแต่ประกำรใด
ลัทธิที่ ๒ : ลัทธิอำนำจอธิปไตยของประชำชน
ลัทธิอำนำจอธิปไตยของประชำชน เช่นเดียวกับกำสรปฏิวัติในประเทศต่ำง ๆ ผู้ก่อกำรปฏิวัติมักจะ
หวงแหนอำนำจสูงสุดในกำรปกครองประเทศไว้เป็นกำรชั่วครำว โดยเหตุผลโฆษณำชวนเชื่อในลักษณะ
แตกต่ำงกันไป คอมมิวนิสต์ประกำศว่ำระบอบของตนเองระบอบที่ประชำชนมีควำมเท่ำเทียมกันมำกที่สุดแต่
ลัทธิในกำรใช้อำนำจสูงสุดในกำรปกครองประเทศแทนชนชั้นกำรมชีพนั้น ได้แก่พรรคคอมมิวนิสต์ ซุนยอมรับ
ควำมไม่เท่ำเทียมกันโดยธรรมชำติขิงมนุษย์ โดยแบ่งควำมสำมำรถของมนุษย์ออกเป็น ๓ ขั้น (เผด็จกำรทหำร
กำรปกครองโดยพรรคกำรเมือง และกำรปกครองโดยรัฐธรรมนูญ) กำหนดอำนำจหน้ำที่ของกลุ่มชนที่จะใช้
อำนำจสูงสุดในกำรปกครองประเทศแทนประชำชน กำรมอบอำนำจเช่นนั้นเป็นกำรชั่วครำว ดังนั้นจึงไม่ขัดต่อ
หลักกำรอำนำจอธิปไตยของประชำชน
ลัทธิอำนำจอธิปไตยของประชำชน (ต่อ)
รัฐบำลในอุดมกำรณ์ของซุน จะต้องเป็นรัฐที่แบ่งแยกองค์กำรที่ใช้อำนำจอธิปไตยออกเป็น ๕ สำขำ
คือนอกจำกมีอำนำจนิติบัญญัติ อำนำจบริหำร และอำนำจตุลำกำร ตำมคะสอนของมองเตสกิเออ
(Monteaguieu) แล้ว เขำยังมีกำหนดอำนำจควบคุมและอำนำจกำรสอบไล่เข้ำไปอีกด้วย รัฐบำลที่แยกผู้ใช้
อำนำจอธิปไตยออกเป็น ๕ สำขำนั้น จะต้องมีหน้ำที่มำกที่สุดและได้รับกำรไว้วำงใจจำกประชำชนมำกที่สุด
ทั้งนี้เพรำะรัฐบำลมีควำมสำมำรถ(เหนิง) เปรียบเสมือนสำรถีขับรถ ย่อมเป็นผู้เชี่ยวชำญสมควรแก่ผู้โดยสำร
จะได้ให้ควำมไว้วำงใจ ในขณะเดียวกันประชำชนจะต้องมีอำนำจนี้มำกที่สุด กำรเป็นเจ้ำของอำนำจอธิปไตย
ของประชำชนอำจแสดงออกได้ ๔ ทำง อำนำจกำรออกเสียงเลือกตั้ง (Election) อำนำจถอดถอน (Recall)
และอำนำจกำรลงประชำมติ(Referendum) ในขณะที่รัฐบำลมีควำมสำมำรถ (เหนิง) ประชำชนมีอำนำจ
(ฉวน) ทฤษฎีของซุนคือกำร”ทำรัฐบำลให้เป็นเครื่องจักรกลและประชำชนเป็นวิศวกร” นั่นก็คือ “ประชำชน
๔๐๐ ล้ำนคนล้วนแต่เป็นกษัตริย์”จะเห็นได้ว่ำควำมคิดเกี่ยวกับรัฐในอุดมกำรณ์ของซุนอำจสืบสำนที่มำจำก ๔
แห่ง รัฐบำลในระบอบสำธำรณรัฐตำมควำมคิดกำรเมืองตะวันตก ลัทธิ ๔ ประกำร และหลักปฏิบัติดังเดิม
เกี่ยวกับลัทธิกำรสอบแข่งขัน และอำนำจกำรตรวจตรำควบคุมของจีน
ลัทธิที่ ๓ : ลัทธิควำมยุติธรรมในกำรครองชีพ (หมินเซิง)
เป็นหลักกำรที่เข้ำใจยำกที่สุดของลัทธิไตรรำษฎร์ นักกำรเมืองตะวันตกพำกันวิพำกษ์วิจำรณ์ว่ำ ไม่
เข้ำใจบ้ำง คลุมเครือบ้ำง ทั้งนี้เพรำะพวกนี้มักจะตั้งคำถำมแก่ตนเองก่อนว่ำ ซุนเป็นคอมมิวนิสต์หรือสังคม
นิยมหรือจัดอยู่ในค่ำยประชำธิปไตย แล้วแกะควำมคิดของเขำไปเข้ำสูตรลัทธิใดลัทธิหนึ่ง ผลก็คือควำม
สับสน เพรุนสร้ำงสูตรผสมขึ้นเป็นของตนเอง โดยอำศัยควำมรู้ภำยในและภำยนอกประเทศ ฉะนั้นควำมรู้
บำงตอนของเขำอำจเข้ำข้ำงประชำธิปไตยตำมฝ่ำยเจียงไคเช็คและพรรคพวกของเขำแอบอ้ำง และคำสอนบำง
ตอนก็เข้ำข้ำงหลักคอมมิวนิสต์ตำมฝ่ำยเมำเซตุงและพรรคพวกอ้ำงเช่นเดียวกัน
ลัทธิควำมยุติธรรมในกำรครองชีพ (ต่อ)
คำสอนในเล่มนี้มิได้แตกต่ำงไปจำกเดิมมำกนัก ข้อเสนออันชัดแจ้งของเขำก็คือกำรจัดสรรที่ดิน ซึ่ง
มีปรำกฏอยู่ในคำขวัญของสมำคมถุงเหมิงหุ้ยแล้วตั้งแต่ปี ๑๙๐๕ แต่ที่เขำขยำยให้กระจ่ำงขึ้นก็คือกำร
จัดระบบกำรลงทุน ซึ่งเป็นกำรเพ่งเล็งถึงระบอบอุตสำหกรรม ในกำรที่จะบรรลุผลตำมควำมมุ่งหมำยในเรื่อง
กำรจัดสรรที่ดินนั้น เขำเสนอว่ำ คุณค่ำของที่ดินอันเพิ่มขึ้นเองนั้นให้ตกเป็นประโยชน์ของรัฐ และกำรที่จะ
บรรลุตำมควำมมุ่งหมำยในกำรจัดระบบเรื่องกำรลงทุนนั้น เขำเสนอให้รัฐเข้ำดำเนินกำรอุตสำหกรรมและอุค
สำ หกิจที่สำคัญ ๆ เสียเอง เมื่อมีคนถำมถึงปัญหำหลักควำมยุติธรรมในกำรครองชีพของเขำ เขำยิ่งสร้ำง
ควำมสับสนให้แก่ผู้ฟังโดยตอบว่ำ “ มันเป็นลัทธิคอมมิวนิสต์และมันเป็นลัทธิสังคมนิยม”
ลัทธิควำมยุติธรรมในกำรครองชีพ (ต่อ)
ซุนไม่ห่วงใยคำสอนของเขำจะเอำมำจำกหรือตรงกับลัทธิคอมมิวนิสต์ หรือลัทธิฟำสซิสม์ หรือลัทธิ
อื่นใดในโลกนี้ ปัญหำที่เขำว่ำเป็นคอมมิวนิสต์หรือไม่นั้น ได้พิจำรณำมำแล้วในบทที่แล้ว กำรเพิ่มคำโฆษณำ
ต่อต้ำนลัทธิจักรวรรดินิยมของเขำ นับว่ำเป็นกำลังอันมหำศำลองเขำที่สำมำรถกำจัดศัตรู และในที่สุดจัดตั้ง
รัฐบำลนำโดยพรรคกำรเมืองตำมสูตรข้อ ๒ ของขบวนกำรปฏิวัติที่
ผลของกำรปฏิวัติครั้งแรก
ภำยหลังกำรปฎิวัติซินไฮ่ เนื่องจำกควำมอ่อนแอของชนชั้นนำยทุนจีนมิได้ปรำบศัตรูของกำรปฏิวัติ
ให้รำบคำบ ไม่กล้ำเสนอคำขวัญคัดค้ำนจักรวรรดินิยมอย่ำงแจ่มชัด ไม่ได้แก้ปัญหำที่ดินของชำวนำจึงมิได้และ
ไม่อำจที่จะไประดมและอำศัยพลังมวลชนอำไพศำลทำกำรปฏิวัติโดยต่อเนื่อง ดังนั้นรัฐบำลชั่วครำวนำนกิง
อันมีซุนยัดเซ็นเป็นหัวหน้ำ ซึ่งได้รับควำมกดดันอย่ำงหนักจำกอิทธิพลจักรวรรดินิยมและศักดินำนิยม ก็จำต้อง
ยอมประนีประนอมกับสุนัขรับใช้ของจักรวรรดินิยมหยวนซื่อไข่
ผลของกำรปฏิวัติครั้งแรกที่มีต่อกำรเปลี่ยนแปลงของโลก (ต่อ)
เนื่องจำกพวกปฏิกิริยำทั้งในและนอกประเทศสมคบกันรุมโจมตี ซุนยัดเซ็น โดยให้เขำยอมรับเงื่อนไข
กำรเจรจำสันติภำพ ยอมมอบอำนำจให้หยวนซื่อไข่ ดังนั้น พอหยวนซื่อไข่เสแสร้งรับว่ำระบอบสำธำรณรัฐ
ประชำธิปไตรเป็นระบอบปกครองที่ดีที่สุด และหลังจำกบีบให้จักรพรรดิรำชวงศ์ชิงสละรำชสมบัติ พร้อมกับ
รับรองกับรัฐบำลนำนกิงว่ำจะไม่รื้อฟื้นระบอบกษัตริย์ในประเทศจีนอย่ำงเด็ดขำด ซุนยัดเซ็นจึงถูกบีดให้
จำต้องยินยอมประนีประนอมโดยยื่นใบลำออกต่อรัฐบำลชั่วครำว ถึงแม้ว่ำก่อนลำออกจำกตำแหน่งซุนยัดเซ็น
ได้พยำยำมเสนอเงื่อนไข 3 ประกำร คือ ให้ตั้งเมืองหลวงในนครนนำนกิง ประธำนำธิบดีต้องรับตำแหน่งที่นำน
กิงและต้องเคำรพและปฏิบัติ บทบัญญัติเฉพำะกำล
ผลของกำรปฏิวัติครั้งแรก (ต่อ)
กำรตีโต้กลับอย่ำงบ้ำคลั่งของจักรวรรดินิยม และชนชั้นเจ้ำที่ศักดินำ ทำให้ซุนยัดเซ็นต้องจำยอมคืน
อำนำจกำรปกครองให้ไปกำรปฏิวัติประชำธิปไตยของชั้นนำยทุน จีนต้องรับควำมปรำชัยอย่ำงหนัก ทำให้กำร
ปฏิวัติได้รับควำมเสียหำยอย่ำงใหญ่หลวง ผลของกำรปฏิวัติซินไฮ่ต้องถูกหยวนซื่อไข่ซึ่งเป็นตัวแทนของชนชั้น
นำยหน้ำและเจ้ำที่ดินใหญ่ชุบมือเปิบด้วยประกำรฉะนี้สำธำรณรัฐประชำชนจีน จึงเป็นเพียงเป้ำหมำยที่ว่ำง
เปล่ำเป็นเหล่ำเก่ำในขวดใหม่ หำมีอะไรเปลี่ยนแปลงไม่ ฐำนะสังคมกึ่งเมืองขึ้นกึ่งศักดินำไม่มีอะไร
เปลี่ยนแปลงจักรวรรดินิยมและศักดินำนิยมยังคงเป็นขุนเขำใหญ่ ๒ ลูกที่ทับอยู่บนหัวของประชำชนจีนอย่ำง
หนักอึ้งต่อไป
ซึ่งต่อมำภำยหลังที่หยวนซื่อไข่ ผู้นำทำงทหำรได้รับตำแหน่งประธำนำธิบดี แต่เนื่องด้วยเป็นผู้ไม่มี
อุดมกำรณ์ประชำธิปไตยคิดจะสถำปนำตนเองเป็นจักรพรรดิ จึงเกิดควำมแตกแกภำยในประเทศ และประสบ
ปัญหำควำมยุ่งยำกทำงเศรษฐกิจตำมมำ
ผลกระทบของกำรปฏิวัติจีนครั้งแรก
๑. ลัทธิชำตินิยม เกิดควำมตื่นตัวในกระแสควำมคิดชำตินิยมในหมู่ผู้นำปัญญำ
ชนในภูมิภำคต่ำงๆ ของเอเชีย เพื่อขับไล่อิทธิพลกำรครอบงำของชำติมหำอำนำจ
๒. ลัทธิประชำธิปไตย เกิดควำมนิยมระบอบประชำธิปไตย ซึ่งมีรัฐธรรมนูญ
เป็นกฎหมำยสูงสุดในกำรปกครองประเทศ โดยต้องกำรยกเลิกระบบกำรปกครองแบบเก่ำ
การปฏิวัติประเทศจีนครั้งที่ ๒
กำรปฏิวัติของจีนครั้งที่ ๒
ปี ค.ศ. ๑๙๔๙ โดยกำรนำของ “หมำ เจ๋อตุง” ผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์จีนเป็นกำรปฏิวัติเปลี่ยนแปลง
กำรปกครองจำกระบอบสำธำรณรัฐประชำธิปไตย ข้ำสู่ระบอบสังคมนิยมหรือคอมมิวนิสต์
สำเหตุกำรปฏิวัติของจีนครั้งที่ ๒
๑. ปัญหำควำมเสื่อมโทรมทำงเศรษฐกิจและควำมยำกจนของประชำชน ซึ่งรัฐบำลของประธำนำธิบดี เจียง
ไคเช็ค ไม่สำมำรถแก้ปัญหำได้
๒. กำรเผยแพร่อุดมกำรณ์คอมมิวนิสต์ในประเทศจีน เพื่อมุ่งแก้ไขปัญหำควำมยำกจนของรำษฎร โดยให้
ควำมสำคัญแก่ชนชั้นผู้ใช้แรงงำนและเกษตรกร และเป็นศัตรูกับชนชั้นนำยทุน
ควำมสำเร็จของกำรปฏิวัติของจีนครั้งที่ ๒
๑. ระบอบคอมมิวนิสต์ในยุคของ “เหมำ เจ๋อตุง” รัฐบำลได้ยึดที่ดินทำกินของ
เอกชนมำเป็นของรัฐบำล และใช้ระบบกำรผลิตแบบนำรวม (หรือระบบคอมมูน) ชำวนำมีฐำนะเป็น
แรงงำนของรัฐ ทำให้ชำดควำมกระตือรือร้นเพรำะทุกคนได้รับผลตอบแทนท่ำกัน ชีวิตควำมเป็นอยู่ของ
ผู้คนส่วนใหญ่มีสภำพลำบำกยำกจนเหมือนๆ กัน
๒. ระบอบคอมมิวนิสต์ในยุคของ “เติ้ง เสี่ยวผิง” เป็นยุคที่จีนปฏิรูปเศรษฐกิจของประเทศให้เป็นระบบตลำด
หรือทุนนิยม โดยมรับแนวทำงทุนนิยมของชำติตะวันตกมำกขึ้น เช่น เปิดรับกำรลงทุนจำกต่ำงชำติเพื่อให้
คนจีนมีงำนทำ และอนุญำตให้ภำคเอกชนดำเนินธุรกิจกำรค้ำได้ เป็นต้น ทั้งนี้มีระบอบกำรปกครอง
ยังคงเป็นคอมมิวนิสต์เหมือนเดิม
ควำมสำเร็จของกำรปฏิวัติของจีนครั้งที่ ๒ (ต่อ)
๓. นโยบำย “หนึ่งประเทศ สองระบบ” ในสมัยของ “เติ้ง เสี่ยวผิง” หมำยถึง มี
ประเทศจีนเพียงประเทศเดียว แต่มีระบบเศรษฐกิจและกำรปกครอง 2 แบบ ได้แก่
- ระบอบคอมมิวนิสต์ สำหรับจีน
- ระบอบประชำธิปไตยและทุนนิยมเสรี สำหรับฮ่องกงและมำเก๊ำ
ผลกระทบของกำรปฏิวัติจีนครั้งที่ ๒
๑. กำรปฏิวัติของ “เหมำ เจ๋อตง” เป็นแบบอย่ำงในกำรปฏิวัติของกระบวนกำรคอมมิวนิสต์ในประเทศกำลัง
พัฒนำ ทั้งในทวีปเอเชีย แอฟริกำ และอมริกำใต้ โดยเฉพำะกำรใช้ยุทธศำสตร์ “ป่ำล้อมเมือง” โดยเริ่ม
จำกกำรปฏิวัติของเกษตรในชนบทและค่อยๆ ขยำยเข้ำไปสู่เมือง
๒. กำรปฏิรูปเศรษฐกิจตำมแนวของ “เติ้ง เสี่ยวผิง” โดยมรับระบบทุนนิยมของโลกตะวันตก เป็นคัวอย่ำง
ควำมสำเร็จของกำรแยกระบบกำรปกครองออกจำกระบบเศรษฐกิจ
บรรณานุกรม
ทวีป วรดิลก . ๒๕๒๔. ประวัติศาสตร์จีนสงครามฝิ่นถึงสงครามปฏิวัติซินไฮ่.กรุงเทพฯ:ธีระการพิมพ์
วัชระ ชีวะโกเศรษฐ.๒๕๕๓. ชีวประวัติดร.:ซุนยัดเซ็นนักปฏิวัติจีนผู้ยิ่งใหญ่.พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพฯ:
หนานจิง,มหาวิทยาลัยครู.๒๕๕๐.ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ประเทศจีน.กรุงเทพฯ:สุขภาพใจ
การปฏิวัติจีน1911. (๒๕๕๔).สืบค้นเมื่อวันที่ ๗ กันยายน ๒๕๖๐. จาก
https://sites.google.com/site/social0023
การปฏิวัติจีน. (๒๕๕๖). สืบค้นเมื่อวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๖๐. จาก
http://pirun.ku.ac.th/~b5410802781/Untitled-2.html.
การปฏิวัติของประเทศจีน. (๒๕๕๕). สืบค้นเมื่อวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๖๐.
จาก https://gluoay555.wordpress.com/2012/01/04/การปฏิวัติของประเทศจีน
Taweesak Kunyochai. (๒๕๕๖). การปฏิวัติของจีน .สืบค้นเมื่อวันที่ ๗ กันยายน ๒๕๖๐.
จาก http://www.satit.up.ac.th/BBC07/AroundTheWorld/hist/1.html.

More Related Content

What's hot (20)

PHP - Introduction to Object Oriented Programming with PHP
PHP -  Introduction to  Object Oriented Programming with PHPPHP -  Introduction to  Object Oriented Programming with PHP
PHP - Introduction to Object Oriented Programming with PHP
 
Access Modifier.pptx
Access Modifier.pptxAccess Modifier.pptx
Access Modifier.pptx
 
Validation controls ASP .NET
Validation controls ASP .NETValidation controls ASP .NET
Validation controls ASP .NET
 
PHP Basic & Variables
PHP Basic & VariablesPHP Basic & Variables
PHP Basic & Variables
 
Php
PhpPhp
Php
 
Textbox n label
Textbox n labelTextbox n label
Textbox n label
 
Google closure compiler
Google closure compilerGoogle closure compiler
Google closure compiler
 
PHP - Introduction to PHP Forms
PHP - Introduction to PHP FormsPHP - Introduction to PHP Forms
PHP - Introduction to PHP Forms
 
Polymorphism in java
Polymorphism in javaPolymorphism in java
Polymorphism in java
 
7. check box control
7. check box control7. check box control
7. check box control
 
Looping in c language
Looping in c languageLooping in c language
Looping in c language
 
OCA Java SE 8 Exam Chapter 2 Operators & Statements
OCA Java SE 8 Exam Chapter 2 Operators & StatementsOCA Java SE 8 Exam Chapter 2 Operators & Statements
OCA Java SE 8 Exam Chapter 2 Operators & Statements
 
Java interfaces
Java interfacesJava interfaces
Java interfaces
 
Java Basic Oops Concept
Java Basic Oops ConceptJava Basic Oops Concept
Java Basic Oops Concept
 
Statements and Conditions in PHP
Statements and Conditions in PHPStatements and Conditions in PHP
Statements and Conditions in PHP
 
Responding to a text
Responding to a textResponding to a text
Responding to a text
 
Best Practices for RESTful Web Services
Best Practices for RESTful Web ServicesBest Practices for RESTful Web Services
Best Practices for RESTful Web Services
 
Abstract Class and Interface in PHP
Abstract Class and Interface in PHPAbstract Class and Interface in PHP
Abstract Class and Interface in PHP
 
Loops PHP 04
Loops PHP 04Loops PHP 04
Loops PHP 04
 
Php with MYSQL Database
Php with MYSQL DatabasePhp with MYSQL Database
Php with MYSQL Database
 

Similar to การปฏิวัติประเทศจีน.

บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าTeeranan
 
World issues
World issuesWorld issues
World issuesTeeranan
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355Teeranan
 
World issues 160155
World issues 160155World issues 160155
World issues 160155Teeranan
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติTeeranan
 
Socialnetwork
SocialnetworkSocialnetwork
SocialnetworkTeeranan
 

Similar to การปฏิวัติประเทศจีน. (6)

บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
 
World issues
World issuesWorld issues
World issues
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355
 
World issues 160155
World issues 160155World issues 160155
World issues 160155
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
 
Socialnetwork
SocialnetworkSocialnetwork
Socialnetwork
 

การปฏิวัติประเทศจีน.

  • 2. สารบัญ • กำรปฏิวัติของประเทศจีนครั้งแรก • สำเหตุกำรปฏิวัติครั้งแรกของจีน • สำเหตุที่ ๑ • สำเหตุที่ ๒ • สำเหตุที่ ๓ • ลัทธิไตรรำษฎร์ • ลัทธิที่ ๑ • ลัทธิที่ ๒ • ลัทธิที่ ๓ ผลของกำรปฏิวัติครั้งแรก ผลกระทบของกำรปฏิวัติจีนครั้งแรกต่อโลก กำรปฏิวัติของประเทศจีนครั้งที่ ๒ กำรปฏิวัติของจีนครั้งที่ ๒ สำเหตุกำรปฏิวัติครั้งที่ ๒ ของจีน ควำมสำเร็จของกำรปฏิวัติของจีนครั้งที่ ๒ ผลกระทบของกำรปฏิวัติจีนครั้งแรก บรรณำนุกรม
  • 3. กำรปฏิวัติของประเทศจีนครั้งแรก กำรปฏิวัติจีนครั้งแรก เกิดในปี ค.ศ. ๑๙๑๑ เป็นกำรโค่นล้มอำนำจกำรปกครองของรำชวงศ์ชิง รำชวงศ์สุดท้ำยที่ปกครองจีน และสถำปนำสำธำรณรัฐจีน กำรปฏิวัตินี้ได้ชื่อว่ำซินไฮ่เพรำะมีขึ้นใน ค.ศ. ๑๙๑๑ ซึ่งตรงกับอักษรซินไฮ่ในแผนภูมิสวรรค์ใน ปฏิทินจีน โดยกำรนำของ ดร.ชุน ยัดเซน หัวหน้ำพรรคก๊ก มิน ตั๋ง เป็นผลทำให้จีนเปลี่ยนแปลงกำรปกครองเข้ำ สู่ระบอบประชำธิปไตยในที่สุด
  • 4. สำเหตุกำรปฏิวัติครั้งแรกของจีน ๑. กำรคุกคำมจำกต่ำงชำติ โดยเฉพำะชำติมหำอำนำจตะวันตกแลญี่ปุ่น ซึ่งจีนทำสงครำมต่อต้ำนกำรรุกรำนของกองกำลังต่ำงชำติเป็นฝ่ำยแพ้ มำโดยตลอด ทำให้คณะปฏิวัติไม่พอใจระบอบกำรปกครองของรำชวงศ์แมนจู ๒. ควำมอ่อนแอของรำชวงศ์ชิง จักรพรรดิแมนจูปกครองจนเป็นเวลำ 268 ปี (ค.ศ. ๑๖๔๔ - ๑๙๑๒) ส่วนใหญ่ขำดควำมเข้มแข็งในกำรปกครอง มี กำรแย่งชิอำนำจในหมู่ผู้นำรำชวงศ์ ๓. ควำมเสื่อมโทรมของสภำพสังคมจีน รำษฎรส่วนใหญ่ตกอยู่ในสภำพยำกจน ชำวไร่ชำวนำถูกขูดรีดภำษีอย่ำงหนัก ถูกเอำรัดเอำเปรียบจำกเจ้ำของที่ดิน ชำวต่ำงชำติเข้ำมำกอบโกยผลประโยชน์จำกแผ่นดินจีน
  • 5. สำเหตุที่ ๑ : สงครำมจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่๑ หลังกำรปฏิรูปเมจิในญี่ปุ่นช่วงปลำยศตวรรษที่ ๑๙ ญี่ปุ่นเริ่มขยำยอำนำจออกนอกประเทศ โดยมี เป้ำหมำยที่แผ่นดินจีนอันกว้ำงใหญ่ ด้วยกำรนำกองทัพบุกยึดครองเกำหลีซึ่งเป็น ประเทศรำชของจีนเพื่อหวัง เป็นเส้นทำงเข้ำสู่จีน ปี พ.ศ. ๒๔๓๗ (ค.ศ. ๑๘๙๔) รัชศกกวงซี่ ปีที่ ๒๐ เกำหลีเกิดจลำจลกลุ่มภูมิปัญญำตะวันออก(ตงเส วียตั่ง) ขึ้น จึงร้องขอให้จีนช่วยเหลือ จีนส่งกองทัพไปตำมคำขอ ส่วนญี่ปุ่นส่งกองทัพเรือไปยึดครองเกำหลีและ โจมตีทหำรจีนอันเป็นกำรประกำศสงครำมอย่ำงเป็นทำงกำร กองทหำรชิงพ่ำยแพ้ ญี่ปุ่นยังรุกต่อเนื่องทำให้รำช สำนักชิงหวั่นเกรงควำมเข้มแข็งของกองทัพญี่ปุ่น จึงรีบขอเจรจำสงบศึกก่อน
  • 6. สงครำมจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่1 (ต่อ) ในปีค.ศ. ๑๘๙๕ จึงทำสนธิสัญญำ ชิโมโนเซกิ ระหว่ำงขุนนำงหลี่หงจำง กับ ผู้นำญี่ปุ่นชื่อ นำยอิโต อิโรบูมิ ควำมสูญเสียของจีนคือ ยกเกำหลี ไต้หวัน คำบสมุทรเหลียวตง ให้ญี่ปุ่น ใช้เงินค่ำปฏิกรรมสงครำมนับสองร้อยล้ำน ตำลึง อนุญำตให้ตั้งโรงงำนตำมเมืองท่ำของจีนได้ ผลจำกสนธิสัญญำนี้บำงส่วนไปกระทบต่อควำมมั่นคงของรัสเซียซึ่งมีดินแดนบำงส่วนติดกับจีนที่บริเวณ คำบสมุทรเหลียวตง รัสเซียร่วมกับฝรั่งเศส เยอรมัน ทำกำรคัดค้ำนกำรยึดครองดินแดนผืนนั้นอย่ำงหนักหน่วง ญี่ปุ่น จำใจคืนคำบสมุทรเหลียวตงให้จีน โดยแลกกับเงินแท่งหลำยล้ำนตำลึง กำรต้องใช้จ่ำยเงินจำนวนสูงมำกในหลำย กรณีโดยรำชสำนักชิง ทำให้ประชำชนเดือดร้อนหนักจำกกำรรีดภำษี ควำมยำกแค้นแผ่ขยำยกว้ำงขึ้นเรื่อยๆ แรงคับ แค้นใจถูกเก็บอัดแน่นมำกขึ้นในหมู่ประชำชน
  • 7. สำเหตุที่ ๒ : รัฐธรรมนูญของรำชวงศ์ชิง ช่วงปลำยลมหำยใจของพระนำงซูสีไทเฮำ ฝ่ำยต่อต้ำนรำชสำนักชิงมีพลังมำกขึ้นและแยกเป็นสองฝ่ำย คือ ฝ่ำยสนับสนุนให้มีรัฐธรรมนูญโดยยังมีฮ่องเต้ของคังโหย่วเหวยกับ ฝ่ำยล้มล้ำงรำชวงศ์ชิงของดร.ซุนยัดเซน เพื่อเป็นกำรลดควำมร้อนแรงของประชำชน รำชสำนักชิงเลือกจะร่ำงรัฐธรรมนูญตำมที่ประชำชนต้องกำร ทำให้ฝ่ำย ล้มล้ำงรำชวงศ์ชิงไม่เป็นที่สนใจ เพรำะควำมหวังใหม่ในท่ำทีอ่อนลงของรำชสำนัก พระนำงซูสีไทเฮำคัดเลือกรัชทำยำทใหม่และ ถือเป็นคนสุดท้ำยของรำชวงศ์ชิงก่อนสิ้นลมหำยใจ คือ จักรพรรดิผู่อี๋หรือผู่อี๋ ตอนนั้นมีพระชนมำยุไม่ถึง ๓ ขวบ และเปลี่ยนเป็นรัชศกเซียนถ่ง โดยมีพระบิดำ คือ เจ้ำชำยฉุน (ไจ้เฟิง) เป็นผู้สำเร็จรำชกำรบริหำรแผ่นดินแทน
  • 8. รัฐธรรมนูญของรำชวงศ์ชิง (ต่อ) พระบิดำร่ำงรัฐธรรมนูญต่อไปเมื่อประกำศใช้ในแผ่นดินกลับสร้ำงควำมผิดหวังแก่ประชำชนอย่ำง มำก เมื่อกำหนดให้กลุ่มผู้บริหำรประเทศเป็นเชื้อพระวงศ์ชิงส่วนใหญ่ คนจีนตระหนักใจแล้วว่ำ ควำมหวังเดียว ของชำติ คือ ต้องใช้กำลังล้มล้ำงรำชวงศ์ชิงเท่ำนั้น ฝ่ำยที่เคยเรียกร้องรัฐธรรมนูญของคังโหย่วเหวยผันตัวเองไปสนับสนุนกลุ่มดร.ซุนยัดเซนมำกขึ้น หลังจำกเห็นรัฐธรรมนูญฉบับของรำชสำนักชิงแล้ว ประชำชนเปลี่ยนไปเข้ำร่วมแนวคิดของดร.ซุนยัดเซนเพิ่ม ทวีขึ้นและถือว่ำทรงอิทธิพลมำก ชะตำกรรมของรำชสำนักชิงเข้ำสู่จุดวิกฤติ
  • 9. สำเหตุที่ ๓ : ควำมเสื่อมโทรมของระบบจักรพรรดิ ประเทศจีนอยู่ภำยใต้กำรนำของรำชวงศ์แมนจูเป็นเวลำสองร้อยปีเศษก็ถึงซึ่งควำมเสื่อม เมื่อเรำ สังเกตประวัติวัฏจักรของรำชวงศ์จีนเป็นเวลำ ๒,๐๐๐ ปีเศษแล้ว กำรเสื่อมโทรมของรำชวงศ์แมนจูก็เป็นไป ตำมกฎกำรเกิดกำรเสียอำนำจของรัฐบำลจีนดังได้กล่ำวแล้ว แต่กำรสูญเสียอำนำจของรำชวงศ์แมนจูครั้งนี้ผิด กับกำรสูญเสียอำนำจของรำชวงศ์จีนในสมัยก่อน ในข้อที่ว่ำ มีมหำอำนำจตะวันตกเข้ำไปแทรกแซงด้วยกำลัง อำวุธ อันทันสมัย มหำอำนำจตะวันตกได้ฝ่ำน้ำข้ำมทะเลไปแสดงแสนยำนุภำพหรือ “ควำมป่ำเถื่อน” ต่อชนชำวจีน ด้วยกำรประเดิมชัยในสงครำมฝิ่น ปี ค.ศ. ๑๘๔๐ - ๑๘๔๒ และสงครำมแอโร ปี ค.ศ. ๑๘๕๗ - ๑๘๕๘ ประเทศจีนต้องยอมจำนนต่อกำรบีบบังคับด้วยอำนำจของมหำอำนำจตะวันตก อันเป็นผลให้ต้องชำระ ค่ำปฏิกรรมสงครำม ต้องเปิดเมืองท่ำ และผลซึ่งตำมมำก็คือกำรแทรกซึมใน ด้ำนกำรเมือง จนทำให้กำรปกครองตำมระบอบสมบูรณำญำสิทธิรำชย์ ตลอดทั้งรำกฐำนในทำงเศรษฐกิจ กำรสังคมต้องสั่นคลอนไปตำมกัน ๓
  • 10. ลัทธิไตรรำษฎร์ ๑. ลัทธิประชำชำติมีควำมหมำย ๒ ด้ำนคือปลดแอกตนเองจำกกำรถูกครอบงำของบรรดำจักรวรรดินิยม และ กำรปลดแอกประชำชนที่ถูกกดขี่ให้มีควำมเสมอภำคกัน ๒. ลัทธิประชำสิทธิ คือ ประชำชนทุกคนมีสิทธิเสมอภำคกันโดยถ้วนหน้ำ ไม่ใช่ปล่อยให้อำนำจถูกผูกขำดไว้ กับกลุ่มบุคคลหรือชนชั้นใด แล้วใช้อำนำจนั้นย้อนกลับมำกดขี่ประชำชน ต้องยึดอำนำจคืนมำจำกคนขำย ชำติ สุนัขรับใช้จักรวรรดิินิยม และพวกขุนศึกบ้ำอำนำจ ๓. ลัทธิประชำชีพ คือ กำรเฉลี่ยสิทธิที่ดินและควบคุมทุน ดึงที่ดินที่ถูกผูกขำดไว้ในมือคนกลุ่มน้อยของ ประเทศที่มีเพียงหยิบมือหนึ่งออกมำปันส่วน กระจำยสิทธิกำรถือครองที่ดินทำกินให้คนส่วนใหญ่ของ ประเทศ “ชำวนำต้องมีที่นำเป็นของตนเอง” ต่อสู้กับทุนเอกชนที่ควบคุมชีวิตของประชำชนคนส่วนใหญ่ไว้ ในมือ
  • 11. ลัทธิที่ ๑ : ลัทธิควำมเป็นเอกรำชของชำติ ควำมคิดนี้ได้รับกำรขยำยควำมใหม่ในปี ๑๙๒๔ กำรโค่นล้มรำชวงศ์แมนจูได้สำเร็จแล้ว แต่ มหำอำนำจจักรวรรดินิยมยังคงถือเป็นขวักไขว่อยู่ตำมหัวเมืองต่ำง ๆ ผืนแผ่นดินของจีนหำใช่เป็นลัทธิขิงชำว จีนไม่ ซุนได้เพิ่มเอำคำโฆษณำต่อต้ำนจักรวรรดินิยมมำสอดแทรกหลักกำรปกครองตนเองที่ควรจะได้แก่ชน กลุ่มน้อยภำยในประเทศจีน (ประเทศจีนประกอบด้วยเชื้อชำติกลุ่มใหญ่ ๘ เผ่ำ คือ ฮั่น แมนจู มองโกล ทิเบต มอสเล็ม เหมียว(แม้ว) เหยำ(เย้ำ) หลี ) หลักกำรนี้จะได้รับควำมสำเร็จต่อเมื่อได้มีกำรปฏิวัติต่อต้ำนกำร ควบคุมของจักรวรรดินิยม รวมทั้งชำวจีนเองที่สมรู้น่วมคิดกับจักรวรรดินิยม หน้ำที่ของชำวจีนตำมควำมหวัง ของซุนนั้น รวมถึงกำรช่วยเหลือปลดแอกลัทธิจักรวรรดินิยมให้แก่ประชำชำติ นั่นก็คือ เขำได้ขยำยขอบเขต ของกำรปฏิวัติจำกภำยในประเทศเป็นกำรปฏิวัติสังคมทั่วไปแห่งโลกด้วย จีนควรให้ควำมร่วมมือกับญี่ปุ่นใน กำรให้ควำมช่วยเหลือแก่ชำวเอเชียเพื่อต่อสู้กับจักรวรรดินิยมฝรั่ง ในขณะเดียวกันจีนควรให้ควำมร่วมมือกับ โซเวียตในกำรต่อต้ำนชนชั้นขูดรีด ไม่เลือกว่ำผู้นั้นจะมีกำเนิดมำจำกแหล่งใด
  • 12. ลัทธิควำมเป็นเอกรำชของชำติ (ต่อ) ในปัญญำชนกลุ่มน้อยนั้น ควำมคิดของซุนไม่แตกต่ำงไปจำกควำมคิดของเหล่ำจำรีดนิยมที่ได้รับ อิทธิพลของลัทธิขงจื้อเท่ำไรนัก ในขณะที่เขำประกำศสนับสนุนหลักกำรปกครองตนเองให้แก่ชนกลุ่มน้อย เขำกล่ำวว่ำ กำสรกลืนเชื้อชำติ (national assimilation) นั้นไม่ขัดกับหลักควำมเป็นเอกรำชแห่งชำติ นั้นก็ เท่ำกับว่ำ ถ้ำหำกชำวจีนสำมำรถกลืนชนกลุ่มน้อยโดยวิธีกำรซึมซำบแล้ว ชนกลุ่มน้อยก็ไม่จำเป็นต้องแสวงหำ หลักกำรปกครองของตนเอง คำสอนนี้เตือนให้คิดถึงหลักกำรควำมเป็นพี่น้องและเพื่อนกันในระหว่ำงชนชำว จีน (ต้ำถุง Great Commonwealth) ซึ่งไม่มีกำรขีดเส้นแบ่งเชื้อชำติแต่ประกำรใด
  • 13. ลัทธิที่ ๒ : ลัทธิอำนำจอธิปไตยของประชำชน ลัทธิอำนำจอธิปไตยของประชำชน เช่นเดียวกับกำสรปฏิวัติในประเทศต่ำง ๆ ผู้ก่อกำรปฏิวัติมักจะ หวงแหนอำนำจสูงสุดในกำรปกครองประเทศไว้เป็นกำรชั่วครำว โดยเหตุผลโฆษณำชวนเชื่อในลักษณะ แตกต่ำงกันไป คอมมิวนิสต์ประกำศว่ำระบอบของตนเองระบอบที่ประชำชนมีควำมเท่ำเทียมกันมำกที่สุดแต่ ลัทธิในกำรใช้อำนำจสูงสุดในกำรปกครองประเทศแทนชนชั้นกำรมชีพนั้น ได้แก่พรรคคอมมิวนิสต์ ซุนยอมรับ ควำมไม่เท่ำเทียมกันโดยธรรมชำติขิงมนุษย์ โดยแบ่งควำมสำมำรถของมนุษย์ออกเป็น ๓ ขั้น (เผด็จกำรทหำร กำรปกครองโดยพรรคกำรเมือง และกำรปกครองโดยรัฐธรรมนูญ) กำหนดอำนำจหน้ำที่ของกลุ่มชนที่จะใช้ อำนำจสูงสุดในกำรปกครองประเทศแทนประชำชน กำรมอบอำนำจเช่นนั้นเป็นกำรชั่วครำว ดังนั้นจึงไม่ขัดต่อ หลักกำรอำนำจอธิปไตยของประชำชน
  • 14. ลัทธิอำนำจอธิปไตยของประชำชน (ต่อ) รัฐบำลในอุดมกำรณ์ของซุน จะต้องเป็นรัฐที่แบ่งแยกองค์กำรที่ใช้อำนำจอธิปไตยออกเป็น ๕ สำขำ คือนอกจำกมีอำนำจนิติบัญญัติ อำนำจบริหำร และอำนำจตุลำกำร ตำมคะสอนของมองเตสกิเออ (Monteaguieu) แล้ว เขำยังมีกำหนดอำนำจควบคุมและอำนำจกำรสอบไล่เข้ำไปอีกด้วย รัฐบำลที่แยกผู้ใช้ อำนำจอธิปไตยออกเป็น ๕ สำขำนั้น จะต้องมีหน้ำที่มำกที่สุดและได้รับกำรไว้วำงใจจำกประชำชนมำกที่สุด ทั้งนี้เพรำะรัฐบำลมีควำมสำมำรถ(เหนิง) เปรียบเสมือนสำรถีขับรถ ย่อมเป็นผู้เชี่ยวชำญสมควรแก่ผู้โดยสำร จะได้ให้ควำมไว้วำงใจ ในขณะเดียวกันประชำชนจะต้องมีอำนำจนี้มำกที่สุด กำรเป็นเจ้ำของอำนำจอธิปไตย ของประชำชนอำจแสดงออกได้ ๔ ทำง อำนำจกำรออกเสียงเลือกตั้ง (Election) อำนำจถอดถอน (Recall) และอำนำจกำรลงประชำมติ(Referendum) ในขณะที่รัฐบำลมีควำมสำมำรถ (เหนิง) ประชำชนมีอำนำจ (ฉวน) ทฤษฎีของซุนคือกำร”ทำรัฐบำลให้เป็นเครื่องจักรกลและประชำชนเป็นวิศวกร” นั่นก็คือ “ประชำชน ๔๐๐ ล้ำนคนล้วนแต่เป็นกษัตริย์”จะเห็นได้ว่ำควำมคิดเกี่ยวกับรัฐในอุดมกำรณ์ของซุนอำจสืบสำนที่มำจำก ๔ แห่ง รัฐบำลในระบอบสำธำรณรัฐตำมควำมคิดกำรเมืองตะวันตก ลัทธิ ๔ ประกำร และหลักปฏิบัติดังเดิม เกี่ยวกับลัทธิกำรสอบแข่งขัน และอำนำจกำรตรวจตรำควบคุมของจีน
  • 15. ลัทธิที่ ๓ : ลัทธิควำมยุติธรรมในกำรครองชีพ (หมินเซิง) เป็นหลักกำรที่เข้ำใจยำกที่สุดของลัทธิไตรรำษฎร์ นักกำรเมืองตะวันตกพำกันวิพำกษ์วิจำรณ์ว่ำ ไม่ เข้ำใจบ้ำง คลุมเครือบ้ำง ทั้งนี้เพรำะพวกนี้มักจะตั้งคำถำมแก่ตนเองก่อนว่ำ ซุนเป็นคอมมิวนิสต์หรือสังคม นิยมหรือจัดอยู่ในค่ำยประชำธิปไตย แล้วแกะควำมคิดของเขำไปเข้ำสูตรลัทธิใดลัทธิหนึ่ง ผลก็คือควำม สับสน เพรุนสร้ำงสูตรผสมขึ้นเป็นของตนเอง โดยอำศัยควำมรู้ภำยในและภำยนอกประเทศ ฉะนั้นควำมรู้ บำงตอนของเขำอำจเข้ำข้ำงประชำธิปไตยตำมฝ่ำยเจียงไคเช็คและพรรคพวกของเขำแอบอ้ำง และคำสอนบำง ตอนก็เข้ำข้ำงหลักคอมมิวนิสต์ตำมฝ่ำยเมำเซตุงและพรรคพวกอ้ำงเช่นเดียวกัน
  • 16. ลัทธิควำมยุติธรรมในกำรครองชีพ (ต่อ) คำสอนในเล่มนี้มิได้แตกต่ำงไปจำกเดิมมำกนัก ข้อเสนออันชัดแจ้งของเขำก็คือกำรจัดสรรที่ดิน ซึ่ง มีปรำกฏอยู่ในคำขวัญของสมำคมถุงเหมิงหุ้ยแล้วตั้งแต่ปี ๑๙๐๕ แต่ที่เขำขยำยให้กระจ่ำงขึ้นก็คือกำร จัดระบบกำรลงทุน ซึ่งเป็นกำรเพ่งเล็งถึงระบอบอุตสำหกรรม ในกำรที่จะบรรลุผลตำมควำมมุ่งหมำยในเรื่อง กำรจัดสรรที่ดินนั้น เขำเสนอว่ำ คุณค่ำของที่ดินอันเพิ่มขึ้นเองนั้นให้ตกเป็นประโยชน์ของรัฐ และกำรที่จะ บรรลุตำมควำมมุ่งหมำยในกำรจัดระบบเรื่องกำรลงทุนนั้น เขำเสนอให้รัฐเข้ำดำเนินกำรอุตสำหกรรมและอุค สำ หกิจที่สำคัญ ๆ เสียเอง เมื่อมีคนถำมถึงปัญหำหลักควำมยุติธรรมในกำรครองชีพของเขำ เขำยิ่งสร้ำง ควำมสับสนให้แก่ผู้ฟังโดยตอบว่ำ “ มันเป็นลัทธิคอมมิวนิสต์และมันเป็นลัทธิสังคมนิยม”
  • 17. ลัทธิควำมยุติธรรมในกำรครองชีพ (ต่อ) ซุนไม่ห่วงใยคำสอนของเขำจะเอำมำจำกหรือตรงกับลัทธิคอมมิวนิสต์ หรือลัทธิฟำสซิสม์ หรือลัทธิ อื่นใดในโลกนี้ ปัญหำที่เขำว่ำเป็นคอมมิวนิสต์หรือไม่นั้น ได้พิจำรณำมำแล้วในบทที่แล้ว กำรเพิ่มคำโฆษณำ ต่อต้ำนลัทธิจักรวรรดินิยมของเขำ นับว่ำเป็นกำลังอันมหำศำลองเขำที่สำมำรถกำจัดศัตรู และในที่สุดจัดตั้ง รัฐบำลนำโดยพรรคกำรเมืองตำมสูตรข้อ ๒ ของขบวนกำรปฏิวัติที่
  • 18. ผลของกำรปฏิวัติครั้งแรก ภำยหลังกำรปฎิวัติซินไฮ่ เนื่องจำกควำมอ่อนแอของชนชั้นนำยทุนจีนมิได้ปรำบศัตรูของกำรปฏิวัติ ให้รำบคำบ ไม่กล้ำเสนอคำขวัญคัดค้ำนจักรวรรดินิยมอย่ำงแจ่มชัด ไม่ได้แก้ปัญหำที่ดินของชำวนำจึงมิได้และ ไม่อำจที่จะไประดมและอำศัยพลังมวลชนอำไพศำลทำกำรปฏิวัติโดยต่อเนื่อง ดังนั้นรัฐบำลชั่วครำวนำนกิง อันมีซุนยัดเซ็นเป็นหัวหน้ำ ซึ่งได้รับควำมกดดันอย่ำงหนักจำกอิทธิพลจักรวรรดินิยมและศักดินำนิยม ก็จำต้อง ยอมประนีประนอมกับสุนัขรับใช้ของจักรวรรดินิยมหยวนซื่อไข่
  • 19. ผลของกำรปฏิวัติครั้งแรกที่มีต่อกำรเปลี่ยนแปลงของโลก (ต่อ) เนื่องจำกพวกปฏิกิริยำทั้งในและนอกประเทศสมคบกันรุมโจมตี ซุนยัดเซ็น โดยให้เขำยอมรับเงื่อนไข กำรเจรจำสันติภำพ ยอมมอบอำนำจให้หยวนซื่อไข่ ดังนั้น พอหยวนซื่อไข่เสแสร้งรับว่ำระบอบสำธำรณรัฐ ประชำธิปไตรเป็นระบอบปกครองที่ดีที่สุด และหลังจำกบีบให้จักรพรรดิรำชวงศ์ชิงสละรำชสมบัติ พร้อมกับ รับรองกับรัฐบำลนำนกิงว่ำจะไม่รื้อฟื้นระบอบกษัตริย์ในประเทศจีนอย่ำงเด็ดขำด ซุนยัดเซ็นจึงถูกบีดให้ จำต้องยินยอมประนีประนอมโดยยื่นใบลำออกต่อรัฐบำลชั่วครำว ถึงแม้ว่ำก่อนลำออกจำกตำแหน่งซุนยัดเซ็น ได้พยำยำมเสนอเงื่อนไข 3 ประกำร คือ ให้ตั้งเมืองหลวงในนครนนำนกิง ประธำนำธิบดีต้องรับตำแหน่งที่นำน กิงและต้องเคำรพและปฏิบัติ บทบัญญัติเฉพำะกำล
  • 20. ผลของกำรปฏิวัติครั้งแรก (ต่อ) กำรตีโต้กลับอย่ำงบ้ำคลั่งของจักรวรรดินิยม และชนชั้นเจ้ำที่ศักดินำ ทำให้ซุนยัดเซ็นต้องจำยอมคืน อำนำจกำรปกครองให้ไปกำรปฏิวัติประชำธิปไตยของชั้นนำยทุน จีนต้องรับควำมปรำชัยอย่ำงหนัก ทำให้กำร ปฏิวัติได้รับควำมเสียหำยอย่ำงใหญ่หลวง ผลของกำรปฏิวัติซินไฮ่ต้องถูกหยวนซื่อไข่ซึ่งเป็นตัวแทนของชนชั้น นำยหน้ำและเจ้ำที่ดินใหญ่ชุบมือเปิบด้วยประกำรฉะนี้สำธำรณรัฐประชำชนจีน จึงเป็นเพียงเป้ำหมำยที่ว่ำง เปล่ำเป็นเหล่ำเก่ำในขวดใหม่ หำมีอะไรเปลี่ยนแปลงไม่ ฐำนะสังคมกึ่งเมืองขึ้นกึ่งศักดินำไม่มีอะไร เปลี่ยนแปลงจักรวรรดินิยมและศักดินำนิยมยังคงเป็นขุนเขำใหญ่ ๒ ลูกที่ทับอยู่บนหัวของประชำชนจีนอย่ำง หนักอึ้งต่อไป ซึ่งต่อมำภำยหลังที่หยวนซื่อไข่ ผู้นำทำงทหำรได้รับตำแหน่งประธำนำธิบดี แต่เนื่องด้วยเป็นผู้ไม่มี อุดมกำรณ์ประชำธิปไตยคิดจะสถำปนำตนเองเป็นจักรพรรดิ จึงเกิดควำมแตกแกภำยในประเทศ และประสบ ปัญหำควำมยุ่งยำกทำงเศรษฐกิจตำมมำ
  • 21. ผลกระทบของกำรปฏิวัติจีนครั้งแรก ๑. ลัทธิชำตินิยม เกิดควำมตื่นตัวในกระแสควำมคิดชำตินิยมในหมู่ผู้นำปัญญำ ชนในภูมิภำคต่ำงๆ ของเอเชีย เพื่อขับไล่อิทธิพลกำรครอบงำของชำติมหำอำนำจ ๒. ลัทธิประชำธิปไตย เกิดควำมนิยมระบอบประชำธิปไตย ซึ่งมีรัฐธรรมนูญ เป็นกฎหมำยสูงสุดในกำรปกครองประเทศ โดยต้องกำรยกเลิกระบบกำรปกครองแบบเก่ำ
  • 23. กำรปฏิวัติของจีนครั้งที่ ๒ ปี ค.ศ. ๑๙๔๙ โดยกำรนำของ “หมำ เจ๋อตุง” ผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์จีนเป็นกำรปฏิวัติเปลี่ยนแปลง กำรปกครองจำกระบอบสำธำรณรัฐประชำธิปไตย ข้ำสู่ระบอบสังคมนิยมหรือคอมมิวนิสต์
  • 24. สำเหตุกำรปฏิวัติของจีนครั้งที่ ๒ ๑. ปัญหำควำมเสื่อมโทรมทำงเศรษฐกิจและควำมยำกจนของประชำชน ซึ่งรัฐบำลของประธำนำธิบดี เจียง ไคเช็ค ไม่สำมำรถแก้ปัญหำได้ ๒. กำรเผยแพร่อุดมกำรณ์คอมมิวนิสต์ในประเทศจีน เพื่อมุ่งแก้ไขปัญหำควำมยำกจนของรำษฎร โดยให้ ควำมสำคัญแก่ชนชั้นผู้ใช้แรงงำนและเกษตรกร และเป็นศัตรูกับชนชั้นนำยทุน
  • 25. ควำมสำเร็จของกำรปฏิวัติของจีนครั้งที่ ๒ ๑. ระบอบคอมมิวนิสต์ในยุคของ “เหมำ เจ๋อตุง” รัฐบำลได้ยึดที่ดินทำกินของ เอกชนมำเป็นของรัฐบำล และใช้ระบบกำรผลิตแบบนำรวม (หรือระบบคอมมูน) ชำวนำมีฐำนะเป็น แรงงำนของรัฐ ทำให้ชำดควำมกระตือรือร้นเพรำะทุกคนได้รับผลตอบแทนท่ำกัน ชีวิตควำมเป็นอยู่ของ ผู้คนส่วนใหญ่มีสภำพลำบำกยำกจนเหมือนๆ กัน ๒. ระบอบคอมมิวนิสต์ในยุคของ “เติ้ง เสี่ยวผิง” เป็นยุคที่จีนปฏิรูปเศรษฐกิจของประเทศให้เป็นระบบตลำด หรือทุนนิยม โดยมรับแนวทำงทุนนิยมของชำติตะวันตกมำกขึ้น เช่น เปิดรับกำรลงทุนจำกต่ำงชำติเพื่อให้ คนจีนมีงำนทำ และอนุญำตให้ภำคเอกชนดำเนินธุรกิจกำรค้ำได้ เป็นต้น ทั้งนี้มีระบอบกำรปกครอง ยังคงเป็นคอมมิวนิสต์เหมือนเดิม
  • 26. ควำมสำเร็จของกำรปฏิวัติของจีนครั้งที่ ๒ (ต่อ) ๓. นโยบำย “หนึ่งประเทศ สองระบบ” ในสมัยของ “เติ้ง เสี่ยวผิง” หมำยถึง มี ประเทศจีนเพียงประเทศเดียว แต่มีระบบเศรษฐกิจและกำรปกครอง 2 แบบ ได้แก่ - ระบอบคอมมิวนิสต์ สำหรับจีน - ระบอบประชำธิปไตยและทุนนิยมเสรี สำหรับฮ่องกงและมำเก๊ำ
  • 27. ผลกระทบของกำรปฏิวัติจีนครั้งที่ ๒ ๑. กำรปฏิวัติของ “เหมำ เจ๋อตง” เป็นแบบอย่ำงในกำรปฏิวัติของกระบวนกำรคอมมิวนิสต์ในประเทศกำลัง พัฒนำ ทั้งในทวีปเอเชีย แอฟริกำ และอมริกำใต้ โดยเฉพำะกำรใช้ยุทธศำสตร์ “ป่ำล้อมเมือง” โดยเริ่ม จำกกำรปฏิวัติของเกษตรในชนบทและค่อยๆ ขยำยเข้ำไปสู่เมือง ๒. กำรปฏิรูปเศรษฐกิจตำมแนวของ “เติ้ง เสี่ยวผิง” โดยมรับระบบทุนนิยมของโลกตะวันตก เป็นคัวอย่ำง ควำมสำเร็จของกำรแยกระบบกำรปกครองออกจำกระบบเศรษฐกิจ
  • 28. บรรณานุกรม ทวีป วรดิลก . ๒๕๒๔. ประวัติศาสตร์จีนสงครามฝิ่นถึงสงครามปฏิวัติซินไฮ่.กรุงเทพฯ:ธีระการพิมพ์ วัชระ ชีวะโกเศรษฐ.๒๕๕๓. ชีวประวัติดร.:ซุนยัดเซ็นนักปฏิวัติจีนผู้ยิ่งใหญ่.พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพฯ: หนานจิง,มหาวิทยาลัยครู.๒๕๕๐.ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ประเทศจีน.กรุงเทพฯ:สุขภาพใจ การปฏิวัติจีน1911. (๒๕๕๔).สืบค้นเมื่อวันที่ ๗ กันยายน ๒๕๖๐. จาก https://sites.google.com/site/social0023 การปฏิวัติจีน. (๒๕๕๖). สืบค้นเมื่อวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๖๐. จาก http://pirun.ku.ac.th/~b5410802781/Untitled-2.html. การปฏิวัติของประเทศจีน. (๒๕๕๕). สืบค้นเมื่อวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๖๐. จาก https://gluoay555.wordpress.com/2012/01/04/การปฏิวัติของประเทศจีน Taweesak Kunyochai. (๒๕๕๖). การปฏิวัติของจีน .สืบค้นเมื่อวันที่ ๗ กันยายน ๒๕๖๐. จาก http://www.satit.up.ac.th/BBC07/AroundTheWorld/hist/1.html.