SlideShare a Scribd company logo
 
สาธารณรัฐโปแลนด์  ( Republic of Poland)   เป็นประเทศในตอนกลางของยุโรป เขตแดนด้านตะวันตกจรดเยอรมณี ทางใต้จรดสาธารณรัฐเช็กและสโลวาเกียทางตะวันออกจรดยูเครนและเบลารส ส่วนทางเหนือจรดทะเลบอลติก ลิทัวเนีย และแคว้นคาลีนินกราดของรัสเซีย ซึ่งโปแลนด์เคยเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย รัฐโปแลนด์ก่อตั้งเมื่อมากกว่า  1 , 000  ปีก่อนภายใต้ราชวงค์เปียสต์  ( Piast dynasty)  และถึงยุคทองตอนปลายของคริสต์ศตวรรษที่  16 ภายใต้ราชวงค์ยาเกียลลอน ( Jagiellonian dynasty)   เป็นยุคที่โปแลนด์เป็นหนึ่งในประเทศที่ร่ำรวยและมีอำนาจมากที่สุดในยุโรป ในวันที่  3  พฤษภาคม พ . ศ .2334  สภาล่าง  ( Sejm  เซย์ม )  ของ เครือรัฐโปแลนด์ - ลิทัวเนียได้เลือกรับรัฐธรรมนูญพฤษภาคมของโปแลนด์  ( May Constitution of Poland)   รัฐธรรมนูญร่างฉบับแรกของยุโรป และฉบับที่  2  ของโลก ตามหลังรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา
หลังจากนั้นไม่นาน ประเทศโปแลนด์ได้ถูกแบ่งเป็นส่วนหนึ่งของรัสเซียออสเตรีย และปรัสเซีย และได้รับเอกราชใหม่ในปี พ . ศ . 2461  หลังสงครามโลกครั้งที่  1  เป็นสาธารณรัฐโปแลนด์ที่  2 ( Second Polish Republic)  หลังจากสงครามโลกครั้งที่  2  โปแลนด์กลายเป็นรัฐบริวารที่เป็นคอมมิวนิสต์ของสหภาพโซเวียตภายใต้ชื่อสาธารณรัฐประชาชนโปแลนด์  ( People's Republic of Poland)  ในพ . ศ . 2532  การเลือกตั้งกึ่งเสรีครั้งแรกในโปแลนด์ หลังสงครามโลกครั้งที่  2 สิ้นสุดการดิ้นรนเพื่อเสรีภาพของขบวนการโซลิดาริตี ( Solidarity movement)  และเป็นการพ่ายแพ้ของผู้นำคอมมิวนิสต์ของโปแลนด์ มีการก่อตั้งสาธารณรัฐโปแลนด์ที่  3 ( Third Polish Republic)  ในปัจจุบัน ตามด้วยการร่างรัฐธรรมนูญใหม่ในปี พ . ศ . 2540  ในปี พ . ศ . 2542 โปแลนด์ได้เข้าร่วมองค์การนาโต  และในปี พ . ศ . 2547  ได้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพยุโรป
โปแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของประเทศรัสเซียหรือโซเวียต โปแลนด์ต้องสู้กับรัสเซียในการรบ การรบวอร์ซอว์ ทหารรัสเซียมีมากกว่าทหารโปแลนด์ถึง  5 เท่า แต่ทหารโปแลนด์ที่รักชาติก็สามารถขับไล่รัสเซียออกไปได้ ต่อมาโปแลนทะเลาะกันเองจนขัดแย้งทหารรัสเซีย เห็นท่าเลยโจมตีโปแลนด์แตก ในปี ค . ศ . 1939
นายกรัฐมนตีคนปัจจุบันคือนาย   Donald Tusk  ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนาย  Lech   Kaczynski  ประธานาธิบดีโปแลนด์ เมื่อวันที่  9  พ . ย . 2550  ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนใหม่ สืบแทนนาย  Jaroslaw Kaczynski
การแบ่งเขตการปกครอง โปแลนด์แบ่งจังหวัดการปกครองออกเป็น  16  จังหวัด  ( voivodships -  ภาษาโปแลนด์ :  województwa   voyevouchtva  อ่านว่า วอเยวูชตวา )   ได้แก่ จังหวัด เมืองหลวง 1. เกรตเตอร์โปแลนด์ ,  เวียลคอพอลสเกีย  ( Greater Poland; Wielkopolskie; Vielkhopolskhie) พอซนาน   (; Posnanh) 2. คูยาเวีย - พอเมอราเนีย ,  คูยาฟสโก - พอมอร์สเกีย  ( Cuiavian-Pomeranian; Kujawsko-Pomorskie; Khuyavsko-Pomorskhie) บิดกอชช์   ()  และ ทอรูน (; Torunh)
จังหวัด เมืองหลวง 3. เลสเซอร์โปแลนด์ ,  มาวอพอลสเกีย  ( Lesser Poland Voivodship; Małopolskie; Mawopolskhie) คราคูฟ   (Kraków; Khrakhouv) 4. วูช ,  วูดซเกีย  ( Łódź; Łódzkie) วูช   (Łódź; Wouch) 5. โลว์เออร์ไซลีเชีย ,  ดอลโนชลางสเกีย  ( Lower Silesian; Dolnośląskie; Dolnochhlangskhie) วรอตซวาฟ   (; Vrocwav)
6. ลูบลิน ,  ลูเบลสเกีย  ( Lublin Voivodship, Lubelskie; Lubelskhie) ลูบลิน (; ) 7. ลูบุช ,  ลูบุสเกีย  ( Lubusz; Lubuskie; Lubuskhie) กอร์ชูฟเวียลคอปอลสกี (; Kochhouv Vielkhopolskhi))  และ เซียลอนากูรา (Zielona Góra; Sielona Koura) 8. เมโซเวีย ,  มาซอเวียตซ์เกีย  ( Masovian; Mazowieckie; Masoviechkhie) วอร์ซอ   (; Warszawa; Varchhava) จังหวัด เมืองหลวง
จังหวัด เมืองหลวง 9. ออพอเล ,  ออพอลสเกีย  ( ; Opolskie; Opolskhie) ออพอเล (; ) 10. พอดลาเซีย ,  พอดลาสเกีย  ( Podlasie; Podlaskie; Potlaskhie) เบียวิสตอค   (; Beawystok) 11. พอเมอราเนีย ,  โพมอร์สเกีย  ( Pomeranian; Pomorskie; Pomorskhie) กดานสค์   (; Kdanhsk)
จังหวัด เมืองหลวง 12. ไซลีเชีย ,  ชลางสเกีย  ( Silesian; Śląskie; Chhlangskhie) คาโตวีตเซ   (; Khatovitse) 13. ซับคาร์เปเทียน ,  พอดคาร์พัตซ์เกีย  ( Subcarpathian; Podkarpackie; Potkharpachkhie) เชชูฟ   (Rzeszów; Chhechhouv) 14. สเวียทอคชิสเกีย ,  ชเวียงทอคชิสเกีย  ( Swietokrzyskie; Świętokrzyskie; Chhviengtokhchhyskhie) คีเอลต์เซ   (; Khielse)
จังหวัด เมืองหลวง 15. วอร์เมีย - เมซูเรีย ,  วาร์มินสโก - มาซูร์สเกีย  ( Warmian-Masurian; Warmińsko-Mazurskie; Varminhskho-Masurskhie) ออลช์ทึน   (; Olchtyn) 16. เวสต์พอเมอราเนีย ,  ซาคอดนีออพอมอร์สเกีย  ( West Pomeranian; Zachodniopomorskie; Sakhodniopomorskhie) ชเชตซีน   (; Chhachhesin)
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ภูมิศาสตร์ ที่ตั้ง ตั้งอยู่ใจกลางทวีปยุโรป มีพรมแดนติด  7  ประเทศ ได้แก่ ทิศเหนือจรดรัสเซีย  ( ตำบล  Kaliningrad)   ทิศตะวันออกเฉียงเหนือและทิศตะวันออกจรดลิธัวเนีย เบลารุสและยูเครน ทิศใต้จรดสาธารณรัฐเช็กและสโลวัก ทิศตะวันตกจรดเยอรมนี และทิศเหนือจรดทะเลบอลติก ภูมิประเทศ เป็นพื้นที่ราบเกือบทั้งประเทศ นอกจากบริเวณชายแดนทางใต้เป็นภูเขา  Tatra  ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทิวเขา  Carpathian  และภูเขา  Sudety   ซึ่งมียอดเขาสูงที่สุดคือยอด  Rysy  สูงจากระดับน้ำทะเล  8 , 200  ฟุต
ประชากร ประชากร  38.5  ล้านคน เป็นชาวโปลร้อยละ  98  อีกร้อยละ  2  มีเชื้อ สายเยอรมัน เบลารุส ยูเครน ลิทัวเนียและอื่นๆ ธงชาติประเทศโปแลนด์ ตราแผ่นดินของประเทศโปแลนด์
ประธานาธิบดี  บรอนนิสลอร์ โคโมโรว์สกี นายกรัฐมนตรี  โดนัล ทัสค์ เมืองหลวง กรุงวอร์ซอ  ( ประชากร  1,635,000  คน )
ที่ตั้ง ตั้งอยู่ใจกลางทวีปยุโรป มีพรมแดนติด  7  ประเทศ ได้แก่ ทิศเหนือจรดรัสเซีย  ( ตำบล  Kaliningrad)  ทิศตะวันออกเฉียงเหนือและทิศตะวันออกจรดลิธัวเนีย เบลารุสและยูเครน ทิศใต้จรดสาธารณรัฐเช็กและสโลวัก ทิศตะวันตกจรดเยอรมนี และทิศเหนือจรดทะเลบอลติก
ภูมิประเทศ เป็นพื้นที่ราบเกือบทั้งประเทศ นอกจากบริเวณชายแดนทางใต้เป็นภูเขา  Tatra  ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทิวเขา  Carpathian  และภูเขา  Sudety  ซึ่งมียอดเขาสูงที่สุดคือยอด  Rysy  สูงจากระดับน้ำทะเล  8,200  ฟุต
ภูมิอากาศ ฤดูหนาว เดือนมกราคม อุณหภูมิเฉลี่ย  - 1  ถึง  - 5  องศาเซลเซียส ฤดูร้อน เดือนกรกฎาคม อุณหภูมิเฉลี่ย  16.5-19  องศาเซลเซียส พื้นที่ 312,685  ตารางกิโลเมตร มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ  8  ของทวีปยุโรป  ( มีพื้นที่ประมาณ  3  ใน  5  ของไทย )
ประชากร 38.2  ล้านคน เป็นชาวโปลร้อยละ  98  อีกร้อยละ   2  มีเชื้อสายเยอรมัน เบลารุส ยูเครน ลิทัวเนียและอื่นๆ อัตราผู้รู้หนังสือ ร้อยละ  98 ศาสนา ร้อยละ  96  นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันแคทอลิก นอกนั้นเป็นโปลิซออร์ธอด๊อกซ์ โปรเตสแตนท์ ลัทธิยูดา และมีมุสลิมเพียงเล็กน้อย
ภาษาราชการ ภาษาโปลิช   ( เป็นภาษาในตระกูลสลาฟ ) เมืองสำคัญ วู๊ด  ( Lodz)  ประชากร  825,600  คน   ( เมืองอุตสาหกรรมทอผ้า )  คราคูฟ  ( Krakow)  ประชากร  746,000  คน  ( เมืองหลวงเก่า )  กดั๊งซ์  ( Gdansk)  ประชากร  463,000  คน  ( เมืองท่าสำคัญและอู่ต่อเรือ ) วันชาติ 3  พฤษภาคม  ( Constitution Day)
รูปแบบการปกครอง ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา ซึ่งเป็นระบบสองสภา  ( Bicameral Parliament)  คือ สภาสูง  ( Senate)  มี  100  ที่นั่ง มาจากการเลือกตั้งโดยตรงในระดับจังหวัด มีวาระ  4  ปี และสภาล่าง  ( Sejm)  จำนวน  460  ที่นั่ง มาจากการเลือกตั้งระบบผู้แทนแบบสัดส่วน  ( proportional representation)  ซึ่งรวม  2  ที่นั่งจากการเลือกสรรตัวแทนของชนกลุ่มน้อยด้วย มีวาระ  4  ปีเช่นกัน ทั้งนี้ ประธานสภา  Sejm  คนปัจจุบัน คือ นาย  Marek Jurek  จากพรรค  Law and Justice (PiS)  ประธาน  Senate  คือ นาย  Bogdan Borusewicz  ไม่สังกัดพรรคการเมือง
รัฐธรรมนูญ เป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ ฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่  10  เป็นผลจากการลงประชามติทั่วประเทศ  ( national referendum)  เมื่อ  25  พ . ค .  2540  และประกาศใช้เมื่อ  17  ต . ค .  ในปีเดียวกัน สารัตถะของรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน นอกจากการแบ่งอำนาจสูงสุดของประเทศเป็น  3  ส่วน ได้แก่ อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการแล้ว ยังได้วางแนวปฏิบัติตามระบอบประชาธิปไตยโดยให้มีการ “ ตรวจสอบและถ่วงดุลกัน ”  (checks and balances)  ระหว่างประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรีและรัฐสภา รวมทั้งการขยายขอบข่ายการทบทวนกฎหมายและกระบวนการออกกฎหมาย รวมไปถึงการค้ำประกันสิทธิและเสรีภาพในการพูด การชุมนุมและแสดงความคิดเห็นของประชาชน และสื่อมวลชน ซึ่งชาวโปลเพิ่งได้รับ
ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ ภาพรวมทางการค้า โปแลนด์เป็นคู่ค้าอันดับ  2  ของไทยในยุโรปตะวันออก รองจากฮังการี  ( ไม่รวมรัสเซีย และ  CIS)  ในช่วงเดือนมกราคม - สิงหาคม  2548  มีมูลค่าการค้า  166  ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ โดยไทยส่งออก  77.7  ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ และนำเข้า  88.3  ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับไทยเสียเปรียบดุลการค้าโปแลนด์  10.6  ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ  ( ที่มาของข้อมูล  :  ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร )
สินค้านำเข้าและส่งออก   สินค้าที่ไทยนำเข้าจากโปแลนด์ ได้แก่ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ รถยนต์โดยสารและรถบรรทุก เครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ ปุ๋ยและยากำจัดศัตรูพืชและสัตว์ และเคมีภัณฑ์ เป็นต้น   สินค้าที่ไทยส่งออกไปโปแลนด์ ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป ยางพารา ผลิตภัณฑ์ยา และเครื่องรับวิทยุโทรทัศน์และส่วนประกอบ เป็นต้น
ข้อจำกัดทางการค้าระหว่างไทยกับโปแลนด์   (1) L/C  และสินเชื่อ โปแลนด์เพิ่งเปลี่ยนระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรีได้  10  กว่าปี นักธุรกิจโปแลนด์ส่วนใหญ่เป็นธุรกิจใหม่ ไม่มีทุนสำรองหมุนเวียนในการประกอบกิจการมากนัก จึงมีความประสงค์ ที่จะดำเนินธุรกิจแบบสินเชื่อ อีกทั้ง การเปิด  L/C  จะต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงมากในโปแลนด์ ขณะที่นักธุรกิจไทยไม่สามารถรับเงื่อนไขแบบดังกล่าว ได้อีกทั้งหน่วยงานของไทยที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อการ ส่งออกมิได้ให้การสนับสนุน จึงทำให้นักธุรกิจโปแลนด์หันไปค้าขายกับประเทศอื่น ที่สามารถผ่อนปรน และให้สินเชื่อได้
( 2)  ปัจจัยทางด้านราคา ชาวโปลให้ความสำคัญต่อปัจจัยในด้านราคาในการตัดสินใจซื้อสินค้า ผู้นำเข้าจะเลือกซื้อสินค้าจากประเทศในเอเชียเพราะราคาต่ำกว่า แต่ไทยมักจะเสียเปรียบในด้านราคาต่อจีนและเวียดนามเนื่องจากราคาสินค้าบางอย่างแพงกว่า ผู้นำเข้าจึงหันไปนำเข้าจากประเทศดังกล่าว   (3)  ปัจจัยทางด้านมาตรฐานและสุขอนามัยสินค้า โปแลนด์มีข้อกำหนดในการควบคุมมาตรฐานและสุขอนามัยสินค้าอาหาร ที่นำเข้าอย่างเข้มงวดในแนวทางเดียวกับกฎระเบียบของ  EU  (4)  ระยะทางที่ห่างไกลระหว่างไทยและโปแลนด์ กอปรกับไม่มีเที่ยวบินตรงระหว่างกัน เป็นอุปสรรคต่อการท่องเที่ยว การค้าและการลงทุน โดยเฉพาะด้านการค้าส่งผลให้ต้นทุนในการขนส่งสูง
การค้าส่งผลให้ต้นทุนในการขนส่งสูง ลู่ทางในการส่งเสริมการส่งออกสินค้าไทยไปยังโปแลนด์   สินค้าไทยที่มีศักยภาพในโปแลนด์ ได้แก่ สินค้าประเภทอาหาร อาทิ ปลากระป๋อง ซอส / เครื่องปรุงรส ข้าว ผลไม้กระป๋อง กาแฟดิบ สินค้าประเภทอัญมณีและเครื่องประดับ สินค้าประเภทเครื่องแต่งกายและสิ่งทอ สินค้าประเภทอิเล็กทรอนิกส์ แนวทางในการส่งเสริม ได้แก่
(1)  สนับสนุนผู้ส่งออกอาหารรายใหญ่ของไทยรุกตลาดโปแลนด์ และเชื่อมโยงผู้นำเข้าใน โปแลนด์กับผู้ผลิตสินค้าอุปโภครายย่อยของไทย ด้วยการสนับสนุนให้ผู้ผลิตอาหารไทยเดินทางไปเจรจา การค้าในโปแลนด์ และให้ความช่วยเหลือด้านสินเชื่อแก่ผู้ส่งออกไทยในการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้าในเยอรมนีหรือโปแลนด์ จัดทำรายชื่อและที่อยู่ของผู้ผลิตรายย่อยของไทย เพื่อเผยแพร่ให้แก่ผู้นำเข้า เชิญชวน ผู้ผลิตสินค้ารายย่อยของโปแลนด์เข้าแสดงในงานแสดงสินค้าในไทย จัดสร้างศูนย์ข้อมูลสินค้า  Stock Lot  เพื่อให้นำเข้าโปแลนด์ได้ทราบเกี่ยวกับปริมาณและรูปแบบของสินค้า  Stock Lot  ที่ผู้ผลิตไทยมีอยู่ในสต็อก   (2)  ช่วยเหลือผู้ส่งออกไทยด้วยการขยายสินเชื่อเพื่อการส่งออกและประกันการส่งออกไปโปแลนด์ ซึ่งหากยังดำเนินการไม่ได้เต็มที่ก็อาจประกันความเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยน และ / หรืออัตราดอกเบี้ย อำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ส่งออกไทยในการจ้างตรวจสอบข้อมูลผู้นำเข้าในโปแลนด์ก่อนตกลงทางการค้า
(3)  ช่วยเหลือผู้นำเข้าขยายตลาดและนำสินค้าไทยเข้าไฮเปอร์ / ซุปเปอร์มาร์เก็ตในด้านค่าใช้จ่าย ในการนำสินค้าเข้าไฮเปอร์ / ซุปเปอร์มาร์เก็ต และการนำสินค้าอาหารให้ผู้บริโภคทดลองชิม แปลวิธีการปรุงอาหารไทยเป็นภาษาโปลิซ และเผยแพร่ให้แก่ร้านอาหารพิจารณาเพิ่มอาหารไทยในรายการอาหารของร้าน เผยแพร่ให้แก่ผู้ค้าเพื่อพิจารณาพิมพ์แจกไปกับสินค้าอาหารไทยที่ขาย และเผยแพร่ให้แก่ผู้บริโภคในโอกาสพิเศษต่าง ๆ จัดตลาดสินค้าไทยสัญจรไปตามเมืองใหญ่ต่าง ๆ ในโปแลนด์ โดยร่วมมือกับผู้นำเข้าและ โรงแรมในโปแลนด์ ทั้งนี้ ผู้ส่งออกไทยสามารถเสนอกิจกรรมสนับสนุนเหล่านี้ต่อผู้นำเข้า ระหว่างเจรจาเสนอขายสินค้าใหม่แก่ผู้นำเข้าในโปแลนด์ เพื่อจูงใจให้ผู้นำเข้าตัดสินใจนำเข้าสินค้าใหม่ ๆ จากไทย
กิจกรรมด้านสารนิเทศและการส่งเสริมประเทศไทยในโปแลนด์ ทัศนะของชาวโปแลนด์ต่อประเทศไทย   โปแลนด์เป็นประเทศในยุโรปกลางที่มีขนาดใหญ่เป็นลำดับ  8  ของภูมิภาคยุโรป มีประชากรประมาณ  39.5  ล้านคน โดยมีอัตราการรู้หนังสือในปัจจุบันถึงร้อยละ  98  หลังจากโปแลนด์ได้ปรับเปลี่ยนระบบจากสังคมนิยมมาเป็นระบบ เศรษฐกิจตลาดเสรีส่งผลให้ประชากรเริ่มมีชีวิตความเป็นอยู่พัฒนาในทาง ที่ดีขึ้นเป็นลำดับ กอปรกับการที่โปแลนด์เข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปตั้งแต่  1  พฤษภาคม   2547  เป็นต้นมาส่งผลให้คนโปแลนด์เริ่มให้ความสนใจกับสิ่งแวดล้อมภายนอก เปิดประเทศรับและเรียนรู้วัฒนธรรมใหม่ๆ เพิ่มมากขึ้นเป็น
ในปัจจุบันความสัมพันธ์ระหว่างไทยและโปแลนด์จัดว่าอยู่ในเกณฑ์ดีและมีความสัมพันธ์มายาวนาน คนโปแลนด์รู้จักประเทศไทยในฐานะเป็นประเทศในเอเชียที่ไม่เคยเป็นอาณานิคม มีแหล่งท่องเที่ยวสวยงาม มีวัฒนธรรม และคนไทยก็มีจิตใจดีงามและมีจิตสำนึกในเรื่องประชาธิปไตยเช่นเดียวกับโปแลนด์ ชาวโปแลนด์ที่ได้เดินทางมาประเทศไทยล้วนแสดงความประทับใจ ในพัฒนาการทางเศรษฐกิจ ความทันสมัยของประเทศ ชื่นชมและประทับใจกับวัฒนธรรม ประเพณีและอัธยาศัยไมตรีของคนไทย รวมทั้งความสำเร็จในการฟื้นตัวจากวิกฤติทางเศรษฐกิจได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ อาหารไทยเป็นที่รู้จักกันดีและเป็นที่ชื่นชอบของชาวโปแลนด์ แต่มีข้อจำกัดเนื่องจากมีร้านอาหารไทยเพียง  5  ร้านอยู่ในกรุงวอร์ซอซึ่งดำเนินกิจการโดยชาวไทย และชาวอินเดีย
ทัศนะของสื่อมวลชน   ในปัจจุบัน สื่อมวลชนโปแลนด์ให้ความสนใจ เผยแพร่ข่าวเกี่ยวกับประเทศไทยมากขึ้น โดยเน้นในเรื่องสถานที่ท่องเที่ยวและศิลปวัฒนธรรมประเพณีไทยเป็นส่วนใหญ่ ในส่วนที่เกี่ยวกับข่าวการเมืองไทย เป็นการเผยแพร่ข่าวรายงานสถานการณ์ทางการเมืองที่มาจากแหล่งข่าวต่างประเทศอื่น ๆ เช่น สถานการณ์ไข้หวัดนก สถานการณ์ภาคใต้ของไทย เป็นต้น มิใช่การวิเคราะห์หรือวิจารณ์เอง และไม่ค่อยปรากฏรายงานข่าวปัญหาทางสังคมของไทย เช่น ยาเสพติด โรคเอดส์ ฯลฯ
กิจการด้านการศึกษา วัฒนธรรม และการส่งเสริมการศึกษาของสถานเอกอัครราชทูตฯ   นอกเหนือจากการดำเนินภารกิจประจำในการให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องเกี่ยวกับประเทศไทยทั้งด้านการเมือง การทูต เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม โดยการจัดส่งเอกสารเผยแพร่ที่ได้รับจากกระทรวงฯ และหน่วยงานอื่นๆ แล้ว สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงวอร์ซอ ได้ดำเนินการทางการทูตในด้านวัฒนธรรมต่อโปแลนด์ ดังนี้
ด้านการศึกษา การสอนภาษาไทยและจัดตั้ง  Thai Corner  ที่มหาวิทยาลัย  Adam Mickiewicz •  สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงวอร์ซอ ได้ริเริ่มโครงการสอนภาษาไทย ที่สถาบันภาษาศาสตร์มหาวิทยาลัย  Adam Mickiewicz  ณ เมือง  Poznan  มาตั้งแต่ปี  2543  และมีโครงการต่อเนื่องมาเป็นเวลา  6  ปี ซึ่งถือได้ว่าเป็นการเรียนการสอนภาษาไทยเป็นแห่งแรกในโปแลนด์ โดยมีอาจารย์จากประเทศไทยเป็นผู้สอน ในปีการศึกษา  2548  สถาบันได้จัดตั้งภาควิชาภาษาไทย - เวียดนามขึ้น และโดยที่มีนักศึกษาสนใจเรียนวิชาภาษาไทยมากกว่า  30  คน ทางสถาบันจึงดำริที่จะเปิดภาควิชาภาษาไทยแยกออกจากภาษาเวียดนาม
•  สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงวอร์ซอ ได้มอบหนังสือภาษาไทยและ เอกสารทางวิชาการเกี่ยวกับประเทศไทยเพื่อสนับสนุนการจัดตั้ง  Thai Corner  ที่สถาบันดังกล่าว เพื่อเป็นแหล่งค้นคว้าอ้างอิงสำหรับ นักศึกษาในหลักสูตรภาษาไทยและผู้สนใจได้ใช้ประโยชน์จากมุมภาษาไทยดังกล่าว   •  สนับสนุนและร่วมงาน  Thai Day  ที่สถาบันฯ จัดขึ้นเพื่อให้นักศึกษาภาควิชาภาษาไทย ได้แสดงผลงานการใช้ภาษาไทย ศิลปะ วัฒนธรรม และการท่องเที่ยวไทย •  ได้สนับสนุนให้ผู้อำนวยการสถาบันดังกล่าวได้รับรางวัล  Friends of Thailand  ประจำปี   2545  ของ ททท .  ทำให้ได้มีโอกาสเดินทางไปประเทศไทย ได้พบกับนักวิชาการไทย และมีโครงการที่จะขยายความร่วมมือระหว่างสถาบันฯ กับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์   ( อยู่ระหว่างเจรจาสาขาความร่วมมือ )
การแลกเปลี่ยนนักศึกษาและนักวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัย  ABAC  และ มหาวิทยาลัย   Polonia  เมือง  Czesztochowa เนื่องจากมหาวิทยาลัย  ABAC  ของไทยและมหาวิทยาลัย   Polonia  เมือง  Czesztochowa  ได้มีกรอบความร่วมมือในการแลกเปลี่ยนนักศึกษา บุคลากร รวมทั้งข้อมูลการศึกษาระหว่างกัน ในปี  2545  มีนักศึกษาของมหาวิทยาลัย  Polania  เดินทางมาศึกษาที่มหาวิทยาลัย  ABAC  เป็นระยะเวลาสั้น ๆ ในปี  2546  สถานเอกอัครราชทูตฯ จึงได้บริจาคหนังสือเกี่ยวกับประเทศไทยให้มหาวิทยาลัยแห่งนี้เพื่อเป็นแหล่งค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับประเทศไทย   ( ภายใต้งบสันถวไมตรี )
ความร่วมมือทางการศึกษากับมหาวิทยาลัย  Jagiellonian  เมืองคราคูฟ มีโครงการร่วมมือทางการศึกษาระหว่างมหาวิทยาลัย  Jagiellonian  กับมหาวิทยาลัยมหิดลในสาขาเทคโนโลยีชีวภาพ โดยในปีการศึกษา  2548  มีนักศึกษาไทย  2  รุ่น  ( 3  และ  4  คนตามลำดับ )  ได้รับทุนจากมหาวิทยาลัย  Jagiellonian  มาศึกษาในสาขาดังกล่าว  1  ภาคการศึกษา นอกจากนี้ สถานเอกอัครราชทูตได้บริจาคหนังสือและอุปกรณ์การเรียนการสอนเกี่ยวกับ ประเทศไทย ( จากงบสันถวไมตรี ) ให้หอสมุดมหาวิทยาลัยดังกล่าว และในระหว่างพิธีมอบหนังสือโดยนายสุพจน์ ไข่มุกด์ เอกอัครราชทูต ณ กรุงวอร์ซอ เมื่อ   27  กันยายน  2547  ทางมหาวิทยาลัยได้จัดแสดงหนังสือพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เมื่อครั้งเสด็จฯ เยือนหอสมุดมหาวิทยาลัยแห่งนี้ เมื่อ  15  กุมภาพันธ์  2539  ด้วย
ด้านศิลปะและวัฒนธรรม การประกวดวาดภาพในหมู่เยาวชนโปแลนด์ ในปี  2544  สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงวอร์ซอ จัดการประกวดวาดภาพในหมู่เยาวชนโปแลนด์ภายใต้หัวข้อ  “  Impression on Thailand”  ซึ่งมีเยาวชนโปแลนด์ส่งภาพเข้าร่วมในกิจกรรมหลายพันภาพ ผู้ชนะประกวดได้เดินทางไปเที่ยวประเทศไทย  ( ภายใต้งบสารนิเทศ และความอุปถัมภ์ของ ททท . แฟรงก์เฟริ์ต และสายการบิน  Marlev Hungarian Airlines)  ภาพที่ส่งเข้าประกวดได้รับการจัดพิมพ์เป็นบัตรอวยพร และใช้เผยแพร่ในโอกาสต่าง ๆ
สถานที่ท่องเที่ยวแนะนำ  ย่านเมืองเก่าของกรุงวอร์ซอว์ เมืองหลวงของโปแลนด์ ซึ่งองค์การยูเนสโกประกาศให้เป็นหนึ่งในมรดกโลก ซึ่งสถาปัตยกรรมต่างๆ ในย่านนี้ได้ถูกสร้างขึ้นในราวปลาย ศตวรรษที่  13  และถูกบูรณะจนเสร็จสมบูรณ์ภายหลังสงครามโลกครั้งที่  2  ได้สิ้นสุดลง
         จัตุรัสกลางเมือง และ อนุสาวรีย์ของกษัตริย์ซิกิมุนด์ อีกทั้งสิ่งก่อสร้างที่งดงามต่างๆ มากมายในช่วงศตวรรษที่  15  อันยังคงสวยงามอยู่ จนทุกวันนี้      จัตุรัสกลางเมือง และ อนุสาวรีย์ของกษัตริย์ซิกิมุนด์
พระราชวังลาเซียนกี้    พระราชวังลาเซียนกี้ ในกรุงวอร์ซอว์ เป็นที่   ประทับของพระมหากษัตริย์และเป็นพระราชวัง   ทางประวัติศาสตร์ ที่ล้อมรอบด้วยสวนสวยงาม    อันตั้งอยู่ใจกลางเมืองวอร์ซอว์ ปัจจุบันได้   กลายเป็นที่เดินเล่นพักผ่อนหย่อนใจสำหรับ   ประชาชนทั่วไป  และเป็นจุดดึงดูดนักท่องเที่ยว   ที่เป็นที่รู้จักของชาวต่างชาติเมื่อมาถึงโปแลนด์ พระราชวังแห่งนี้ได้เคยเป็นที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว   ( รัชกาลที่  5)  ของ ไทย เมื่อครั้งเสด็จประพาสวอร์ซอว์ ในปี ค . ศ .  1897
        อนุสาวรีย์ของเฟเดอริค โชแปง นัก   ดนตรีผู้มีชื่อเสียงระดับโลก และ   ปราสาทเบลเวแดร์ ที่ซึ่งในสมัยยังเป็นเด็ก    โชแปงได้ใช้แสดงคอนเสิร์ตตามคำเชิญ   ของแกรนด์ ดยุคคอน แสตนตี้   อนุสาวรีย์ของเฟเดอริค โชแปง
          ปราสาทนีบอโรว์ ปราสาทเก่าแก่รูปแบบบารอคสไตล์ของครอบครัวแรดซิวิลล์ และชมความงดงามของรูปปั้นของไนโอบี และสถาปัตยกรรมภายในอันงดงาม          ปราสาทนีบอโรว์
          จัสนาโกร่า โมนาสเตรี่   (JASNAGORA MONASTERY)    ศาสนสถานศูนย์กลางแห่งคริสต์ศาสนา โรมันคาทอลิกของ   ชาวโปลิช ซึ่งเริ่มก่อสร้างในปี  1382  ซึ่งเป็นที่ ประดิษฐาน   ของภาพ  BLACK MADONNA  หรือภาพวาดของพระแม่ผู้   บริสุทธิ์ และพระเยซูเมื่อตอนเยาว์วัย ซึ่งเป็นที่เคารพศรัทธา   ของประชาชน โดยเฉพาะในวันสำคัญๆ ทางศาสนาจะมี    ผู้คนมาสักการะพระรูปนี้เป็นจำนวนมาก  จัสนาโกร่า โมนาสเตรี่
เทือกเขาทาทร้า  ( Tatra)  ซึ่งตั้งอยู่ภาคใต้ของโปแลนด์ เป็นสถานที่สูงที่สุดและสวยงามที่สุดแห่งเทือกเขา   Carpathian  ยอดเขาที่สูงที่สุดที่ของโปลิชทาทร้าคือ  Rys  สูง  2,499  เมตร ส่วนที่น่าสนใจมากที่สุดและที่นักท่องเที่ยวเข้าชมบ่อยครั้งมากที่สุดคือ ไฮทาทร้า หนึ่งในห้าของพื้นที่ทาทร้าตั้งอยู่ในโปแลนด์   เทือกเขาทาทร้า
พิพิธภัณฑ์ค่ายกักกันออสวิทซ์          พิพิธภัณฑ์ค่ายกักกันออสวิทซ์   (AUSCHWITZ CONCENTRATION CAMP)  ซึ่งปัจจุบันดูแลโดยรัฐบาลของโปแลนด์  ซึ่งเริ่มจากเยอรมันเข้ายึดโปแลนด์ได้ในปลายปี  1939  ความต้องการจะหาค่ายกักกันเชลยศึกต่างๆ จนมาพบสถานที่ที่รัฐบาลโปแลนด์ต้องการก่อสร้างเป็นสถานที่คุม ขังนักโทษการเมืองจึงได้ดัดแปลงตามความต้องการของนาซี และเริ่มต้นใช้ในช่วงมิถุนายน   1940  เป็นต้นมา
เมืองคราโคฟ์           เมืองคราโคฟ์ เป็นหนึ่งในศูนย์กลางทางวัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ที่สำคัญที่สุดแห่งโปแลนด์และมหาวิทยาลัย  Jagielloinion  เป็นสำนักการศึกษาชั้นนำแห่งโปแลนด์ ปัจจุบันเมืองนี้มีพลเมือง  740,000  คน ความสวยงานและประวัติศาสตร์ของเมืองนี้เป็นที่รู้จักกันดีของชาวโปลิชและนักท่องเที่ยวต่างชาติ
เหมืองเกลือวีลิซกา  เหมืองเกลือวีลิซกา   (WIELICZKA SALTMINE)  เหมืองเกลือที่เก่าแก่และมีชื่อเสียงที่สุดของโปแลนด์ เป็นเหมืองใต้ดินที่มหัศจรรย์ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก และรัฐบาล โปแลนด์ ได้ประกาศให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเมื่อปี  1994
[object Object],[object Object]
 
 

More Related Content

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
คองโก
คองโกคองโก
Is1
Is1Is1
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุดงานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ส่งPptขึ้นเนต
ส่งPptขึ้นเนตส่งPptขึ้นเนต
ส่งPptขึ้นเนต
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
จอมพลถนอม กิตติขจร
จอมพลถนอม กิตติขจรจอมพลถนอม กิตติขจร
จอมพลถนอม กิตติขจร
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุดงานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
 
ส่งPptขึ้นเนต
ส่งPptขึ้นเนตส่งPptขึ้นเนต
ส่งPptขึ้นเนต
 
จอมพลถนอม กิตติขจร
จอมพลถนอม กิตติขจรจอมพลถนอม กิตติขจร
จอมพลถนอม กิตติขจร
 
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์
 
หมอ บรัดเลย์
หมอ บรัดเลย์หมอ บรัดเลย์
หมอ บรัดเลย์
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (6)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

ประเทศโปแลนด์

  • 1.  
  • 2. สาธารณรัฐโปแลนด์ ( Republic of Poland) เป็นประเทศในตอนกลางของยุโรป เขตแดนด้านตะวันตกจรดเยอรมณี ทางใต้จรดสาธารณรัฐเช็กและสโลวาเกียทางตะวันออกจรดยูเครนและเบลารส ส่วนทางเหนือจรดทะเลบอลติก ลิทัวเนีย และแคว้นคาลีนินกราดของรัสเซีย ซึ่งโปแลนด์เคยเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย รัฐโปแลนด์ก่อตั้งเมื่อมากกว่า 1 , 000 ปีก่อนภายใต้ราชวงค์เปียสต์ ( Piast dynasty) และถึงยุคทองตอนปลายของคริสต์ศตวรรษที่ 16 ภายใต้ราชวงค์ยาเกียลลอน ( Jagiellonian dynasty) เป็นยุคที่โปแลนด์เป็นหนึ่งในประเทศที่ร่ำรวยและมีอำนาจมากที่สุดในยุโรป ในวันที่ 3 พฤษภาคม พ . ศ .2334 สภาล่าง ( Sejm เซย์ม ) ของ เครือรัฐโปแลนด์ - ลิทัวเนียได้เลือกรับรัฐธรรมนูญพฤษภาคมของโปแลนด์ ( May Constitution of Poland) รัฐธรรมนูญร่างฉบับแรกของยุโรป และฉบับที่ 2 ของโลก ตามหลังรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา
  • 3. หลังจากนั้นไม่นาน ประเทศโปแลนด์ได้ถูกแบ่งเป็นส่วนหนึ่งของรัสเซียออสเตรีย และปรัสเซีย และได้รับเอกราชใหม่ในปี พ . ศ . 2461 หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เป็นสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2 ( Second Polish Republic) หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 โปแลนด์กลายเป็นรัฐบริวารที่เป็นคอมมิวนิสต์ของสหภาพโซเวียตภายใต้ชื่อสาธารณรัฐประชาชนโปแลนด์ ( People's Republic of Poland) ในพ . ศ . 2532 การเลือกตั้งกึ่งเสรีครั้งแรกในโปแลนด์ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดการดิ้นรนเพื่อเสรีภาพของขบวนการโซลิดาริตี ( Solidarity movement) และเป็นการพ่ายแพ้ของผู้นำคอมมิวนิสต์ของโปแลนด์ มีการก่อตั้งสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 3 ( Third Polish Republic) ในปัจจุบัน ตามด้วยการร่างรัฐธรรมนูญใหม่ในปี พ . ศ . 2540 ในปี พ . ศ . 2542 โปแลนด์ได้เข้าร่วมองค์การนาโต และในปี พ . ศ . 2547 ได้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพยุโรป
  • 4. โปแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของประเทศรัสเซียหรือโซเวียต โปแลนด์ต้องสู้กับรัสเซียในการรบ การรบวอร์ซอว์ ทหารรัสเซียมีมากกว่าทหารโปแลนด์ถึง 5 เท่า แต่ทหารโปแลนด์ที่รักชาติก็สามารถขับไล่รัสเซียออกไปได้ ต่อมาโปแลนทะเลาะกันเองจนขัดแย้งทหารรัสเซีย เห็นท่าเลยโจมตีโปแลนด์แตก ในปี ค . ศ . 1939
  • 5. นายกรัฐมนตีคนปัจจุบันคือนาย Donald Tusk ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนาย Lech Kaczynski ประธานาธิบดีโปแลนด์ เมื่อวันที่ 9 พ . ย . 2550 ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนใหม่ สืบแทนนาย Jaroslaw Kaczynski
  • 6. การแบ่งเขตการปกครอง โปแลนด์แบ่งจังหวัดการปกครองออกเป็น 16 จังหวัด ( voivodships - ภาษาโปแลนด์ : województwa voyevouchtva อ่านว่า วอเยวูชตวา ) ได้แก่ จังหวัด เมืองหลวง 1. เกรตเตอร์โปแลนด์ , เวียลคอพอลสเกีย ( Greater Poland; Wielkopolskie; Vielkhopolskhie) พอซนาน (; Posnanh) 2. คูยาเวีย - พอเมอราเนีย , คูยาฟสโก - พอมอร์สเกีย ( Cuiavian-Pomeranian; Kujawsko-Pomorskie; Khuyavsko-Pomorskhie) บิดกอชช์ () และ ทอรูน (; Torunh)
  • 7. จังหวัด เมืองหลวง 3. เลสเซอร์โปแลนด์ , มาวอพอลสเกีย ( Lesser Poland Voivodship; Małopolskie; Mawopolskhie) คราคูฟ (Kraków; Khrakhouv) 4. วูช , วูดซเกีย ( Łódź; Łódzkie) วูช (Łódź; Wouch) 5. โลว์เออร์ไซลีเชีย , ดอลโนชลางสเกีย ( Lower Silesian; Dolnośląskie; Dolnochhlangskhie) วรอตซวาฟ (; Vrocwav)
  • 8. 6. ลูบลิน , ลูเบลสเกีย ( Lublin Voivodship, Lubelskie; Lubelskhie) ลูบลิน (; ) 7. ลูบุช , ลูบุสเกีย ( Lubusz; Lubuskie; Lubuskhie) กอร์ชูฟเวียลคอปอลสกี (; Kochhouv Vielkhopolskhi)) และ เซียลอนากูรา (Zielona Góra; Sielona Koura) 8. เมโซเวีย , มาซอเวียตซ์เกีย ( Masovian; Mazowieckie; Masoviechkhie) วอร์ซอ (; Warszawa; Varchhava) จังหวัด เมืองหลวง
  • 9. จังหวัด เมืองหลวง 9. ออพอเล , ออพอลสเกีย ( ; Opolskie; Opolskhie) ออพอเล (; ) 10. พอดลาเซีย , พอดลาสเกีย ( Podlasie; Podlaskie; Potlaskhie) เบียวิสตอค (; Beawystok) 11. พอเมอราเนีย , โพมอร์สเกีย ( Pomeranian; Pomorskie; Pomorskhie) กดานสค์ (; Kdanhsk)
  • 10. จังหวัด เมืองหลวง 12. ไซลีเชีย , ชลางสเกีย ( Silesian; Śląskie; Chhlangskhie) คาโตวีตเซ (; Khatovitse) 13. ซับคาร์เปเทียน , พอดคาร์พัตซ์เกีย ( Subcarpathian; Podkarpackie; Potkharpachkhie) เชชูฟ (Rzeszów; Chhechhouv) 14. สเวียทอคชิสเกีย , ชเวียงทอคชิสเกีย ( Swietokrzyskie; Świętokrzyskie; Chhviengtokhchhyskhie) คีเอลต์เซ (; Khielse)
  • 11. จังหวัด เมืองหลวง 15. วอร์เมีย - เมซูเรีย , วาร์มินสโก - มาซูร์สเกีย ( Warmian-Masurian; Warmińsko-Mazurskie; Varminhskho-Masurskhie) ออลช์ทึน (; Olchtyn) 16. เวสต์พอเมอราเนีย , ซาคอดนีออพอมอร์สเกีย ( West Pomeranian; Zachodniopomorskie; Sakhodniopomorskhie) ชเชตซีน (; Chhachhesin)
  • 12.
  • 13. ภูมิศาสตร์ ที่ตั้ง ตั้งอยู่ใจกลางทวีปยุโรป มีพรมแดนติด 7 ประเทศ ได้แก่ ทิศเหนือจรดรัสเซีย ( ตำบล Kaliningrad) ทิศตะวันออกเฉียงเหนือและทิศตะวันออกจรดลิธัวเนีย เบลารุสและยูเครน ทิศใต้จรดสาธารณรัฐเช็กและสโลวัก ทิศตะวันตกจรดเยอรมนี และทิศเหนือจรดทะเลบอลติก ภูมิประเทศ เป็นพื้นที่ราบเกือบทั้งประเทศ นอกจากบริเวณชายแดนทางใต้เป็นภูเขา Tatra ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทิวเขา Carpathian และภูเขา Sudety ซึ่งมียอดเขาสูงที่สุดคือยอด Rysy สูงจากระดับน้ำทะเล 8 , 200 ฟุต
  • 14. ประชากร ประชากร 38.5 ล้านคน เป็นชาวโปลร้อยละ 98 อีกร้อยละ 2 มีเชื้อ สายเยอรมัน เบลารุส ยูเครน ลิทัวเนียและอื่นๆ ธงชาติประเทศโปแลนด์ ตราแผ่นดินของประเทศโปแลนด์
  • 15. ประธานาธิบดี บรอนนิสลอร์ โคโมโรว์สกี นายกรัฐมนตรี โดนัล ทัสค์ เมืองหลวง กรุงวอร์ซอ ( ประชากร 1,635,000 คน )
  • 16. ที่ตั้ง ตั้งอยู่ใจกลางทวีปยุโรป มีพรมแดนติด 7 ประเทศ ได้แก่ ทิศเหนือจรดรัสเซีย ( ตำบล Kaliningrad) ทิศตะวันออกเฉียงเหนือและทิศตะวันออกจรดลิธัวเนีย เบลารุสและยูเครน ทิศใต้จรดสาธารณรัฐเช็กและสโลวัก ทิศตะวันตกจรดเยอรมนี และทิศเหนือจรดทะเลบอลติก
  • 17. ภูมิประเทศ เป็นพื้นที่ราบเกือบทั้งประเทศ นอกจากบริเวณชายแดนทางใต้เป็นภูเขา Tatra ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทิวเขา Carpathian และภูเขา Sudety ซึ่งมียอดเขาสูงที่สุดคือยอด Rysy สูงจากระดับน้ำทะเล 8,200 ฟุต
  • 18. ภูมิอากาศ ฤดูหนาว เดือนมกราคม อุณหภูมิเฉลี่ย - 1 ถึง - 5 องศาเซลเซียส ฤดูร้อน เดือนกรกฎาคม อุณหภูมิเฉลี่ย 16.5-19 องศาเซลเซียส พื้นที่ 312,685 ตารางกิโลเมตร มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 8 ของทวีปยุโรป ( มีพื้นที่ประมาณ 3 ใน 5 ของไทย )
  • 19. ประชากร 38.2 ล้านคน เป็นชาวโปลร้อยละ 98 อีกร้อยละ 2 มีเชื้อสายเยอรมัน เบลารุส ยูเครน ลิทัวเนียและอื่นๆ อัตราผู้รู้หนังสือ ร้อยละ 98 ศาสนา ร้อยละ 96 นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันแคทอลิก นอกนั้นเป็นโปลิซออร์ธอด๊อกซ์ โปรเตสแตนท์ ลัทธิยูดา และมีมุสลิมเพียงเล็กน้อย
  • 20. ภาษาราชการ ภาษาโปลิช ( เป็นภาษาในตระกูลสลาฟ ) เมืองสำคัญ วู๊ด ( Lodz) ประชากร 825,600 คน ( เมืองอุตสาหกรรมทอผ้า ) คราคูฟ ( Krakow) ประชากร 746,000 คน ( เมืองหลวงเก่า ) กดั๊งซ์ ( Gdansk) ประชากร 463,000 คน ( เมืองท่าสำคัญและอู่ต่อเรือ ) วันชาติ 3 พฤษภาคม ( Constitution Day)
  • 21. รูปแบบการปกครอง ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา ซึ่งเป็นระบบสองสภา ( Bicameral Parliament) คือ สภาสูง ( Senate) มี 100 ที่นั่ง มาจากการเลือกตั้งโดยตรงในระดับจังหวัด มีวาระ 4 ปี และสภาล่าง ( Sejm) จำนวน 460 ที่นั่ง มาจากการเลือกตั้งระบบผู้แทนแบบสัดส่วน ( proportional representation) ซึ่งรวม 2 ที่นั่งจากการเลือกสรรตัวแทนของชนกลุ่มน้อยด้วย มีวาระ 4 ปีเช่นกัน ทั้งนี้ ประธานสภา Sejm คนปัจจุบัน คือ นาย Marek Jurek จากพรรค Law and Justice (PiS) ประธาน Senate คือ นาย Bogdan Borusewicz ไม่สังกัดพรรคการเมือง
  • 22. รัฐธรรมนูญ เป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ ฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 10 เป็นผลจากการลงประชามติทั่วประเทศ ( national referendum) เมื่อ 25 พ . ค . 2540 และประกาศใช้เมื่อ 17 ต . ค . ในปีเดียวกัน สารัตถะของรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน นอกจากการแบ่งอำนาจสูงสุดของประเทศเป็น 3 ส่วน ได้แก่ อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการแล้ว ยังได้วางแนวปฏิบัติตามระบอบประชาธิปไตยโดยให้มีการ “ ตรวจสอบและถ่วงดุลกัน ” (checks and balances) ระหว่างประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรีและรัฐสภา รวมทั้งการขยายขอบข่ายการทบทวนกฎหมายและกระบวนการออกกฎหมาย รวมไปถึงการค้ำประกันสิทธิและเสรีภาพในการพูด การชุมนุมและแสดงความคิดเห็นของประชาชน และสื่อมวลชน ซึ่งชาวโปลเพิ่งได้รับ
  • 23. ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ ภาพรวมทางการค้า โปแลนด์เป็นคู่ค้าอันดับ 2 ของไทยในยุโรปตะวันออก รองจากฮังการี ( ไม่รวมรัสเซีย และ CIS) ในช่วงเดือนมกราคม - สิงหาคม 2548 มีมูลค่าการค้า 166 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ โดยไทยส่งออก 77.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ และนำเข้า 88.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับไทยเสียเปรียบดุลการค้าโปแลนด์ 10.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ( ที่มาของข้อมูล : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร )
  • 24. สินค้านำเข้าและส่งออก สินค้าที่ไทยนำเข้าจากโปแลนด์ ได้แก่ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ รถยนต์โดยสารและรถบรรทุก เครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ ปุ๋ยและยากำจัดศัตรูพืชและสัตว์ และเคมีภัณฑ์ เป็นต้น สินค้าที่ไทยส่งออกไปโปแลนด์ ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป ยางพารา ผลิตภัณฑ์ยา และเครื่องรับวิทยุโทรทัศน์และส่วนประกอบ เป็นต้น
  • 25. ข้อจำกัดทางการค้าระหว่างไทยกับโปแลนด์ (1) L/C และสินเชื่อ โปแลนด์เพิ่งเปลี่ยนระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรีได้ 10 กว่าปี นักธุรกิจโปแลนด์ส่วนใหญ่เป็นธุรกิจใหม่ ไม่มีทุนสำรองหมุนเวียนในการประกอบกิจการมากนัก จึงมีความประสงค์ ที่จะดำเนินธุรกิจแบบสินเชื่อ อีกทั้ง การเปิด L/C จะต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงมากในโปแลนด์ ขณะที่นักธุรกิจไทยไม่สามารถรับเงื่อนไขแบบดังกล่าว ได้อีกทั้งหน่วยงานของไทยที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อการ ส่งออกมิได้ให้การสนับสนุน จึงทำให้นักธุรกิจโปแลนด์หันไปค้าขายกับประเทศอื่น ที่สามารถผ่อนปรน และให้สินเชื่อได้
  • 26. ( 2) ปัจจัยทางด้านราคา ชาวโปลให้ความสำคัญต่อปัจจัยในด้านราคาในการตัดสินใจซื้อสินค้า ผู้นำเข้าจะเลือกซื้อสินค้าจากประเทศในเอเชียเพราะราคาต่ำกว่า แต่ไทยมักจะเสียเปรียบในด้านราคาต่อจีนและเวียดนามเนื่องจากราคาสินค้าบางอย่างแพงกว่า ผู้นำเข้าจึงหันไปนำเข้าจากประเทศดังกล่าว (3) ปัจจัยทางด้านมาตรฐานและสุขอนามัยสินค้า โปแลนด์มีข้อกำหนดในการควบคุมมาตรฐานและสุขอนามัยสินค้าอาหาร ที่นำเข้าอย่างเข้มงวดในแนวทางเดียวกับกฎระเบียบของ EU (4) ระยะทางที่ห่างไกลระหว่างไทยและโปแลนด์ กอปรกับไม่มีเที่ยวบินตรงระหว่างกัน เป็นอุปสรรคต่อการท่องเที่ยว การค้าและการลงทุน โดยเฉพาะด้านการค้าส่งผลให้ต้นทุนในการขนส่งสูง
  • 27. การค้าส่งผลให้ต้นทุนในการขนส่งสูง ลู่ทางในการส่งเสริมการส่งออกสินค้าไทยไปยังโปแลนด์ สินค้าไทยที่มีศักยภาพในโปแลนด์ ได้แก่ สินค้าประเภทอาหาร อาทิ ปลากระป๋อง ซอส / เครื่องปรุงรส ข้าว ผลไม้กระป๋อง กาแฟดิบ สินค้าประเภทอัญมณีและเครื่องประดับ สินค้าประเภทเครื่องแต่งกายและสิ่งทอ สินค้าประเภทอิเล็กทรอนิกส์ แนวทางในการส่งเสริม ได้แก่
  • 28. (1) สนับสนุนผู้ส่งออกอาหารรายใหญ่ของไทยรุกตลาดโปแลนด์ และเชื่อมโยงผู้นำเข้าใน โปแลนด์กับผู้ผลิตสินค้าอุปโภครายย่อยของไทย ด้วยการสนับสนุนให้ผู้ผลิตอาหารไทยเดินทางไปเจรจา การค้าในโปแลนด์ และให้ความช่วยเหลือด้านสินเชื่อแก่ผู้ส่งออกไทยในการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้าในเยอรมนีหรือโปแลนด์ จัดทำรายชื่อและที่อยู่ของผู้ผลิตรายย่อยของไทย เพื่อเผยแพร่ให้แก่ผู้นำเข้า เชิญชวน ผู้ผลิตสินค้ารายย่อยของโปแลนด์เข้าแสดงในงานแสดงสินค้าในไทย จัดสร้างศูนย์ข้อมูลสินค้า Stock Lot เพื่อให้นำเข้าโปแลนด์ได้ทราบเกี่ยวกับปริมาณและรูปแบบของสินค้า Stock Lot ที่ผู้ผลิตไทยมีอยู่ในสต็อก (2) ช่วยเหลือผู้ส่งออกไทยด้วยการขยายสินเชื่อเพื่อการส่งออกและประกันการส่งออกไปโปแลนด์ ซึ่งหากยังดำเนินการไม่ได้เต็มที่ก็อาจประกันความเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยน และ / หรืออัตราดอกเบี้ย อำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ส่งออกไทยในการจ้างตรวจสอบข้อมูลผู้นำเข้าในโปแลนด์ก่อนตกลงทางการค้า
  • 29. (3) ช่วยเหลือผู้นำเข้าขยายตลาดและนำสินค้าไทยเข้าไฮเปอร์ / ซุปเปอร์มาร์เก็ตในด้านค่าใช้จ่าย ในการนำสินค้าเข้าไฮเปอร์ / ซุปเปอร์มาร์เก็ต และการนำสินค้าอาหารให้ผู้บริโภคทดลองชิม แปลวิธีการปรุงอาหารไทยเป็นภาษาโปลิซ และเผยแพร่ให้แก่ร้านอาหารพิจารณาเพิ่มอาหารไทยในรายการอาหารของร้าน เผยแพร่ให้แก่ผู้ค้าเพื่อพิจารณาพิมพ์แจกไปกับสินค้าอาหารไทยที่ขาย และเผยแพร่ให้แก่ผู้บริโภคในโอกาสพิเศษต่าง ๆ จัดตลาดสินค้าไทยสัญจรไปตามเมืองใหญ่ต่าง ๆ ในโปแลนด์ โดยร่วมมือกับผู้นำเข้าและ โรงแรมในโปแลนด์ ทั้งนี้ ผู้ส่งออกไทยสามารถเสนอกิจกรรมสนับสนุนเหล่านี้ต่อผู้นำเข้า ระหว่างเจรจาเสนอขายสินค้าใหม่แก่ผู้นำเข้าในโปแลนด์ เพื่อจูงใจให้ผู้นำเข้าตัดสินใจนำเข้าสินค้าใหม่ ๆ จากไทย
  • 30. กิจกรรมด้านสารนิเทศและการส่งเสริมประเทศไทยในโปแลนด์ ทัศนะของชาวโปแลนด์ต่อประเทศไทย โปแลนด์เป็นประเทศในยุโรปกลางที่มีขนาดใหญ่เป็นลำดับ 8 ของภูมิภาคยุโรป มีประชากรประมาณ 39.5 ล้านคน โดยมีอัตราการรู้หนังสือในปัจจุบันถึงร้อยละ 98 หลังจากโปแลนด์ได้ปรับเปลี่ยนระบบจากสังคมนิยมมาเป็นระบบ เศรษฐกิจตลาดเสรีส่งผลให้ประชากรเริ่มมีชีวิตความเป็นอยู่พัฒนาในทาง ที่ดีขึ้นเป็นลำดับ กอปรกับการที่โปแลนด์เข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2547 เป็นต้นมาส่งผลให้คนโปแลนด์เริ่มให้ความสนใจกับสิ่งแวดล้อมภายนอก เปิดประเทศรับและเรียนรู้วัฒนธรรมใหม่ๆ เพิ่มมากขึ้นเป็น
  • 31. ในปัจจุบันความสัมพันธ์ระหว่างไทยและโปแลนด์จัดว่าอยู่ในเกณฑ์ดีและมีความสัมพันธ์มายาวนาน คนโปแลนด์รู้จักประเทศไทยในฐานะเป็นประเทศในเอเชียที่ไม่เคยเป็นอาณานิคม มีแหล่งท่องเที่ยวสวยงาม มีวัฒนธรรม และคนไทยก็มีจิตใจดีงามและมีจิตสำนึกในเรื่องประชาธิปไตยเช่นเดียวกับโปแลนด์ ชาวโปแลนด์ที่ได้เดินทางมาประเทศไทยล้วนแสดงความประทับใจ ในพัฒนาการทางเศรษฐกิจ ความทันสมัยของประเทศ ชื่นชมและประทับใจกับวัฒนธรรม ประเพณีและอัธยาศัยไมตรีของคนไทย รวมทั้งความสำเร็จในการฟื้นตัวจากวิกฤติทางเศรษฐกิจได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ อาหารไทยเป็นที่รู้จักกันดีและเป็นที่ชื่นชอบของชาวโปแลนด์ แต่มีข้อจำกัดเนื่องจากมีร้านอาหารไทยเพียง 5 ร้านอยู่ในกรุงวอร์ซอซึ่งดำเนินกิจการโดยชาวไทย และชาวอินเดีย
  • 32. ทัศนะของสื่อมวลชน ในปัจจุบัน สื่อมวลชนโปแลนด์ให้ความสนใจ เผยแพร่ข่าวเกี่ยวกับประเทศไทยมากขึ้น โดยเน้นในเรื่องสถานที่ท่องเที่ยวและศิลปวัฒนธรรมประเพณีไทยเป็นส่วนใหญ่ ในส่วนที่เกี่ยวกับข่าวการเมืองไทย เป็นการเผยแพร่ข่าวรายงานสถานการณ์ทางการเมืองที่มาจากแหล่งข่าวต่างประเทศอื่น ๆ เช่น สถานการณ์ไข้หวัดนก สถานการณ์ภาคใต้ของไทย เป็นต้น มิใช่การวิเคราะห์หรือวิจารณ์เอง และไม่ค่อยปรากฏรายงานข่าวปัญหาทางสังคมของไทย เช่น ยาเสพติด โรคเอดส์ ฯลฯ
  • 33. กิจการด้านการศึกษา วัฒนธรรม และการส่งเสริมการศึกษาของสถานเอกอัครราชทูตฯ นอกเหนือจากการดำเนินภารกิจประจำในการให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องเกี่ยวกับประเทศไทยทั้งด้านการเมือง การทูต เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม โดยการจัดส่งเอกสารเผยแพร่ที่ได้รับจากกระทรวงฯ และหน่วยงานอื่นๆ แล้ว สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงวอร์ซอ ได้ดำเนินการทางการทูตในด้านวัฒนธรรมต่อโปแลนด์ ดังนี้
  • 34. ด้านการศึกษา การสอนภาษาไทยและจัดตั้ง Thai Corner ที่มหาวิทยาลัย Adam Mickiewicz • สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงวอร์ซอ ได้ริเริ่มโครงการสอนภาษาไทย ที่สถาบันภาษาศาสตร์มหาวิทยาลัย Adam Mickiewicz ณ เมือง Poznan มาตั้งแต่ปี 2543 และมีโครงการต่อเนื่องมาเป็นเวลา 6 ปี ซึ่งถือได้ว่าเป็นการเรียนการสอนภาษาไทยเป็นแห่งแรกในโปแลนด์ โดยมีอาจารย์จากประเทศไทยเป็นผู้สอน ในปีการศึกษา 2548 สถาบันได้จัดตั้งภาควิชาภาษาไทย - เวียดนามขึ้น และโดยที่มีนักศึกษาสนใจเรียนวิชาภาษาไทยมากกว่า 30 คน ทางสถาบันจึงดำริที่จะเปิดภาควิชาภาษาไทยแยกออกจากภาษาเวียดนาม
  • 35. • สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงวอร์ซอ ได้มอบหนังสือภาษาไทยและ เอกสารทางวิชาการเกี่ยวกับประเทศไทยเพื่อสนับสนุนการจัดตั้ง Thai Corner ที่สถาบันดังกล่าว เพื่อเป็นแหล่งค้นคว้าอ้างอิงสำหรับ นักศึกษาในหลักสูตรภาษาไทยและผู้สนใจได้ใช้ประโยชน์จากมุมภาษาไทยดังกล่าว • สนับสนุนและร่วมงาน Thai Day ที่สถาบันฯ จัดขึ้นเพื่อให้นักศึกษาภาควิชาภาษาไทย ได้แสดงผลงานการใช้ภาษาไทย ศิลปะ วัฒนธรรม และการท่องเที่ยวไทย • ได้สนับสนุนให้ผู้อำนวยการสถาบันดังกล่าวได้รับรางวัล Friends of Thailand ประจำปี 2545 ของ ททท . ทำให้ได้มีโอกาสเดินทางไปประเทศไทย ได้พบกับนักวิชาการไทย และมีโครงการที่จะขยายความร่วมมือระหว่างสถาบันฯ กับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ( อยู่ระหว่างเจรจาสาขาความร่วมมือ )
  • 36. การแลกเปลี่ยนนักศึกษาและนักวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัย ABAC และ มหาวิทยาลัย Polonia เมือง Czesztochowa เนื่องจากมหาวิทยาลัย ABAC ของไทยและมหาวิทยาลัย Polonia เมือง Czesztochowa ได้มีกรอบความร่วมมือในการแลกเปลี่ยนนักศึกษา บุคลากร รวมทั้งข้อมูลการศึกษาระหว่างกัน ในปี 2545 มีนักศึกษาของมหาวิทยาลัย Polania เดินทางมาศึกษาที่มหาวิทยาลัย ABAC เป็นระยะเวลาสั้น ๆ ในปี 2546 สถานเอกอัครราชทูตฯ จึงได้บริจาคหนังสือเกี่ยวกับประเทศไทยให้มหาวิทยาลัยแห่งนี้เพื่อเป็นแหล่งค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับประเทศไทย ( ภายใต้งบสันถวไมตรี )
  • 37. ความร่วมมือทางการศึกษากับมหาวิทยาลัย Jagiellonian เมืองคราคูฟ มีโครงการร่วมมือทางการศึกษาระหว่างมหาวิทยาลัย Jagiellonian กับมหาวิทยาลัยมหิดลในสาขาเทคโนโลยีชีวภาพ โดยในปีการศึกษา 2548 มีนักศึกษาไทย 2 รุ่น ( 3 และ 4 คนตามลำดับ ) ได้รับทุนจากมหาวิทยาลัย Jagiellonian มาศึกษาในสาขาดังกล่าว 1 ภาคการศึกษา นอกจากนี้ สถานเอกอัครราชทูตได้บริจาคหนังสือและอุปกรณ์การเรียนการสอนเกี่ยวกับ ประเทศไทย ( จากงบสันถวไมตรี ) ให้หอสมุดมหาวิทยาลัยดังกล่าว และในระหว่างพิธีมอบหนังสือโดยนายสุพจน์ ไข่มุกด์ เอกอัครราชทูต ณ กรุงวอร์ซอ เมื่อ 27 กันยายน 2547 ทางมหาวิทยาลัยได้จัดแสดงหนังสือพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เมื่อครั้งเสด็จฯ เยือนหอสมุดมหาวิทยาลัยแห่งนี้ เมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2539 ด้วย
  • 38. ด้านศิลปะและวัฒนธรรม การประกวดวาดภาพในหมู่เยาวชนโปแลนด์ ในปี 2544 สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงวอร์ซอ จัดการประกวดวาดภาพในหมู่เยาวชนโปแลนด์ภายใต้หัวข้อ “ Impression on Thailand” ซึ่งมีเยาวชนโปแลนด์ส่งภาพเข้าร่วมในกิจกรรมหลายพันภาพ ผู้ชนะประกวดได้เดินทางไปเที่ยวประเทศไทย ( ภายใต้งบสารนิเทศ และความอุปถัมภ์ของ ททท . แฟรงก์เฟริ์ต และสายการบิน Marlev Hungarian Airlines) ภาพที่ส่งเข้าประกวดได้รับการจัดพิมพ์เป็นบัตรอวยพร และใช้เผยแพร่ในโอกาสต่าง ๆ
  • 39. สถานที่ท่องเที่ยวแนะนำ ย่านเมืองเก่าของกรุงวอร์ซอว์ เมืองหลวงของโปแลนด์ ซึ่งองค์การยูเนสโกประกาศให้เป็นหนึ่งในมรดกโลก ซึ่งสถาปัตยกรรมต่างๆ ในย่านนี้ได้ถูกสร้างขึ้นในราวปลาย ศตวรรษที่ 13 และถูกบูรณะจนเสร็จสมบูรณ์ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้สิ้นสุดลง
  • 40.        จัตุรัสกลางเมือง และ อนุสาวรีย์ของกษัตริย์ซิกิมุนด์ อีกทั้งสิ่งก่อสร้างที่งดงามต่างๆ มากมายในช่วงศตวรรษที่ 15 อันยังคงสวยงามอยู่ จนทุกวันนี้   จัตุรัสกลางเมือง และ อนุสาวรีย์ของกษัตริย์ซิกิมุนด์
  • 41. พระราชวังลาเซียนกี้ พระราชวังลาเซียนกี้ ในกรุงวอร์ซอว์ เป็นที่ ประทับของพระมหากษัตริย์และเป็นพระราชวัง ทางประวัติศาสตร์ ที่ล้อมรอบด้วยสวนสวยงาม อันตั้งอยู่ใจกลางเมืองวอร์ซอว์ ปัจจุบันได้ กลายเป็นที่เดินเล่นพักผ่อนหย่อนใจสำหรับ ประชาชนทั่วไป และเป็นจุดดึงดูดนักท่องเที่ยว ที่เป็นที่รู้จักของชาวต่างชาติเมื่อมาถึงโปแลนด์ พระราชวังแห่งนี้ได้เคยเป็นที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ( รัชกาลที่ 5) ของ ไทย เมื่อครั้งเสด็จประพาสวอร์ซอว์ ในปี ค . ศ . 1897
  • 42.       อนุสาวรีย์ของเฟเดอริค โชแปง นัก ดนตรีผู้มีชื่อเสียงระดับโลก และ ปราสาทเบลเวแดร์ ที่ซึ่งในสมัยยังเป็นเด็ก โชแปงได้ใช้แสดงคอนเสิร์ตตามคำเชิญ ของแกรนด์ ดยุคคอน แสตนตี้ อนุสาวรีย์ของเฟเดอริค โชแปง
  • 43.         ปราสาทนีบอโรว์ ปราสาทเก่าแก่รูปแบบบารอคสไตล์ของครอบครัวแรดซิวิลล์ และชมความงดงามของรูปปั้นของไนโอบี และสถาปัตยกรรมภายในอันงดงาม        ปราสาทนีบอโรว์
  • 44.         จัสนาโกร่า โมนาสเตรี่ (JASNAGORA MONASTERY) ศาสนสถานศูนย์กลางแห่งคริสต์ศาสนา โรมันคาทอลิกของ ชาวโปลิช ซึ่งเริ่มก่อสร้างในปี 1382 ซึ่งเป็นที่ ประดิษฐาน ของภาพ BLACK MADONNA หรือภาพวาดของพระแม่ผู้ บริสุทธิ์ และพระเยซูเมื่อตอนเยาว์วัย ซึ่งเป็นที่เคารพศรัทธา ของประชาชน โดยเฉพาะในวันสำคัญๆ ทางศาสนาจะมี ผู้คนมาสักการะพระรูปนี้เป็นจำนวนมาก จัสนาโกร่า โมนาสเตรี่
  • 45. เทือกเขาทาทร้า ( Tatra) ซึ่งตั้งอยู่ภาคใต้ของโปแลนด์ เป็นสถานที่สูงที่สุดและสวยงามที่สุดแห่งเทือกเขา Carpathian ยอดเขาที่สูงที่สุดที่ของโปลิชทาทร้าคือ Rys สูง 2,499 เมตร ส่วนที่น่าสนใจมากที่สุดและที่นักท่องเที่ยวเข้าชมบ่อยครั้งมากที่สุดคือ ไฮทาทร้า หนึ่งในห้าของพื้นที่ทาทร้าตั้งอยู่ในโปแลนด์ เทือกเขาทาทร้า
  • 46. พิพิธภัณฑ์ค่ายกักกันออสวิทซ์         พิพิธภัณฑ์ค่ายกักกันออสวิทซ์ (AUSCHWITZ CONCENTRATION CAMP) ซึ่งปัจจุบันดูแลโดยรัฐบาลของโปแลนด์ ซึ่งเริ่มจากเยอรมันเข้ายึดโปแลนด์ได้ในปลายปี 1939 ความต้องการจะหาค่ายกักกันเชลยศึกต่างๆ จนมาพบสถานที่ที่รัฐบาลโปแลนด์ต้องการก่อสร้างเป็นสถานที่คุม ขังนักโทษการเมืองจึงได้ดัดแปลงตามความต้องการของนาซี และเริ่มต้นใช้ในช่วงมิถุนายน 1940 เป็นต้นมา
  • 47. เมืองคราโคฟ์        เมืองคราโคฟ์ เป็นหนึ่งในศูนย์กลางทางวัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ที่สำคัญที่สุดแห่งโปแลนด์และมหาวิทยาลัย Jagielloinion เป็นสำนักการศึกษาชั้นนำแห่งโปแลนด์ ปัจจุบันเมืองนี้มีพลเมือง 740,000 คน ความสวยงานและประวัติศาสตร์ของเมืองนี้เป็นที่รู้จักกันดีของชาวโปลิชและนักท่องเที่ยวต่างชาติ
  • 48. เหมืองเกลือวีลิซกา เหมืองเกลือวีลิซกา (WIELICZKA SALTMINE) เหมืองเกลือที่เก่าแก่และมีชื่อเสียงที่สุดของโปแลนด์ เป็นเหมืองใต้ดินที่มหัศจรรย์ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก และรัฐบาล โปแลนด์ ได้ประกาศให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเมื่อปี 1994
  • 49.
  • 50.  
  • 51.