SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
จัดทำโดย
1นำยสมิต จิตรบวรวงศ์ เลขที่1
2นำยคณำพงศ์ นิยม เลขที่2
3นำยธนกฤต วัฒถำพร เลขที่3
4นำยบำรมี ชมพู่ เลขที่5
5นำยพีรณัฐ อุณหะนันทน์ เลขที่10
6นำยก้องภพ สุขแสงเดือนฉำย เลขที่11
7นำงสำวจิรวัส แสงนิ่ม เลขที่13
8นำงสำวพรรนิภำ แซ่ตัน เลขที่17
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่5/2
ระบบสำรสนเทศเพื่อสนับสนุนกำรตัดสินใจ
ระบบกำรทำงำนในอดีตมีกำรใช้ระบบสำรสนเทศช่วยจัดกำรข้อมูลมีประสิทธิภำพไม่แน่นอน
ไม่มีควำมสะดวก และมีคำมยุ่งยำกในกำรใช้งำน
ปัจจุบันจึงได้มีกำรนำคอมพิวเตอร์เข้ำมำในกำรจัดกำรระบบสำรสนเทศในองค์กรมำกยิ่งขึ้น
โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งระบบสำรสนเทศเพื่อสนับสนุนกำรตัดสินใจ
ระบบสำรสนเทศ (Information Systems) คือ กระบวนกำรรวบรวม บันทึก
ประมวลผลข้อมูลให้เป็นสำรสนเทศ และแจกจ่ำยสำรสนเทศเพื่อใช้ในกำรวำงแผน คบคุมกำรทำงำน
และช่วยในกำรสนับสนุนกำรตัดสินใจ
ระบบสำรสนเทศสำมำรถนำมำประยุกต์ใช้เพื่อส่งเสริมกำรทำงำนในทุกด้ำน
แต่ละด้ำนสำมำรถแบ่งประเภทได้หลำยรูปแบบตำมควำมต้องกำรของผู้ใช้งำนในด้ำนนั้นๆ เช่น
ระบบสำรสนเทศที่ใช้ส่งเสริมกำรทำงำนในด้ำนอุตสำหกรรม สำมำรถแบ่งเป็น 2ประเภท ได้แก่
ระบบสำรสนเทศกำรจัดกำรวัตถุดิบและระบบสำรสนเทศกำรจัดกำรผลผลิต อย่ำงไนก็ตำม
กำรใช้งำนระบบสำรสนเทศทุกประเภทจะต้องมีองค์ประกอบของระบบสำรสนเทศ (Component of
Information System)
ซึ่งองค์ประกอบของระบบสำรสนเทศทุกส่วนจะมีผลต่อประสิทธิภำพของกำรใช้งำนระบบสำรสนเทศนั้นๆ
องค์ประกอบของระบบสำรสนเทศแบ่งเป็น 5ส่วน ดังนี้
1. ฮำร์ดแวร์ (Hardware) คือ อุปกรณ์อิเล็กโทรนิกส์ที่ใช้ประมวลผลหรือสร้ำงสำระสนเทศ เช่น
คอมพิวเตอร์ CPU
2. ซอฟต์แวร์ (Software) คือ
ชุดคำสั่งที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงำนตำมควำมต้องกำรของผู้ใช้ระบบสำรสนเทศ
3. ข้อมูลและสำรสนเทศ (Dataand Information) คือ
ข้อเท็จจริงต่ำงๆทั้งที่ผ่ำนกำรประมวลผลและยังไม่ผ่ำนกำรประมวลผล อยู่ในรูปของ ตัวเลข ตัวอักษร
รูปภำพ ฯลฯ
4. บุคลำกร (Peopleware) คือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบสำรสนเทศ แบ่งเป็น 4ระดับคือ นักวิเครำะห์ระบบ
โปรแกรมเมอร์ เจ้ำหน้ำที่ฝ่ำยปฏิบัติงำนเครื่อง และผู้ใช้
5. กระบวนกำรทำงำน (Procedure) คือ ขั้นตอนกำรทำงำนเพื่อให้ได้สำรสนเทศ ตำมที่ต้องกำร
5.1 กำรนำเข้ำ (Input)เป็นกำรนำข้อมูลและสำรสนเทศต่ำงๆที่ได้จำกกำรรวบรวมเข้ำสู่ระบบ
5.2 กำรประมวลผล(Process)เป็นกำรนำข้อมูลที่ได้ไปประมวลผลตำมเงื่อนไขที่กำหนดโดยกำรเรียงลำดับ
5.3 กำรแสดงผล (Output)
เป็นกำรนำผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรประมวลผลมำแสดงในรูปแบบที่ผู้ใช้ต้องกำรเพื่อส่งเสริม
5.4 กำรจัดเก็บ (Storage)
เป็นกำรจัดเก็บข้อมูลหรือสำรสนเทศทั้งหมดที่เกี่ยวกับระบบสำรสนเทศเพื่อให้ผู้ใช้ระบบสำรสนเทศสำมำร
ถนำมำใช้ได้ใหม่ในอนำคต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสำรสนเทศ เมื่อนำมำใช้จะช่วยบุคลำกรในองค์กรให้สำมำรถตัดสินใจเลือกปฏิบัติงำนได้อย่ำงถูกต้อง
ระบบสำรสนเทศเพื่อสนับสนุนกำรตัดสินใจนี้เรียกว่ำ DSS (Decision SupportSystem)
ซึ่งเป็นระบบย่อยระบบหนึ่งในระบบสำรสนเทศเพื่อกำรจัดกำร (MIS : Management Information System)
โดย DSS มีลักษณะ ประโยชน์ และส่วนประกอบ ดังนี้
1. ลักษณะของ DSS เป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ช่วยในกำรจัดกำร รวบรวม
และวิเครำะห์ข้อมูลที่มีควำมซับซ้อน ซึ่งมีกำรตอบสนองหรือโต้ตอบกับผู้ใช้งำน ปัญหำที่แก้ไขด้วย DSS
จะเป็นข้อมูลที่ไม่มีโครงสร้ำงที่แน่นอนหรือข้อมูลมีกำรเปลี่ยนแปลงตลอดเวลำซึ่งไม่สำมำรถแก้ปัญหำได้ด้
วยสำรสนเทศเพื่อประมวลผลรำยกำรธุรกรรม (TPS :Transaction Processing System) ทั่วไป
แผนผังแสดงกำรใช้งำน DSS ปรับปรุงเครื่องจักร
จำกแผนผังแสดงกำรใช้งำน DSS ปรับปรุงเครื่องจักรจะเห็นว่ำ
กำรตัดสินใจที่ถูกต้องนั้นจะต้องอำศัยข้อมูลที่มีประสิทธิภำพจำก DSS
รวมกับกำรวิเครำะห์และทัศนคติของเจ้ำของกิจกำรนั่นคือ ไม่มีข้อมูลที่ได้จำก DSS
จะมีประสิทธิภำพมำกเพียงใดก็ตำม
ผลของกำรตัดสินใจก็ยังขึ้นอยู่กับกำรวิเครำะห์และทัศนคติของเจ้ำของกิจกำรหรือผู้ใช้ระบบสำรสนเทศนั้น
ๆ
2. ประโยชน์ของ DSS เนื่องจำก DSS
ให้ควำมสำคัญกับกำรนำสำรสนเทศไปประกอบกำรตัดสินใจเพื่อปฏิบัติงำนในขั้นต่ำงๆของกระบวนกำรทำ
งำน ซึ่งไม่ใช่กำรรวบรวมและกำรแสดงข้อมูลที่ใช้งำนประจำวันทั่วๆไป ทำให้ DSS มีประโยชน์ดังนี้
2.1
ช่วยประมวลผลและนำเสนอข้อมูลแก่ผู้ใช้เพื่อสร้ำงควำมเข้ำใจเกี่ยวกับกระบวนกำรทำงำนและเป็นแนวทำง
ในกำรตัดสินใจ
2.2
ช่วยประเมินทำงเลือกในกำรตัดสินใจภำยใต้เงื่อนไขของปัญหำแต่ละสถำนกำรณ์ที่มีลักษณะเฉพำะของสถำ
นกำรณ์นั้นๆ
2.3 ช่วยสนับสนุนกำรตัดสินใจในปัญหำที่มีควำมสลับซับซ้อนและข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลำ
2.4 ช่วยสร้ำงควำมยืดหยุ่น ควำมสมบูรณ์ และควำมสะดวกในกำรตัดสินใจ
2.5
ช่วยเพิ่มพัฒนำกำรและควำมเข้ำใจในศักยภำพกำรทำงำนของเทคโนโลยีสำรสนเทศที่ครอบคลุมมำกกว่ำกำ
รปฏิบัติงำนทั่วๆไป
2.6 ช่วยนำเสนอข้อมูลในรูปแบบที่หลำกหลำย เช่น ตัวอักษร แผนภูมิ ภำพนิ่ง ภำพเคลื่อนไหว มัลติมีเดีย
2.7 ช่วยในกำรตัดสินใจที่ต้องกำรควำมรวดเร็วสูง
ส่งเสริมกำรกำหนดกลยุทธ์ในกำรแข่งขันทำงธุรกิจในองค์กรต่ำงๆ
2.8 ช่วยส่งเสริมกำรทำงำนร่วมกันของบุคลำกรในองค์กรด้วยกำรโต้ตอบแบบทันที (Interactive)
3. ส่วนประกอบของ DSS จะมีผลกระทบต่อประสิทธิภำพกำรตัดสินใจโดยตรง กล่ำวคือ
ส่วนประกอบที่ดีจะทำให้เกิดกระบวนกำรทำงำนที่มีประสิทธิภำพน่ำเชื่อถือ
แต่ถ้ำส่วนประกอบไม่ดีก็จะทำให้กระบวนกำรทำงำนขำดประสิทธิภำพ ส่วนประกอบของ DSS แบ่งเป็น 4
ส่วน
3.1 อุปกรณ์
เป็นส่วนประกอบที่รวมฮำร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของคอมพิวเตอร์แบ่งตำมบทบำทและหน้ำที่ได้เป็น 3 กลุ่ม
คือ
– อุปกรณ์ประมวลผล ปัจจุบัน DSS สำมำรถใช้งำนด้วยคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือพีซี
– อุปกรณ์สื่อสำร
เป็นกำรใช้ประโยชน์จำกเครือข่ำยคอมพิวเตอร์เพื่อส่งเสริมกำรทำงำนระยะไกลและกำรทำงำนเป็นกลุ่ม
โดยเครือข่ำยที่นิยมใช้ คือ เครือข่ำยแลน (LAN : Local Area Network)
สำหรับองค์กรขนำดเล็กและเครือข่ำยแมน (MAN : Metropolitan Area Network) สำหรับองค์กรขนำดเล็ก
ทำให้ต้องติดตั้งวีดีโอคอนเฟอร์เรนซ์ (Video Conference) เพิ่มในระบบเพื่อช่วยในกำรประชุมทำงไกล
(Teleconference) ของผู้ใช้งำน
– อุปกรณ์แสดงผล กำรใช้งำน
DSSจำเป็นต้องมีอุปกรณ์แสดงผลที่มีประสิทธิภำพและตอบสนองต่อรูปแบบของข้อมูลนั้นๆ
เพื่อช่วยถ่ำยทอดข้อมูลและสำรสนเทศที่ชัดเจน
3.2 ระบบกำรทำงำนของ DSS
มีลักษณะเป็นชุดคำสั่งเฉพำะที่สร้ำงและพัฒนำขึ้นในรูปแบบที่เตกต่ำงกันตำมลักษณะขององค์กร แบ่งเป็น
3 ส่วน คือ
– ฐำนข้อมูล (Database)
– ฐำนแบบจำลอง (Model Base)
– ระบบชุดคำสั่ง (SoftwareSystem)
3.3 ข้อมูล เป็นองค์ประกอบพื้นฐำนของกำรทำงำนด้วย DSS โดย DSS
จะเก็บข้อมูลไว้ที่ฐำนข้อมูลเพื่อนำไปประมวลผลในฐำนแบบจำลองแล้วนำเสนอด้วยระบบชุดคำสั่ง
ซึ่งข้อมูลดังกล่ำวจะต้องมีปริมำณเพียงพอต่อกำรใช้งำน มีควำมถูกต้อง ทันสมัย มีควำมยืดหยุ่น
และสำมำรถนำมำจัดและนำเสนอในรูปแบบเพื่อกำรวิเครำะห์ได้อย่ำงเหมำะสม
3.4 บุคลำกร เป็นส่วนประกอบที่มีบทบำทต่อกำรกำหนดเป้ำหมำยและควำมต้องกำร กำรพัฒนำ
กำรออกแบบ และกำรใช้งำน DSS ซึ่งแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
– ผู้ใช้(End –User) เป็นผู้นำเข้ำข้อมูลและรับข้อมูลจำก DSS
โดยไม่เกี่ยวข้องกับกำรประมวลผลโดยตรงของระบบสำรสนเทศ
– ผู้สนับสนุนระบบสำรสนเทศ (DSS Support) เป็นผู้ควบคุม ดูแลรักษำอุปกรณ์
และระบบกำรทำงำนให้มีควำมสมบูรณ์และสำมำรถประมวลผลได้เต็มประสิทธิภำพตำมควำมต้องกำรของ
ผู้ใช้
ประเภทของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสำรสนเทศที่ดีจะช่วยให้ผู้ใช้ในทุกระดับขององค์กรตัดสินใจได้อย่ำงถูกต้อง
ประเภทของระบบสำรสนเทศเพื่อสนับสนุนกำรตัดสินใจแบ่งตำมผู้ใช้งำนเป็น 2 ประเภท
คือระบบสำรสนเทศเพื่อสนับสนุนกำรตัดสินใจของบุคคลและระบบสำรสนเทศเพื่อสนับสนุนกำรตัดสินใจ
แบบกลุ่ม
ระบบสำรสนเทศเพื่อสนับสนุนกำรตัดสินใจของบุคคล
ระบบสำรสนเทศเพื่อสนับสนุนกำรตัดสินใจแบบกลุ่ม
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของบุคคล
ระบบสำรสนเทศสนับสนุนกำรตัดสินใจของบุคคล
เป็นระบบสำรสนเทศที่มีผู้ใช้หรือผู้ตัดสินใจเพียงคนเดียว ดังนั้นผู้ใช้จึงต้องมีอำนำจในกำรตัดสินใจ
ระบบสำรสนเทศประเภทนี้มีอีกชื่อหนึ่งว่ำ ระบบสำรสนเทศของผู้บริหำร หรือ (EIS) (Executive
Information System ) ซึ่งเป็นระบบสำรสนเทศที่ช่วยสนับสนุนกำรวิเครำะห์ปัญหำ
ศึกษำแนวโน้มของเรื่องที่สนใจ
ลักษณะพิเศษของEIS คือ ไม่จำเป็นต้องติดตั้งหรือทำงำนบนเครือข่ำยคอมพิวเตอร์
ฮำร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ใช้ควรมีประสิทธิภำพสูงเพื่อให้สำมำรถประมวลผลข้อมูลได้อย่ำงรวดเร็วและมีคุ
ณภำพ EIS ในแต่ละซอฟต์แวร์หรือ EIS
ของแต่ละบริษัทจะมีประโยชน์และรำยละเอียดต่ำงๆแตกต่ำงกันตำมแบบจำลองเฉพำะงำนที่สร้ำงขึ้น แต่
EIS ทุกซอฟต์แวร์จะมีประโยชน์โดยรวมเหมือนกันดังนี้
– ช่วยในกำรตัดสินใจมีประสิทธิภำพมำกขึ้น
– ช่วยประหยัดเวลำในกำรสร้ำงควำมเข้ำใจและตัดสินใจของผู้บริหำร
– สำมำรถนำสำรสนเทศจำก EIS ไปอ้ำงอิงเพื่อดำเนินกำรทำงธุรกิจได้สะดวกยิ่งขึ้น
ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุ่ม
ระบบสำรสนเทศสนับสนุนกำรตัดสินใจแบบกลุ่มหรือ GDSS (groupdecision support system)
เป็นระบบสำรสนเทศที่พัฒนำมำจำกระบบสำรสนเทศสนับสนุนกำรตัดสินใจของบุคคลเรื่องจำกกำรทำงำน
ภำยในองค์กรมักใช้กำรวิเครำะห์ข้อมูลจำกผู้ใช้ที่มีจำนวนมำกกว่ำ 1 คนในกำรตัดสินใจกำรแก้ปัญหำ
ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภำพและควำมน่ำเชื่อถือในผลกำรตัดสินใจนั้น ๆ
แผนผังแสดงกำรใช้งำน GDSS เพื่อปรับเปลี่ยนเวลำกำรทำงำนของพนักงำน
จำกแผนผังแสดงกำรใช้งำน GDSS เพื่อปรับเปลี่ยนเวลำกำรทำงำนของพนักงำนจะเห็นได้ว่ำผู้ใช้ GDSS
มีจำนำนมำกกว่ำ 1 คน ดังนั้น GDSS
จึงต้องทำงำนบนเครือข่ำยคอมพิวเตอร์และมีอุปกรณ์ส่งเสริมกำรทำงำนร่วมกันเป็นกลุ่มติดตั้งเพิ่มขึ้นในระ
บบสำรสนเทศ GDSS ทำให้เกิดประโยชน์ดังนี้
1. เกิดควำมร่วมมือกันภำยในองค์กรมำกยิ่งขึ้น
เนื่องจำกทุกคนในองค์กรสำมำรถแสดงควำมคิดเห็นหรือนำข้อมูลใน GDSS ได้
2. ลดอคติต่อแหล่งที่มำของข้อมูลและช่วยกระตุ้นควำมคิดเห็นใหม่ ๆ เนื่องจำกผู้แสดงควำมคิดเห็นผ่ำนทำง
GDSS ไม่จำเป็นต้องแสดงข้อมูลของตนเอง
3. ลดปัญหำควำมขัดแย้งของข้อมูล เนื่องจำก GDSS จะรวบรวมข้อมูลจำกฐำนข้อมูลเดียวเท่ำนั้น
ข้อมูลที่นำเสนอไปยังผู้ใช้ทุกคนจึงเป็นข้อมูลเดียวกัน
4. เพิ่มประสิทธิภำพและควำมน่ำเชื่อถือของผลกำรตัดสินใจ เนื่องจำกเป็นผลกำรตัดสินใจจำกผู้ใช้หลำยคน
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (13)

Observación de una clase
Observación de una claseObservación de una clase
Observación de una clase
 
Isomorphism
IsomorphismIsomorphism
Isomorphism
 
Завидово.
Завидово. Завидово.
Завидово.
 
From Finish to Start
From Finish to StartFrom Finish to Start
From Finish to Start
 
Itnew
ItnewItnew
Itnew
 
Financial Aid
Financial AidFinancial Aid
Financial Aid
 
ปัญหาสังคม
ปัญหาสังคมปัญหาสังคม
ปัญหาสังคม
 
Classification of singularity
Classification of singularityClassification of singularity
Classification of singularity
 
FIWARE: Managing Context Information at Large Scale (NGSIv1)
FIWARE: Managing Context Information at Large Scale (NGSIv1)FIWARE: Managing Context Information at Large Scale (NGSIv1)
FIWARE: Managing Context Information at Large Scale (NGSIv1)
 
Hệ thống tài chính Nhật Bản
Hệ thống tài chính Nhật BảnHệ thống tài chính Nhật Bản
Hệ thống tài chính Nhật Bản
 
Curso AngularJS - 3. módulos y controladores
Curso AngularJS - 3. módulos y controladoresCurso AngularJS - 3. módulos y controladores
Curso AngularJS - 3. módulos y controladores
 
3 torsion- Mechanics of Materials - 4th - Beer
3 torsion- Mechanics of Materials - 4th - Beer3 torsion- Mechanics of Materials - 4th - Beer
3 torsion- Mechanics of Materials - 4th - Beer
 
MECHANICS OF MATERIALS
MECHANICS OF MATERIALSMECHANICS OF MATERIALS
MECHANICS OF MATERIALS
 

สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ

  • 1. จัดทำโดย 1นำยสมิต จิตรบวรวงศ์ เลขที่1 2นำยคณำพงศ์ นิยม เลขที่2 3นำยธนกฤต วัฒถำพร เลขที่3 4นำยบำรมี ชมพู่ เลขที่5 5นำยพีรณัฐ อุณหะนันทน์ เลขที่10 6นำยก้องภพ สุขแสงเดือนฉำย เลขที่11 7นำงสำวจิรวัส แสงนิ่ม เลขที่13 8นำงสำวพรรนิภำ แซ่ตัน เลขที่17 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่5/2
  • 2. ระบบสำรสนเทศเพื่อสนับสนุนกำรตัดสินใจ ระบบกำรทำงำนในอดีตมีกำรใช้ระบบสำรสนเทศช่วยจัดกำรข้อมูลมีประสิทธิภำพไม่แน่นอน ไม่มีควำมสะดวก และมีคำมยุ่งยำกในกำรใช้งำน ปัจจุบันจึงได้มีกำรนำคอมพิวเตอร์เข้ำมำในกำรจัดกำรระบบสำรสนเทศในองค์กรมำกยิ่งขึ้น โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งระบบสำรสนเทศเพื่อสนับสนุนกำรตัดสินใจ ระบบสำรสนเทศ (Information Systems) คือ กระบวนกำรรวบรวม บันทึก ประมวลผลข้อมูลให้เป็นสำรสนเทศ และแจกจ่ำยสำรสนเทศเพื่อใช้ในกำรวำงแผน คบคุมกำรทำงำน และช่วยในกำรสนับสนุนกำรตัดสินใจ
  • 3. ระบบสำรสนเทศสำมำรถนำมำประยุกต์ใช้เพื่อส่งเสริมกำรทำงำนในทุกด้ำน แต่ละด้ำนสำมำรถแบ่งประเภทได้หลำยรูปแบบตำมควำมต้องกำรของผู้ใช้งำนในด้ำนนั้นๆ เช่น ระบบสำรสนเทศที่ใช้ส่งเสริมกำรทำงำนในด้ำนอุตสำหกรรม สำมำรถแบ่งเป็น 2ประเภท ได้แก่ ระบบสำรสนเทศกำรจัดกำรวัตถุดิบและระบบสำรสนเทศกำรจัดกำรผลผลิต อย่ำงไนก็ตำม กำรใช้งำนระบบสำรสนเทศทุกประเภทจะต้องมีองค์ประกอบของระบบสำรสนเทศ (Component of Information System) ซึ่งองค์ประกอบของระบบสำรสนเทศทุกส่วนจะมีผลต่อประสิทธิภำพของกำรใช้งำนระบบสำรสนเทศนั้นๆ องค์ประกอบของระบบสำรสนเทศแบ่งเป็น 5ส่วน ดังนี้ 1. ฮำร์ดแวร์ (Hardware) คือ อุปกรณ์อิเล็กโทรนิกส์ที่ใช้ประมวลผลหรือสร้ำงสำระสนเทศ เช่น คอมพิวเตอร์ CPU 2. ซอฟต์แวร์ (Software) คือ ชุดคำสั่งที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงำนตำมควำมต้องกำรของผู้ใช้ระบบสำรสนเทศ 3. ข้อมูลและสำรสนเทศ (Dataand Information) คือ ข้อเท็จจริงต่ำงๆทั้งที่ผ่ำนกำรประมวลผลและยังไม่ผ่ำนกำรประมวลผล อยู่ในรูปของ ตัวเลข ตัวอักษร รูปภำพ ฯลฯ 4. บุคลำกร (Peopleware) คือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบสำรสนเทศ แบ่งเป็น 4ระดับคือ นักวิเครำะห์ระบบ โปรแกรมเมอร์ เจ้ำหน้ำที่ฝ่ำยปฏิบัติงำนเครื่อง และผู้ใช้
  • 4. 5. กระบวนกำรทำงำน (Procedure) คือ ขั้นตอนกำรทำงำนเพื่อให้ได้สำรสนเทศ ตำมที่ต้องกำร 5.1 กำรนำเข้ำ (Input)เป็นกำรนำข้อมูลและสำรสนเทศต่ำงๆที่ได้จำกกำรรวบรวมเข้ำสู่ระบบ 5.2 กำรประมวลผล(Process)เป็นกำรนำข้อมูลที่ได้ไปประมวลผลตำมเงื่อนไขที่กำหนดโดยกำรเรียงลำดับ 5.3 กำรแสดงผล (Output) เป็นกำรนำผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรประมวลผลมำแสดงในรูปแบบที่ผู้ใช้ต้องกำรเพื่อส่งเสริม 5.4 กำรจัดเก็บ (Storage) เป็นกำรจัดเก็บข้อมูลหรือสำรสนเทศทั้งหมดที่เกี่ยวกับระบบสำรสนเทศเพื่อให้ผู้ใช้ระบบสำรสนเทศสำมำร ถนำมำใช้ได้ใหม่ในอนำคต ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ระบบสำรสนเทศ เมื่อนำมำใช้จะช่วยบุคลำกรในองค์กรให้สำมำรถตัดสินใจเลือกปฏิบัติงำนได้อย่ำงถูกต้อง ระบบสำรสนเทศเพื่อสนับสนุนกำรตัดสินใจนี้เรียกว่ำ DSS (Decision SupportSystem) ซึ่งเป็นระบบย่อยระบบหนึ่งในระบบสำรสนเทศเพื่อกำรจัดกำร (MIS : Management Information System) โดย DSS มีลักษณะ ประโยชน์ และส่วนประกอบ ดังนี้ 1. ลักษณะของ DSS เป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ช่วยในกำรจัดกำร รวบรวม และวิเครำะห์ข้อมูลที่มีควำมซับซ้อน ซึ่งมีกำรตอบสนองหรือโต้ตอบกับผู้ใช้งำน ปัญหำที่แก้ไขด้วย DSS จะเป็นข้อมูลที่ไม่มีโครงสร้ำงที่แน่นอนหรือข้อมูลมีกำรเปลี่ยนแปลงตลอดเวลำซึ่งไม่สำมำรถแก้ปัญหำได้ด้ วยสำรสนเทศเพื่อประมวลผลรำยกำรธุรกรรม (TPS :Transaction Processing System) ทั่วไป
  • 5. แผนผังแสดงกำรใช้งำน DSS ปรับปรุงเครื่องจักร จำกแผนผังแสดงกำรใช้งำน DSS ปรับปรุงเครื่องจักรจะเห็นว่ำ กำรตัดสินใจที่ถูกต้องนั้นจะต้องอำศัยข้อมูลที่มีประสิทธิภำพจำก DSS รวมกับกำรวิเครำะห์และทัศนคติของเจ้ำของกิจกำรนั่นคือ ไม่มีข้อมูลที่ได้จำก DSS จะมีประสิทธิภำพมำกเพียงใดก็ตำม ผลของกำรตัดสินใจก็ยังขึ้นอยู่กับกำรวิเครำะห์และทัศนคติของเจ้ำของกิจกำรหรือผู้ใช้ระบบสำรสนเทศนั้น ๆ 2. ประโยชน์ของ DSS เนื่องจำก DSS ให้ควำมสำคัญกับกำรนำสำรสนเทศไปประกอบกำรตัดสินใจเพื่อปฏิบัติงำนในขั้นต่ำงๆของกระบวนกำรทำ งำน ซึ่งไม่ใช่กำรรวบรวมและกำรแสดงข้อมูลที่ใช้งำนประจำวันทั่วๆไป ทำให้ DSS มีประโยชน์ดังนี้ 2.1 ช่วยประมวลผลและนำเสนอข้อมูลแก่ผู้ใช้เพื่อสร้ำงควำมเข้ำใจเกี่ยวกับกระบวนกำรทำงำนและเป็นแนวทำง ในกำรตัดสินใจ 2.2 ช่วยประเมินทำงเลือกในกำรตัดสินใจภำยใต้เงื่อนไขของปัญหำแต่ละสถำนกำรณ์ที่มีลักษณะเฉพำะของสถำ นกำรณ์นั้นๆ 2.3 ช่วยสนับสนุนกำรตัดสินใจในปัญหำที่มีควำมสลับซับซ้อนและข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลำ 2.4 ช่วยสร้ำงควำมยืดหยุ่น ควำมสมบูรณ์ และควำมสะดวกในกำรตัดสินใจ 2.5 ช่วยเพิ่มพัฒนำกำรและควำมเข้ำใจในศักยภำพกำรทำงำนของเทคโนโลยีสำรสนเทศที่ครอบคลุมมำกกว่ำกำ รปฏิบัติงำนทั่วๆไป 2.6 ช่วยนำเสนอข้อมูลในรูปแบบที่หลำกหลำย เช่น ตัวอักษร แผนภูมิ ภำพนิ่ง ภำพเคลื่อนไหว มัลติมีเดีย 2.7 ช่วยในกำรตัดสินใจที่ต้องกำรควำมรวดเร็วสูง ส่งเสริมกำรกำหนดกลยุทธ์ในกำรแข่งขันทำงธุรกิจในองค์กรต่ำงๆ 2.8 ช่วยส่งเสริมกำรทำงำนร่วมกันของบุคลำกรในองค์กรด้วยกำรโต้ตอบแบบทันที (Interactive)
  • 6. 3. ส่วนประกอบของ DSS จะมีผลกระทบต่อประสิทธิภำพกำรตัดสินใจโดยตรง กล่ำวคือ ส่วนประกอบที่ดีจะทำให้เกิดกระบวนกำรทำงำนที่มีประสิทธิภำพน่ำเชื่อถือ แต่ถ้ำส่วนประกอบไม่ดีก็จะทำให้กระบวนกำรทำงำนขำดประสิทธิภำพ ส่วนประกอบของ DSS แบ่งเป็น 4 ส่วน 3.1 อุปกรณ์ เป็นส่วนประกอบที่รวมฮำร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของคอมพิวเตอร์แบ่งตำมบทบำทและหน้ำที่ได้เป็น 3 กลุ่ม คือ – อุปกรณ์ประมวลผล ปัจจุบัน DSS สำมำรถใช้งำนด้วยคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือพีซี – อุปกรณ์สื่อสำร เป็นกำรใช้ประโยชน์จำกเครือข่ำยคอมพิวเตอร์เพื่อส่งเสริมกำรทำงำนระยะไกลและกำรทำงำนเป็นกลุ่ม โดยเครือข่ำยที่นิยมใช้ คือ เครือข่ำยแลน (LAN : Local Area Network) สำหรับองค์กรขนำดเล็กและเครือข่ำยแมน (MAN : Metropolitan Area Network) สำหรับองค์กรขนำดเล็ก ทำให้ต้องติดตั้งวีดีโอคอนเฟอร์เรนซ์ (Video Conference) เพิ่มในระบบเพื่อช่วยในกำรประชุมทำงไกล (Teleconference) ของผู้ใช้งำน – อุปกรณ์แสดงผล กำรใช้งำน DSSจำเป็นต้องมีอุปกรณ์แสดงผลที่มีประสิทธิภำพและตอบสนองต่อรูปแบบของข้อมูลนั้นๆ เพื่อช่วยถ่ำยทอดข้อมูลและสำรสนเทศที่ชัดเจน 3.2 ระบบกำรทำงำนของ DSS มีลักษณะเป็นชุดคำสั่งเฉพำะที่สร้ำงและพัฒนำขึ้นในรูปแบบที่เตกต่ำงกันตำมลักษณะขององค์กร แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ – ฐำนข้อมูล (Database) – ฐำนแบบจำลอง (Model Base) – ระบบชุดคำสั่ง (SoftwareSystem) 3.3 ข้อมูล เป็นองค์ประกอบพื้นฐำนของกำรทำงำนด้วย DSS โดย DSS จะเก็บข้อมูลไว้ที่ฐำนข้อมูลเพื่อนำไปประมวลผลในฐำนแบบจำลองแล้วนำเสนอด้วยระบบชุดคำสั่ง
  • 7. ซึ่งข้อมูลดังกล่ำวจะต้องมีปริมำณเพียงพอต่อกำรใช้งำน มีควำมถูกต้อง ทันสมัย มีควำมยืดหยุ่น และสำมำรถนำมำจัดและนำเสนอในรูปแบบเพื่อกำรวิเครำะห์ได้อย่ำงเหมำะสม 3.4 บุคลำกร เป็นส่วนประกอบที่มีบทบำทต่อกำรกำหนดเป้ำหมำยและควำมต้องกำร กำรพัฒนำ กำรออกแบบ และกำรใช้งำน DSS ซึ่งแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ – ผู้ใช้(End –User) เป็นผู้นำเข้ำข้อมูลและรับข้อมูลจำก DSS โดยไม่เกี่ยวข้องกับกำรประมวลผลโดยตรงของระบบสำรสนเทศ – ผู้สนับสนุนระบบสำรสนเทศ (DSS Support) เป็นผู้ควบคุม ดูแลรักษำอุปกรณ์ และระบบกำรทำงำนให้มีควำมสมบูรณ์และสำมำรถประมวลผลได้เต็มประสิทธิภำพตำมควำมต้องกำรของ ผู้ใช้ ประเภทของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ระบบสำรสนเทศที่ดีจะช่วยให้ผู้ใช้ในทุกระดับขององค์กรตัดสินใจได้อย่ำงถูกต้อง ประเภทของระบบสำรสนเทศเพื่อสนับสนุนกำรตัดสินใจแบ่งตำมผู้ใช้งำนเป็น 2 ประเภท คือระบบสำรสนเทศเพื่อสนับสนุนกำรตัดสินใจของบุคคลและระบบสำรสนเทศเพื่อสนับสนุนกำรตัดสินใจ แบบกลุ่ม
  • 8. ระบบสำรสนเทศเพื่อสนับสนุนกำรตัดสินใจของบุคคล ระบบสำรสนเทศเพื่อสนับสนุนกำรตัดสินใจแบบกลุ่ม ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของบุคคล ระบบสำรสนเทศสนับสนุนกำรตัดสินใจของบุคคล เป็นระบบสำรสนเทศที่มีผู้ใช้หรือผู้ตัดสินใจเพียงคนเดียว ดังนั้นผู้ใช้จึงต้องมีอำนำจในกำรตัดสินใจ ระบบสำรสนเทศประเภทนี้มีอีกชื่อหนึ่งว่ำ ระบบสำรสนเทศของผู้บริหำร หรือ (EIS) (Executive
  • 9. Information System ) ซึ่งเป็นระบบสำรสนเทศที่ช่วยสนับสนุนกำรวิเครำะห์ปัญหำ ศึกษำแนวโน้มของเรื่องที่สนใจ ลักษณะพิเศษของEIS คือ ไม่จำเป็นต้องติดตั้งหรือทำงำนบนเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ ฮำร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ใช้ควรมีประสิทธิภำพสูงเพื่อให้สำมำรถประมวลผลข้อมูลได้อย่ำงรวดเร็วและมีคุ ณภำพ EIS ในแต่ละซอฟต์แวร์หรือ EIS ของแต่ละบริษัทจะมีประโยชน์และรำยละเอียดต่ำงๆแตกต่ำงกันตำมแบบจำลองเฉพำะงำนที่สร้ำงขึ้น แต่ EIS ทุกซอฟต์แวร์จะมีประโยชน์โดยรวมเหมือนกันดังนี้ – ช่วยในกำรตัดสินใจมีประสิทธิภำพมำกขึ้น – ช่วยประหยัดเวลำในกำรสร้ำงควำมเข้ำใจและตัดสินใจของผู้บริหำร – สำมำรถนำสำรสนเทศจำก EIS ไปอ้ำงอิงเพื่อดำเนินกำรทำงธุรกิจได้สะดวกยิ่งขึ้น
  • 10. ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุ่ม ระบบสำรสนเทศสนับสนุนกำรตัดสินใจแบบกลุ่มหรือ GDSS (groupdecision support system) เป็นระบบสำรสนเทศที่พัฒนำมำจำกระบบสำรสนเทศสนับสนุนกำรตัดสินใจของบุคคลเรื่องจำกกำรทำงำน ภำยในองค์กรมักใช้กำรวิเครำะห์ข้อมูลจำกผู้ใช้ที่มีจำนวนมำกกว่ำ 1 คนในกำรตัดสินใจกำรแก้ปัญหำ ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภำพและควำมน่ำเชื่อถือในผลกำรตัดสินใจนั้น ๆ
  • 11. แผนผังแสดงกำรใช้งำน GDSS เพื่อปรับเปลี่ยนเวลำกำรทำงำนของพนักงำน จำกแผนผังแสดงกำรใช้งำน GDSS เพื่อปรับเปลี่ยนเวลำกำรทำงำนของพนักงำนจะเห็นได้ว่ำผู้ใช้ GDSS มีจำนำนมำกกว่ำ 1 คน ดังนั้น GDSS จึงต้องทำงำนบนเครือข่ำยคอมพิวเตอร์และมีอุปกรณ์ส่งเสริมกำรทำงำนร่วมกันเป็นกลุ่มติดตั้งเพิ่มขึ้นในระ บบสำรสนเทศ GDSS ทำให้เกิดประโยชน์ดังนี้ 1. เกิดควำมร่วมมือกันภำยในองค์กรมำกยิ่งขึ้น เนื่องจำกทุกคนในองค์กรสำมำรถแสดงควำมคิดเห็นหรือนำข้อมูลใน GDSS ได้ 2. ลดอคติต่อแหล่งที่มำของข้อมูลและช่วยกระตุ้นควำมคิดเห็นใหม่ ๆ เนื่องจำกผู้แสดงควำมคิดเห็นผ่ำนทำง GDSS ไม่จำเป็นต้องแสดงข้อมูลของตนเอง 3. ลดปัญหำควำมขัดแย้งของข้อมูล เนื่องจำก GDSS จะรวบรวมข้อมูลจำกฐำนข้อมูลเดียวเท่ำนั้น ข้อมูลที่นำเสนอไปยังผู้ใช้ทุกคนจึงเป็นข้อมูลเดียวกัน 4. เพิ่มประสิทธิภำพและควำมน่ำเชื่อถือของผลกำรตัดสินใจ เนื่องจำกเป็นผลกำรตัดสินใจจำกผู้ใช้หลำยคน