SlideShare a Scribd company logo
พิษภัยจากบุหรี่
The penalty for smoking
การสูบบุหรี่
อันตรายที่เกิดจากบุหรี่
บุหรี่ทามาจากอะไร
สารพิษในบุหรี่
สาเหตุที่ทาให้คนสูบบุหรี่
โทษของการสูบบุหรี่
การหลีกเลี่ยง
การสูบบุหรี่
ปีหนึ่ง ๆ ประชาชนนอกจากจะต้องสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายเป็นค่าบุหรี่ ค่า
บาบัดรักษาโรคขาดรายได้แล้ว ยังต้องทนทุกข์ทรมานทั้งร่างกาย จิตใจ
ตลอดจนถึงกับเสียชีวิต นับเป็นจานวนมาก ด้วยความตระหนักถึงความ
สูญเสียอย่างมากมายนี้เอง
หลาย ๆ ประเทศจึงได้มีการรณรงค์ด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่จะยับยั้งการ
แพร่กระจายของการสูบบุหรี่ในประชาชนให้ลดน้อยลงองค์การอนามัยโลกได้มี
ความสนใจจัดให้มีการประชุมเรื่องผลของการสูบบุหรี่ต่อสุขภาพ และได้ผล
สรุปว่า”โรคต่าง ๆ ที่เนื่องมาจากการสูบบุหรี่ เป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้เกิด
ความไร้สมรรถภาพและเสียชีวิตลงก่อนกาหนด
การควบคุมการสูบบุหรี่จะทาให้ประชาชนมีสุขภาพดีขึ้น และจะมีชีวิตยืน
นาน” อีกทั้งคาขวัญของอนามัยโลก (7 เมษายน) ประจาปี พ.ศ.
2523 ได้กล่าวว่า “สุขภาพจะดี เมื่องดสูบบุหรี่ได้” บุหรี่เป็นสารเสพย์
ติดที่ต่างจากสารเสพย์ติดให้โทษชนิดอื่น ที่ผู้เสพไม่ได้ติดเพราะสารใด ๆ
ในบุหรี่ ด้วย
การติดบุหรี่เป็นการติดทางใจ เป็นพฤติกรรมเคยชินจนเป็นนิสัย อันเกิดจาการใช้สาร
นั้นซ้า เพื่อให้เกิดความรู้สึกที่ดีขึ้น แต่หากไม่ได้สูบก็ไม่ถึงกับเกิดอาการขาดยาหรือ
withdrawal syndrome อย่างชัดเจน อีกทั้งไม่จาเป็นต้องเพิ่มปริมาณขึ้น
เรื่อยๆ ดังเช่น
การเสพสารเสพย์ติดชนิดอื่น แต่โทษและพิษภัยของบุหรี่ก็เป็นอันตรายต่อสุขภาพและ
ทาร้ายบุคคลรอบข้างได้อย่างคาดไม่ถึงเช่นกัน
บุหรี่ทาจากใบยาสูบ(tobacco) ที่นามาตากแห้งแล้วย่อยเป็นเส้น ผสมสาร
ปรุงแต่งเพื่อให้มีรสชาติในขณะสูบ มวนด้วยกระดาษเป็นรูปแท่งใช้สูบ นิโคตินเป็น
สารที่อยู่ในใบยาสูบที่ทาให้ผู้ใช้เกิดอาการติดยา และมีฤทธิ์ทาให้ระบบการทางาน
ของอวัยวะต่าง ๆ เสียและพิการ
การสูบบุหรี่ ถือเป็นการติดเป็นนิสัย ซึ่งจะแตกต่างไปจาการติดสิ่งเสพย์ติด
คือบุหรี่จะทาให้คนสูบอยากสูบจนเป็นนิสัย เมื่อไม่ได้สูบจะรู้สึกหงุดหงิดไม่
สบายใจ การสูบบุหรี่เป็นการกระทาของคนที่มุ่งเผาผลาญทรัพย์ ทาลาย
สุขภาพและชีวิตของตนเอง
อันตรายที่เกิดจากบุหรี่
1.นิโคติน ในการสูบบุหรี่ 1 มวน จะเสพนิโคตินประมาณ 6-8 มิลิกรัม ซึ่งจะเข้าไปกระตุ้น
และกดการทางานของระบบประสาทส่วนกลาง ทาอันตรายต่อระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินหายใจ
ระบบไหลเวียนโลหิต และการทางานของหัวใจ หากได้รับนิโคตินในสัดส่วน 1 ม.ก. ต่อน้าหนักตัว 1
ก.ก. อาจทาให้ตายได้
2. น้ามันดิน เป็นน้ามันข้นเหนียวสีน้าตาลไหม้ เกิดจากการเผาไหม้ของมวนบุหรี่ ในบุหรี่
1 มวน จะเกิดน้ามันดิน 20-30 ม.ก. ซึ่งมีสารคาร์ซิโนเจนอันก่อให้เกิดมะเร็งปอด และน้ามันดินก็จะ
ไปอุดตันในถุงลมปอด ทาให้ลดพื้นที่การแลกเปลี่ยนก๊าซในถุงลมปอดเกิดโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรค
ถุงลมโป่งพองตามมา เป็นต้น
3. คาร์บอนมอนนอกไซด์ ควันบุหรี่ 1 มวน จะเกิดก๊าซคาร์บอนมอนนอก
ไซด์ 3.2 % ซึ่งจะจับตัวกับเซลล์เม็ดเลือดแดงได้อย่างรวดเร็ว ทาให้เกิดสารคาร์บอกซี
ฮีโมโกลบินในเลือดสูงส่งผลให้กล้ามเนื้อหัวใจต้องทางานหนัก เพื่อให้สูบฉีดโลหิตที่มี
ออกซิเจนไปได้มากขึ้น
4. ไนโตรเจนไดออกไซด์ มีในควันบุหรี่มากถึง 250 ส่วนในล้านส่วน เป็น
สารที่ทาลายเยื่อหลอดลมส่วนปลายให้บานและโปร่งพอง ทาให้ร่างกายไอเรื้อรัง หากปล่อยไว้
กลายเป็นโรคปอดได้ ฯลฯ
สารพิษในบุหรี่
ควันที่เกิดจากการเผาไหม้ใบยาสูบ กระดาษที่ใช้มวน และสารที่ผสมในบุหรี่ได้แก่ เมนทอล
ก่อให้เกิดสารขึ้นใหม่พันกว่าชนิด แต่ละชนิดเป็นพิษต่อร่างกายทั้งสิ้น สาระสาคัญที่เป็น
อันตรายต่อร่างกาย ได้แก่ นิโคติน ทาร์ แอมโมเนีย สารกัมมันตรังสี แร่ธาตุที่ตกค้างใน
ใบยา เช่น โพแทสเซียม โซเดียม ยาฆ่าแมลง เมนทอล และกลุ่มก๊าซเช่น ไนโตรเจนได
ออกไซด์ คาร์บอนมอนนอกไซด์ ไฮโดรเจนไซยาไน สารเหล่านี้มีผลต่อร่างกายเฉพาะอย่าง
ไม่เหมือนกัน
สารพิษในบุหรี่
https://www.youtube.com/watch?v=9Mde1b05cHM
กระตุ้นสมองส่วนกลาง ให้ประสาทตื่นตัวทางานหนักกว่าปกติ เมื่อ
ทาซ้า ๆ บ่อยครั้งเป็นเวลานาน เมื่อร่างกายกลับเข้าสู่ภาวะปกติ
ประสาทจะเฉื่อยชา เนื่องจากถูกใช้งานหนักมาก่อน
หัวใจทางานหนักกว่าปกติ อากาศที่ผู้สูบหายใจเข้าไปในขณะสูบ มีก๊าซเกิดจากการเผาไหม้ที่
ร่างกายไม่ต้องการปะปนอยู่เป็นจานวนมาก ก๊าซออกซิเจนที่ร่างกายต้องการลดลง
ประกอบกับนิโคตินไปกระตุ้นให้ต่อมแอดรีนาด ผลิตฮอร์โมนแอดรีนาลิน ทั้งสองกรณีทาให้
หัวใจเต้นเร็วกว่าปกติ การที่ร่างกายขาดออกซิเจนและอิทธิพลของฮอร์โมนแอดรีนาลินทาให้
หัวใจทางานหนักกว่าปกติ เมื่อเกิดขึ้นซ้า ๆ บ่อยครั้งจะก่อให้เกิดโรคหัวใจขึ้นได้
เกิดมะเร็งตามอวัยวะส่วนที่สัมผัสควันบุหรี่ตั้งแต่ช่วงปาก ลาคอ กล่องเสียงสายเสียง หลอด
อาหาร โดยเฉพาะมะเร็งปอด ที่พบว่าผู้สูบบุหรี่เป็นกันมาก สารก่อมะเร็งในควันบุหรี่มีหลาย
อย่าง เช่น ทาร์ สารกัมมันตภาพรังสี ที่ถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายและกระแสเลือดได้นาไปยังส่วน
ต่าง ๆ ของร่างกาย ทาให้เกิดมะเร็งตามอวัยวะอื่นอีก เช่น ตับอ่อน กระเพาะปัสสาวะ ปาก
มดลูก มะเร็งเม็ดเลือดก่อให้เกิดโรคถุงลมโป่งพองเป็นแผลที่กระเพาะอาหารสารระคายเคือง
สาเหตุที่ทาให้คนสูบบุหรี่
การเลียนแบบ เห็นผู้ใหญ่ พ่อ แม่ หรือเพื่อนๆ สูบ ก็สูบตามบ้างหรือ
ต้องการให้ตนเป็นที่ยอมรับของผู้อื่นชอบทดลองหรือเชื่อคาโฆษณา คิดว่าตนโตแล้ว
จึงต้องการหาประสบการณ์ใหม่ๆ ประกอบกับมีการโฆษณาชักชวนของบริษัท
จาหน่าย จึงทดลองสูบ
https://www.youtube.com/watch?v=F5h_NVJFSdI
เมื่อสูบบ่อยเข้าจึงติดเป็นนิสัยเพื่อแสดงความมีอิสระ ความโอ้อวด และโก้เก๋
คิดว่าตนโตแล้วจึงต้องแสดงให้เห็นถึงความมีอิสระ ความสามารถที่สูบบุหรี่ได้
และเข้าใจผิดคิดว่าการสูบบุหรี่เป็นสิ่งโก้เก๋
สูบเพื่อต้องการผ่อนคลายอารมณ์เครียด แก้เหงาหรือแก้เขินที่ไม่ทราบว่าจะทา
อะไร หรือวางตัวอย่างไรดีการสูบจนติดเป็นนิสัย และ ด้วยความพอใจ ที่ปาก
และจมูกได้สัมผัส กับบุหรี่ ควันบุหรี่ และกลิ่น รส ที่ปรุงแต่งบุหรี่การจุดบุหรี่
ให้ผู้อื่นบ่อย ๆ การจุดบุหรี่จะต้องดูดบุหรี่ด้วยไฟจึงจะติด ดังนั้น เมื่อจุดให้
ผู้อื่นบ่อย ๆ ก็จะทาให้ติดบุหรี่ได้
การหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่
1. อย่าจุดบุหรี่ให้ผู้อื่น เพราะถ้าจุดให้บ่อย ๆ อาจทาให้ติดได้ และไม่ควรสูบตามผู้อื่น
2.อย่าทดลองสูบหรือเชื่อคาโฆษณา เพราะถ้าลองสูบแล้วอาจจะทาให้ติดได้
3. อย่าคิดว่า การสูบบุหรี่เป็นสิ่งโก้เก๋ ควันบุหรี่ กลิ่นบุหรี่จากลมหายใจจากลมปากเวลา
พูด จะทาให้ผู้อื่นราคาญและรังเกียจ
4. อย่าใช้การสูบบุหรี่เป็นเครื่องผ่อนคลายอารมณ์ หรือแก้เหงา ควรใช้วิธีอื่นที่ไม่ก่อให้เกิด
อันตรายต่อร่างกาย เช่น การอ่านหนังสือ ฟังวิทยุ ดนตรี หรือสนใจในกิจกรรมต่าง ๆ
เป็นต้น
5. สาหรับผู้ที่สูบอยู่ ควรพยายามเลิกให้ได้อย่างเด็ดขาด ปฏิบัติตามคาแนะนาเพื่อการเลิกสูบ
บุหรี่ ซึ่งมีบริการตามสถานพยาบาล หรือโรงพยาบาลต่าง ๆ หรือแพทย์
ถ้ายังไม่สามารถจะเลิกได้ ให้ลดจานวนบุหรี่ที่สูบให้น้อยลง
6. พึงระลึกไว้เสมอว่า การสูบบุหรี่ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อสุขภาพ สิ้นเปลือง และก่อ
ความราคาญให้แก่ผู้อื่น
โทษของการสูบบุหรี่
1.โรคของหัวใจและหลอดเลือด
โรคหัวใจโคโรนารี เป็นโรคที่ทาให้ถึงตายอย่างฉับพลันได้มากปีหนึ่ง ๆ โดยมีสาเหตุ
สาคัญ คือการสูบบุหรี่ ความดันโลหิตสูง และคอเลสเตอรอลหรือไขมันในเลือดสูงการ
เสี่ยงต่อการป่วยและตายจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความมากน้อยของสาเหตุดังกล่าว
2.โรคมะเร็ง
2.1 โรคมะเร็งของปอด เป็นโรคที่ทาให้ผู้ป่วยต้องทนทุกข์ทรมานน่าสมเพชเป็น
อย่างมาก การสูบบุหรี่มากและนานจะยิ่งเสี่ยงต่อการป่วยและตายด้วยโรคมะเร็งของปอดมาก
ขึ้นผู้ที่สูบบุหรี่วันละ 1 ซอง (20 มวน) จะตายด้วยโรคนี้ประมาณ 10 เท่า และผู้ที่สูบ
วันละ 2 ซองจะตายประมาณ 20 เท่าของผู้ที่ไม่สูบเลย
2.2 โรคมะเร็งของกล่องเสียง ลาคอ และช่องปาก เกิดจากการระคายเคืองของ
สารพิษคาร์ซิโน เจน ที่อยู่ในควันบุหรี่
2.3 โรคมะเร็งของกระเพาะปัสสาวะ เกิดจากสารพิษคาร์ซิโนเจนบางชนิดที่ถูกขับ
ออกทางปัสสาวะ เช่น บีต้าแนพธีลามีน และอื่น ๆ
3.โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรังและถุงลมของปอดโป่งพอง
เป็นโรคเรื้อรังที่ทาให้มีอาการไอ หอบ เหนื่อยอยู่เกือบตลอดเวลา การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุสาคัญ
อย่างหนึ่งที่ทาให้เกิดโรคนี้การอักเสบเกิดขึ้นจากการระคายเคืองของควันบุหรี่และสารพิษ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งน้ามันดิน จะไปจับตามขนอ่อนของเซลล์ที่บุท่อทางเดินหายใจแล้วทาให้เสียหน้าที่ไป ไม่
สามารถพัดโบกสิ่งสกปรกและเสมหะออกเพื่อทาความสะอาดหลอดลมได้
4. โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารเป็นโรคเรื้อรังที่พบในผู้สูบบุหรี่มากกว่าในผู้ที่ไม่สูบบุหรี่สารนิโคตินจะ
ทาให้ตับและตับอ่อนหลั่งน้าหลั่งพวกด่าง (ไบคาร์บอเนต) ที่จะส่งไปยังกระเพาะอาหาร
น้อยลง ดังนั้น จึงไปทาปฏิกิริยากับกรด (กรดเกลือ) ในกระเพาะอาหารให้เป้นกลางได้
น้อย เมื่อมีกรดเหลืออยู่มากจึงย่อยผนังของกระเพาะอาหารจนเป็นแผล
5. ผลเสียต่อการตั้งครรภ์และทารก
หญิงที่สูบบุหรี่จะทาให้เกิดผลเสียต่อการตั้งครรภ์และทารกที่คลอด เปรียบเทียบกับของ
หญิงที่ไม่สูบบุหรี่ ดังนี้
5.1 แท้งได้ง่ายกว่า
5.2 ทารกเกิดไร้ชีพ (หรือตายในท้อง) มากกว่า
5.3 ทารกเกิดใหม่ตายได้ง่ายกว่า
5.4 น้าหนักเฉลี่ยของทารกต่ากว่า
6. ผลเสียอื่นๆ
6.1 การสูบบุหรี่ ทาให้ตาแห้ง ตามัว ริมฝีปากเขียว ปลายนิ้วมือและเล็บที่ใช้คีบบุหรี่และฟัน
เป็นคราบสีเหลือง คอแห้ง เสียงแหบ ลมหายใจมีกลิ่นเหม็น และอาจทาให้การได้กลิ่นรับรู้รส
เสียไป
6.2 การสูบบุหรี่อาจทางชักนาไปสู่การเสพสิ่งเสพย์ติดอื่นๆ เช่น กัญชา หรือผงขาว ได้
6.3 การเริ่มลองสูบใหม่ๆ สารนิโคตินจะกระตุ้นสมองและกระเพาะอาหารลาไส้ให้บีบตัว ทาให้
คลื่นไส้ อาเจียน หรือปวดถ่ายอุจจาระได้
บรรณานุกรม
1. พัน พัน. (13 5 2556). เรียกใช้เมื่อ 22 1 2016 จาก slideshare:
http://www.slideshare.net/Songsak1/ss-17353486
(นันตา, 2013)
2. นางสาว ปัญจรัตน์ นุ้ย นันตา. (4 2 2013). เรียกใช้เมื่อ 22 1 2016
จาก gotoknow: https://www.gotoknow.org/posts/144312
จัดทาโดย
นางสาว ณัฐิกา แปงสุตา ม.6/3 เลขที่31
นางสาว ปฐมกาญจน์ คนดี ม.6/3 เลขที่37

More Related Content

Similar to บุหรี่

บุหรี่
บุหรี่บุหรี่
บุหรี่
thomkarn
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
a_150618_211821.ppt
a_150618_211821.ppta_150618_211821.ppt
a_150618_211821.ppt
DanuchaSit
 
รณรงค์เลิกบุหรี่
รณรงค์เลิกบุหรี่รณรงค์เลิกบุหรี่
รณรงค์เลิกบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
การทบทวนวรรณกรรม บุหรี่
การทบทวนวรรณกรรม บุหรี่การทบทวนวรรณกรรม บุหรี่
การทบทวนวรรณกรรม บุหรี่
zaii Pharma
 
การรณรงค์ให้งดบุหรี่
การรณรงค์ให้งดบุหรี่การรณรงค์ให้งดบุหรี่
การรณรงค์ให้งดบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
071พิษภัยของบุหรี่และวิธีเลิกสูบ
071พิษภัยของบุหรี่และวิธีเลิกสูบ071พิษภัยของบุหรี่และวิธีเลิกสูบ
071พิษภัยของบุหรี่และวิธีเลิกสูบ
niralai
 
บุหรี่ก่อโรค
บุหรี่ก่อโรคบุหรี่ก่อโรค
บุหรี่ก่อโรค
Nutthakorn Chaiya
 
งดบุหรี่สุราสารเสพติด
งดบุหรี่สุราสารเสพติดงดบุหรี่สุราสารเสพติด
งดบุหรี่สุราสารเสพติด
supattra90
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 
นางสาว ศิริรักษ์ เรืองศักดิ์
นางสาว ศิริรักษ์  เรืองศักดิ์นางสาว ศิริรักษ์  เรืองศักดิ์
นางสาว ศิริรักษ์ เรืองศักดิ์sirirak Ruangsak
 
Smoking cessation1
Smoking cessation1Smoking cessation1
Smoking cessation1
Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to บุหรี่ (14)

บุหรี่
บุหรี่บุหรี่
บุหรี่
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
a_150618_211821.ppt
a_150618_211821.ppta_150618_211821.ppt
a_150618_211821.ppt
 
รณรงค์เลิกบุหรี่
รณรงค์เลิกบุหรี่รณรงค์เลิกบุหรี่
รณรงค์เลิกบุหรี่
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
การทบทวนวรรณกรรม บุหรี่
การทบทวนวรรณกรรม บุหรี่การทบทวนวรรณกรรม บุหรี่
การทบทวนวรรณกรรม บุหรี่
 
การรณรงค์ให้งดบุหรี่
การรณรงค์ให้งดบุหรี่การรณรงค์ให้งดบุหรี่
การรณรงค์ให้งดบุหรี่
 
071พิษภัยของบุหรี่และวิธีเลิกสูบ
071พิษภัยของบุหรี่และวิธีเลิกสูบ071พิษภัยของบุหรี่และวิธีเลิกสูบ
071พิษภัยของบุหรี่และวิธีเลิกสูบ
 
บุหรี่ก่อโรค
บุหรี่ก่อโรคบุหรี่ก่อโรค
บุหรี่ก่อโรค
 
งดบุหรี่สุราสารเสพติด
งดบุหรี่สุราสารเสพติดงดบุหรี่สุราสารเสพติด
งดบุหรี่สุราสารเสพติด
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 
นางสาว ศิริรักษ์ เรืองศักดิ์
นางสาว ศิริรักษ์  เรืองศักดิ์นางสาว ศิริรักษ์  เรืองศักดิ์
นางสาว ศิริรักษ์ เรืองศักดิ์
 
Smoking cessation1
Smoking cessation1Smoking cessation1
Smoking cessation1
 

บุหรี่