SlideShare a Scribd company logo
ที่มาเนื่องจากในสังคมปัจจุบันการสูบบุหรี่เริ่มเข้ามามีบทบาทในสังคมไทยมากขึ้นเห็นได้ในวัยรุ่นไทยเริ่มมีการสูบ
บุหรี่มากขึ้นนั่นเป็นการแสดงว่าสังคมไทยเริ่มมีการถดถอยลงในด้านการป้องกัน รณรงค์ ต่อต้าน และชี้ให้เยาวชน
ประชากร เห็นถึงโทษของการสูบบุหรี่ ซึ่งบางทีสาเหตุที่ทาให้จานวนผู้สูบบุหรี่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในแต่ละปี อาจจะ
มาจากหลากหลายสาเหตุ เช่น ความอยากรู้อยากลอง ตามกระแสสังคม ตามเพื่อน และประเด็นหลักอาจจะมาจาก
สังคมรอบข้างคือ พ่อ แม่ ผู้ปกครอง และสภาพแวดล้อมของตัวผู้สูบอีกด้วย นอกจากนี้เรายังพบเจอกับผู้สูบได้ตามที่
สาธารณะเป็นส่วนใหญ่นั่นก็เป็นปัญหาอีกเช่นกันเพราะผู้สูบไม่รู้หรือไม่ใส่ใจถึงปัญหาในการสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ
ว่าควันบุหรี่ที่ผู้สูบสูบไปนอกจากจะทาร้ายตัวของผู้สูบเองแล้วยังทาร้ายคนรอบข้างที่สูบดมเข้าไปทาให้เกิดโรคต่างๆ
ตามมาทั้งผู้สูบเองและผู้ที่ได้รับควันบุหรี่โดยไม่เจตนา ดังนั้นโทษของบุหรี่จึงมีมากมายจนนับไม่ถ้วนและมีผลจนทาให้
ถึงแก่ชีวิต จากตัวเลขการเสียชีวิตด้วยการสูบบุหรี่จะเห็นได้ว่าอัตราการเสียชีวิตสูงขึ้นทุกๆปี เราเห็นถึงความสาคัญ
ของปัญหาเหล่านี้ จึงจัดทาโครงงานนี้
ถัดไปกลับ
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรคที่เกิดจากบุหรี่
2. เพื่อชี้ให้เห็นผลกระทบที่จะตามมาในด้านลบ
3. เพื่อชี้ให้เห็นโทษอันร้ายแรงชองบุหรี่
4. เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่
กลับ ถัดไป
ความหมายของบุหรี่
บุหรี่ มีลักษณะเป็นทรงกระบอกม้วนห่อด้วยกระดาษ ขนาดปกติจะมีความยาวสั้นกว่า 120 มิลลิเมตร และ
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 10 มิลลิเมตร) มีใบยาสูบบดหรือซอยบรรจุภายในห่อกระดาษ ปลายด้านหนึ่ง
เป็นปลายเปิดสาหรับจุดไฟ และอีกด้านหนึ่งจะมีตัวกรอง ไว้สาหรับใช้ปากสูดควัน คานี้ปกติจะใช้หมายถึง
เฉพาะที่บรรจุใบยาสูบภายใน แต่ในบางครั้งก็อาจใช้หมายถึงมวนกระดาษที่บรรจุสมุนไพรอื่น ๆ เช่น กัญชา
บุหรี่ ต่างจาก ซิการ์ (en:cigar) ตรงที่บุหรี่นั้นมีขนาดเล็กว่า และใบยาสูบนั้นจะมีการบดหรือซอย รวมทั้ง
กระดาษที่ห่อ ซิการ์โดยปกติจะใช้ใบยาสูบทั้งใบ ซิการ์ชนิดที่มีขนาดเล็กพิเศษเท่าบุหรี่ เรียกว่า ซิการ์ริลโล
(en:cigarillo) บุหรี่เป็นที่รู้จักในกลุ่มคนที่ใช้ภาษาอังกฤษตั้งแต่ก่อนสงครามแห่งครายเมีย เมื่อทหารแห่ง
จักรวรรดิอังกฤษ เริ่มเลียนแบบการใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ห่อใบยาสูบ จากทหารตุรกีแห่งอาณาจักรออตโต
มัน
กลับ ถัดไป
กลับ ถัดไป
ส่วนประกอบของบุหรี่
1. นิโคติน เป็นสารที่ทาให้คนติดบุหรี่ ออกฤทธิ์โดยตรงต่อสมองทั้งเป็นตัวกระตุ้นและกด
ประสาทส่วนกลาง ถ้าได้รับสารนี้ขนาดน้อยๆ เช่นการสูบบุหรี่ 1-2 มวนแรก อาจจะ
กระตุ้นให้ร่างกายกระปรี้กระเปร่า แต่ถ้าสูบมากหลายมวนก็จะกดประสาทส่วนกลาง
ทาให้ความรู้สึกต่างๆช้าลง ร้อยละ 95ของนิโคตินจะไปจับอยู่ที่ปอด บางส่วนจับอยู่ที่
เยื่อหุ้มริมฝีปาก และบางส่วนถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือดมีผลโดยตรงต่อหมวกไต
ก่อให้เกิดการหลั่งฮอร์โมนอิฟิเนฟริน [epinephrine] ทาให้ความดันโลหิตสูงขึ้น หัว
ใจเต้นเร็วกว่าปกติและไม่เป็นจังหวะ หลอดเลือดที่แขนและขาหดตัว เพิ่มไขมันในเส้น
เลือด บุหรี่หนึ่งมวนจะมีนิโคติน 0.8-1.8 มิลิกรัม(ค่ามาตรฐานกาหนดไว้ 1 มิลิกรัม)
และสาหรับบุหรี่ก้นกรองก็ไม่ได้ทาให้ปริมาณนิโคตินลดลง
กลับ ถัดไป
2. ทาร์ หรือน้ามันดินประกอบด้วยสารหลายชนิด เกาะกันเป็นสีน้าตาล เป็นสาร
ก่อให้เกิดมะเร็งได้ เช่นมะเร็งปอด กล่องเสียง หลอดลม หลอดอาหาร ไต กระเพาะ
ปัสสาวะ และอื่นๆ ซึ่งร้อยละ 50 ของทาร์จะไปจับที่ปอด ทาให้เกิดระคายเคืองอันเป็น
สาเหตุของการไอเรื้อรังมีเสมหะ ในคนที่สูบบุหรี่วันละซองจะรับน้ามันทาร์เข้าไปประมาณ 30
มิลิกรัม/มวน หรือ110กรัม/ปี บุหรี่ไทยมีสารทาร์อยู่ระหว่าง 12-24 มิลิกรัม/มวน
3. คาร์บอนมอนอกไซด์ เป็นก๊าซที่ทาลายคุณสมบัติในการเป็นพาหะนาออกซิเจนของ
เม็ดเลือดแดง ทาให้เม็ดเลือดแดงไม่สามารถจับออกซิเจนได้เท่าเวลาปกติ เกิดการขาด
ออกซิเจน ทาให้มึนงง ตัดสินใจช้า เหนื่อยง่าย ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคหัวใจ
กลับ ถัดไป
4.
ไฮโดรเจนไซยาไนด์ เป็นก๊าซพิษที่ทาลายเยื่อบุผิวหลอดลมส่วนต้น ทาให้ มีอาการ
ไอเรื้อรัง มีเสมหะเป็นประจาโดยเฉพาะในตอนเช้าจะมีมากขึ้น
5. ไนโตรเจนไดออกไซด์ เป็นก๊าซพิษที่ทาลายเยื่อบุหลอดลมส่วนปลาย และถุงลม
ทาให้ผนังถุงลมบางโป่งพอง ถุงลมเล็กๆหลายอันแตกรวมกันรวมกันเป็นถุงลมใหญ่ ทาให้
มีถุงลมจานวนน้อย การยืดหยุ่นในการหายใจเข้าออกน้อยลง ทาให้เกิดโรคถุงลมโป่งพอง
6. แอมโมเนีย มีฤทธิ์ระคายเคืองเนื้อเยื่อ ทาให้แสบตา แสบจมูก หลอดลมอักเสบ
ไอและมีเสมหะมาก
กลับ ถัดไป
7. สารกัมมันตรังสี ควันบุหรี่มีสารโพโลเนียม 210ที่มีรังสีอัลฟาอยู่เป็น
สาเหตุการเกิดโรคมะเร็งปอด และควันบุหรี่ยังเป็นพาหะร้ายแรงใน
การนาสารกัมมันตรังสี ทาให้ผู้ที่อยู่รอบข้างที่ไม่สูบุหรี่หายใจเอา
อากาศที่มีสารพิษนี้เข้าไปด้วย
กลับ ถัดไป
โทษภัยจากการสูบบุหรี่
มีโอกาสตาบอดถาวร
ฟังดูอาจจะสงสัย แต่ขอบอกว่า การสูบบุหรี่มีโอกาสทาให้ตาบอดได้จริง เพราะผู้สูบบุหรี่จะ
เป็นต้อกระจกได้เร็วกว่าคนทั่วไป เนื่องจากสารพิษจะเร่งให้เลนส์ตาที่อยู่ข้างในลูกตาขุ่นมัว
และเริ่มขุ่นมากขึ้นเรื่อย ๆ ตามระยะเวลาที่สูบ จนเกิดเป็นภาวะต้อกระจก หากไม่ผ่าตัด
เปลี่ยนเลนส์ก็จะตาบอด
นอกจากนี้ การสูบบุหรี่ยังก่อให้เกิดภาวะหลอดเลือดเลี้ยงจอเรตินาหรือจอประสาทตาตีบ
ตันได้ ซึ่งจะส่งผลให้เซลล์ประสาทของจอประสาทตาขาดเลือดและตายไป ทาให้ตาบอด
ถาวร ไม่สามารถรับภาพหรือแสงได้
กลับ ถัดไป
หลอดเลือดสมองตีบ-แตก-ตัน
สารพิษอันน่ากลัวในควันบุหรี่จะทาให้เกิดภาวะหลอดเลือดตีบ แตก ตัน ซึ่ง
ถ้าเกิดขึ้นกับหลอดเลือดส่วนที่ไปเลี้ยงสมอง ก็จะทาให้เป็นโรคสมองเสื่อม โดยมีงานวิจัย
จากสถาบันอุดมศึกษาในลอนดอน ที่เคยลงตีพิมพ์ในเว็บไซต์เอบีซีนิวส์ ระบุว่า คนที่สูบ
บุหรี่จัดอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะในเพศชาย ประสิทธิภาพของสมองจะเสื่อมเร็วกว่าผู้คนที่
ไม่สูบบุหรี่ และจะมีระดับการทางานของสมองเทียบเท่ากับคนที่แก่กว่า 10 ปี หรือ
อธิบายได้อย่างง่าย ๆ ว่า หากคุณอายุ 50 ปี และสูบบุหรี่ ประสิทธิภาพการทางาน
ของสมองของคุณจะเทียบเท่ากับคนอายุ 60 ปีที่ไม่สูบบุหรี่นั่นเอง
กลับ ถัดไป
โรคหัวใจและหลอดเลือด
บุหรี่จะทาให้หลอดเลือดหัวใจหดตัว มีการจับตัวของไขมันที่ผนังหลอด
เลือด ส่งผลให้หลอดเลือดหัวใจตีบลง จนเกิดภาวะหัวใจขาดออกซิเจน
เส้นเลือดหัวใจตีบ เมื่อเลือดไปเลี้ยงหัวใจไม่ได้ จะเกิดอาการจุกเสียด
เจ็บหน้าอก โดยเฉพาะเวลาออกกาลังกาย มีโอกาสเกิดภาวะหัวใจวาย
เฉียบพลันจนเสียชีวิตได้โดยไม่รู้ตัว
กลับ ถัดไป
ระบบทางเดินหายใจ
ปอดคืออวัยวะหนึ่งที่ได้รับผลกระทบเต็ม ๆ จากการสูบบุหรี่ โดยจะทาให้เกิดอาการไอ
เรื้อรัง หายใจไม่สะดวก หลอดลมอักเสบ ปอดบวม โรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) เป็น
โรคถุงลมโป่งพอง ซึ่งหากปล่อยทิ้งไว้จนปอดส่วนใหญ่ถูกทาลาย อาจต้องใช้เครื่องออกซิเจนช่วย
หายใจตลอดเวลา
และที่ร้ายแรงที่สุดก็คือ "โรคมะเร็งปอด" ซึ่งเป็นโรคร้ายที่คร่าชีวิตคนไทยเป็นอันดับต้น ๆ และส่วน
ใหญ่แล้ว ผู้ป่วยมะเร็งปอดร้อยละ 90 มีสาเหตุมาจากการสูบบุหรี่นี่เอง อาการเริ่มต้นจากอาการไอ
แห้ง ๆ เป็นเวลานานตามมาด้วยอาการไอเรื้อรัง แต่ในบางคนอาจไม่พบอาการไอเลย มารู้ตัวอีกทีก็
ตรวจพบมะเร็งในระยะลุกลามแล้ว ซึ่งผู้ป่วยร้อยละ 90 จะเสียชีวิตใน 1-2 ปีหลังจากเป็นโรค
กลับ ถัดไป
โรคเกี่ยวกับกระดูกและกล้ามเนื้อ
ผู้สูบบุหรี่จัด ๆ เสี่ยงต่อโรคกระดูกพุรนด้วย เพราะสารพิษในบุหรี่
โดยเฉพาะ "นิโคติน" จะไปขัดขวางเลือดที่ส่งไปเลี้ยงกระดูก และยังลด
การดูดซึมแคลเซียม สิงห์อมควันจึงมีกระดูกเปราะ หักง่าย อีกทั้งยังมี
อาการอักเสบของข้อ เอ็นกล้ามเนื้ออาจฉีกขาดได้ง่าย ซึ่งถ้าเป็นแล้วจะ
รักษาได้ยากกว่าคนทั่วไป และแผลก็จะหายช้าด้วย
กลับ ถัดไป
โรคระบบทางเดินอาหาร
การสูบบุหรี่ทาให้ติดเชื้อ Helicobacter pylori ได้ง่าย ซึ่งเชื้อนี้เป็น
สาเหตุของโรคกระเพาะอาหาร ผู้ที่สูบบุหรี่เป็นประจาจะมีโอกาสเกิดแผลใน
กระเพาะอาหารและลาไส้เล็กส่วนต้นง่ายกว่าคนที่ไม่สูบบุหรี่ เพราะสารเคมี
ในควันบุหรี่จะไปกระตุ้นให้กระเพาะอาหารหลั่งน้าย่อยออกมามากกว่าปกติ
และแผลก็หายยากด้วย
นอกจากนี้ การสูบบุหรี่ยังเป็นสาเหตุสาคัญของโรคมะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งช่องปากและหลอดอาหาร ยิ่งถ้าผู้สูบบุหรี่ดื่มแอลกอฮอล์ด้วยแล้ว ก็ยิ่ง
มีโอกาสเสี่ยงโรคมะเร็งเหล่านี้สูงขึ้นไปอีก
กลับ ถัดไป
โรคระบบทางเดินปัสสาวะ
นิโคตินในบุหรี่จะไปทาลายกล้ามเนื้อที่ควบคุมการทางานของกระเพาะ
ปัสสาวะ ทาให้กล้ามเนื้อส่วนนี้อ่อนตัวลง ผู้สูบบุหรี่จึงมีโอกาสกลั้น
ปัสสาวะไม่อยู่ และที่ร้ายแรงกว่านั้นก็คือ คนที่สูบบุหรี่มีโอกาสเป็น
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะเพิ่มขึ้น เพราะสารพิษสามารถดูดซึมเข้ากระแส
เลือดและขับถ่ายออกทางกระเพาะปัสสาวะได้ การสูบบุหรี่จึงทาให้เยื่อบุ
กระเพาะปัสสาวะสัมผัสกับสารก่อมะเร็งโดยตรง
กลับ ถัดไป
เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
สารพิษจากบุหรี่จะไปทาให้เส้นเลือดในร่างกายอุดตัน รวมทั้งเส้นเลือด
ขนาดเล็กที่ไปเลี้ยงประสาทที่เกี่ยวกับการควบคุมการแข็งตัวของอวัยวะ
เพศชาย นอกจากนี้ ยังพบว่าผู้ที่สูบบุหรี่จะมีจานวนอสุจิน้อยกว่าผู้ที่ไม่
สูบบุหรี่ด้วย สิงห์อมควันทั้งหลายจึงเผชิญปัญหาเสื่อมสมรรถภาพทาง
เพศ
กลับ ถัดไป
หญิงตั้งครรภ์เสี่ยงแท้ง-ลูกในครรภ์เสี่ยงตาย
หญิงตั้งครรภ์เป็นคนที่ต้องใส่ใจดูแลสุขภาพตัวเองให้ดีที่สุด แต่หากเป็นที่สูบบุหรี่อยู่ก่อน
แล้ว และแม้ตั้งครรภ์แล้วก็ยังเลิกสูบไม่ได้ จะเป็นอันตรายต่อตัวเองและลูกในครรภ์เป็นอย่างมาก เพราะ
คุณแม่ตั้งครรภ์จะเสี่ยงเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น รกเกาะต่า รกลอกตัวก่อนกาหนด ทารกคลอดก่อน
กาหนด มีโอกาสเสี่ยงแท้งบุตรเพิ่มขึ้นถึง 2 เท่า หรือหากยังไม่ตั้งครรภ์ ผู้หญิงก็จะเผชิญภาวะมีบุตรยาก
ส่วนเด็กในครรภ์เมื่อคลอดออกมาแล้วจะมีน้าหนักน้อย พัฒนาการไม่สมบูรณ์ เพราะเติบโต
ช้าตั้งแต่ในครรภ์ มีโอกาสเสียชีวิตในขณะแรกคลอดสูงขึ้นมาก เพราะพิษจากบุหรี่สามารถถ่ายทอดจาก
กระแสเลือดของแม่ผ่านทางรกมายังทารกได้โดยตรง นอกจากนี้ หากเด็กกินนมแม่ เด็กจะได้รับสาร
นิโคตินจากนมแม่ด้วย และถ้ายังได้รับควันบุหรี่อยู่อย่างต่อเนื่อง เด็กจะมีโอกาสเกิดการติดเชื้อในระบบ
ทางเดินหายใจและภาวะติดเชื้อในหูบ่อยขึ้น มีโอกาสเป็นโรคหอบหืดและโรคภูมิแพ้มากขึ้นอย่างชัดเจน
กลับ ถัดไป
สารพัดโรคมะเร็ง
นอกจากโรคมะเร็งปอดที่ผู้สูบบุหรี่มีโอกาสเสี่ยงสูงมาก ๆ แล้ว
สิงห์อมควันทั้งหลายยังอาจจะได้รับของแถมเป็นโรคมะเร็งอวัยวะส่วนอื่น ๆ
อีกเพียบ ทั้งมะเร็งช่องปาก มะเร็งโพรงจมูก มะเร็งลาคอและกล่องเสียง
มะเร็งหลอดลม มะเร็งหลอดอาหาร มะเร็งกระเพาะอาหาร มะเร็งตับอ่อน
มะเร็งตับ มะเร็งไต มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ มะเร็งลาไส้ใหญ่ มะเร็งทวาร
หนัก มะเร็งต่อมลูกหมาก มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน
กลับ ถัดไป
อาการทางร่างกายอื่น ๆ
นอกจากสารพัดโรคร้ายแล้ว บุหรี่ยังส่งผลต่อทุกระบบในร่างกายตั้งแต่หัวจรด
เท้า ผู้ที่สูบบุหรี่จะมีลักษณะหัวล้าน ผมหงอกเร็ว ใบหน้าเหี่ยวย่น ดูแก่เร็ว กลิ่นตัวเหม็น มี
กลิ่นปาก ฟันผุ ฟันดา เสียวฟันง่าย มีคราบบุหรี่ติดเหงือกและฟัน เหงื่อร่น เป็นโรคเหงือก
อักเสบร่วมด้วย เหนื่อยง่าย หอบง่าย เล็บเหลือง นิ้วเหลือง ท้องอืดแน่น เบื่ออาหาร
นอกจากนี้ หากเป็นแผลจะหายช้าด้วย เนื่องจากสารนิโคตินที่ร่างกายได้รับเข้า
ไปอยู่ในกระแสเลือด มีผลทาให้ออกซิเจนในเลือดต่าลง ส่งผลให้บาดแผลต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
ต้องใช้ระยะเวลารักษานาน รวมถึงบาดแผลจะมีขนาดใหญ่ขึ้นและแดงกว่าปกติ
กลับ ถัดไป
กลับ ถัดไป
ผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
บุหรี่เป็นสิ่งเสพติดที่ถูกกฎหมาย สามารถหาซื้อได้ง่ายตามท้องตลาด มีราคาถูกกว่าสิ่งเสพติดชนิดอื่นๆ เมื่อมี
การติดบุหรี่แล้ว มักจะเป็นหนทางที่นาไปสู่การทดลองใช้สิ่งเสพติดชนิดอื่นตามมา มีผลการวิจัยพบว่า ร้อยละ
95 วัยรุ่นที่ติดโคเคนและเฮโรอีน ร้อยละ 75 ของวัยรุ่นที่ติดฝิ่นและกัญชา และร้อยละ 62 ของวัยรุ่นที่ติด
เหล้าจะเริ่มจากสูบบุหรี่ก่อน ดั้งนั้นจะเห็นได้ว่าการสูบบุหรี่ในวัยรุ่นจะสามารถนาไปสู่ปัญหาเรื่องยาเสพติด
ชนิดต่างๆ ซึ่งจะสร้างปัญหาต่อสังคมตามมาเป็นอันมาก การสูบบุหรี่ของพ่อแม่ หรือผู้นาในสังคม เช่น ครู
ดารา นักการเมือง บุคลากรสาธารณสุข และพระภิกษุ เป็นปัจจัยหนึ่งที่สาคัญทาให้เยาวชนเกิดการ
เลียนแบบพฤติกรรมการสูบบุหรี่ พบว่าเด็กที่มาจากครอบครัวที่มีพ่อแม่หรือบุคคลในครอบครัวสูบบุหรี่ให้เห็น
เป็นตัวอย่าง จะมีแนวโน้มในการสูบบุหรี่มากกว่าเด็กที่มาจากครอบครัวที่ไม่สูบบุหรี่ การสูบบุหรี่ทาให้เสีย
บุคลิกภาพและเป็นที่รังเกียจของคนในสังคม เพราะผู้ที่สูบบุหรี่จะมีกลิ่นปากและกลิ่นตัว มีริมฝีปากดาคล้า มี
คราบเหลืองติดที่ฟันและนิ้วมือ และมีการไอบ่อยครั้ง เป็นต้น การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุหนึ่งที่สาคัญของการ
เสียชีวิตก่อนวัยอันควร
กลับ ถัดไป
ซึ่งเป็นการสูญเสียบุคลากรที่สามารถทาคุณประโยชน์ให้กับสังคมและ
ประเทศชาติ การสูบบุหรี่นอกจากจะส่งผลเสียต่อสุขภาพ เศรษฐกิจและสังคมแล้วยังสร้าง
ความเสียหายให้กับสิ่งแวดล้อมด้วย เนื่องจากการปลูกใบยาสูบจะต้องมีการใช้สารเคมีใน
การฆ่าวัชพืชและแมลง ทาให้เพิ่มสารพิษตกค้างอยู่ในสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะเป็นผลเสียต่อ
สุขภาพของเกษตรกรและผู้ที่สูบบุหรี่ อีกทั้งควันจากบุหรี่ยังมีส่วนทาให้เพิ่มก๊าซพิษให้กับ
สิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณสถานที่แออัด และในห้องที่มีการใช้
เครื่องปรับอากาศ การสูบบุหรี่ทาให้บ้านเมืองสกปรกไม่น่าดู เนื่องมาจากการทิ้งก้นบุหรี่
ไม่เป็นที่ ถ้าผู้สูบบุหรี่ขาดความระมัดระวังในการทิ้งบุหรี่ ก็จะเป็นสาเหตุหนึ่งที่นาไปสู่การ
เกิดไฟไหม้ในอาคารบ้านเรือน และการเกิดไฟป่า ซึ่งจะสร้างความสูญเสียต่อชีวิตและ
ทรัพย์สินของตนเองและผู้อื่น รวมทั้งทรัพยากรธรรมชาติ ดังนั้นการสูบบุหรี่มิได้ส่งผลเสีย
ให้กับผู้สูบเท่านั้น แต่ยังส่งผลกระทบไปสู่สังคมและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งประเทศชาติ
กลับ ถัดไป
ปัจจัยที่ส่งเสริมให้มีการเริ่มสูบบุหรี่
ความอยากลอง
เยาวชนที่สูบบุหรี่ร้อยละ 38.4 เริ่มสูบบุหรี่เพราะความอยากลองซึ่งเป็นธรรมชาติของ
วัยรุ่นที่ความอยากลองเป็นเรื่องที่ท้าทาย น่าตื่นเต้นและสนุกสนาน ถึงแม้จะทราบว่าเป็นสิ่งที่ไม่
ดีต่อสุขภาพก็ตาม
ตามเพื่อน
เยาวชนที่สูบบุหรี่ร้อยละ 35.8 เริ่มสูบบุหรี่เพราะเพื่อนชวน บางคนมีเจตคติที่ว่า ถ้า
ไม่สูบจะเข้ากับเพื่อนไม่ได้ เพื่อนจะไม่ยอมรับเข้ากลุ่ม เละหลายคนไม่เลิกสูบบุหรี่เพราะกลัว
เพื่อนจะล้อเลียน และไม่ให้เข้ากลุ่ม
กลับ ถัดไป
ตามอย่างคนในบ้าน
เมื่อมีคนในบ้าน เช่นพ่อแม่ พี่น้อง สูบบุหรี่ เด็กจะคิดว่าการสูบบุหรี่เป็นเรื่อธรรมดา หรือวัยรุ่น
หลายคนจะลองสูบตามบ้างและคิดว่าแสดงออกถึงความเป็นผู้ใหญ่ ความเป็นชาย
เพื่อเขาสังคม
บางคนต้องสูบบุหรี่เพราะหน้าที่การงานที่ต้องเข้าสังคม งานเลี้ยงสังสรรค์หรืองานเลี้ยงรับรอง ซึ่งมีผู้
สูบในสังคมนั้นๆเชิญชวนให้สูบ
ความเครียด
สารนิโคติน ในควันบุหรี่เมื่อเข้าสู่สมองภายในเวลา 8-10 วินาที ซึ่งออกฤทธิ์ ทาให้เส้นเลือดแดง
หดตัว ความดันโลหิตสูงขึ้น หายใจเร็วขึ้น และกระตุ้นสมองส่วนกลาง ทาให้รู้สึกผ่อนคลายในระยะต้น หลาย
คนจึงสูบบุหรี่ด้วยเหตุผลเพื่อคลายความเครียด แต่เมื่อปริมาณนิโคตินในสมองลดลง จะทาให้เกิดอาการ
หงุดหงิด และเครียดได้ในเวลาต่อ
กลับ ถัดไป
แนวทางการแก้ไขปัญหา
ให้ความรัก ความอบอุ่น ดูแลเอาใจใส่บุตรหลานและสร้างความสามัคคีในครอบครัว ตลอดจนเป็นที่ปรึกษาเมื่อบุตร
หลานมีปัญหา
- ศึกษาให้เข้าถึงพัฒนาการและปัญหาของบุตรหลานมีจิตวิทยาในการดูแลช่วยเหลือบุตรหลานรวมทั้งอบรมเลี้ยง
ดูบุตรหลาน
- ให้ความร่วมมือกับทางโรงเรียนในการพัฒนาส่งเสริมบุตรหลานทั้งในด้านการเรียน การอาชีพ และชีวิตสังคม
- ควรประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่บุตรหลาน
- อบรบเลี้ยงดูบุตรหลานสามารถที่จะเผชิญความจริงในชีวิตได้
- สังเกตและติดตามพฤติกรรมของบุตรหลานอยู่เสมอเกี่ยวกับการคบเพื่อนที่ดื่มแอลกอฮอล์และสูบบุหรี่ และรีบให้
ความดูแลช่วยเหลือ
กลับ ถัดไป
บรรณานุกรม
www.siamhealth.net
www.health.kapook.com
www.srinagarind-hph.kku.ac.th
www.srbr.in.th
www.kanchanapisek.or.th
www.th49.ilovetranslation.com
www.youtube.com/watch?v=TzFrZjhqDX4
www.youtube.com/watch?v=4QNB7WF3DiU
กลับ ถัดไป
ผู้จัดทา
นางสาว จุฑามาศ เก๊างิ้ว
ชั้น ม.6/11 เลขที่ 1
กลับ ถัดไป
นาย ณัฐกร ชัยยะ
ชั้น ม.6/11 เลขที่ 16
กลับ ถัดไป

More Related Content

More from Nutthakorn Chaiya

บุหรี่ก่อโรค
บุหรี่ก่อโรคบุหรี่ก่อโรค
บุหรี่ก่อโรค
Nutthakorn Chaiya
 
โครงงานคมพิวเตอร์
โครงงานคมพิวเตอร์โครงงานคมพิวเตอร์
โครงงานคมพิวเตอร์Nutthakorn Chaiya
 
เพิ่มเติมจากใบงานที่ 1
เพิ่มเติมจากใบงานที่ 1เพิ่มเติมจากใบงานที่ 1
เพิ่มเติมจากใบงานที่ 1Nutthakorn Chaiya
 
เพิ่งเติมใบงานที่ 1
เพิ่งเติมใบงานที่ 1เพิ่งเติมใบงานที่ 1
เพิ่งเติมใบงานที่ 1Nutthakorn Chaiya
 
ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติNutthakorn Chaiya
 

More from Nutthakorn Chaiya (6)

บุหรี่ก่อโรค
บุหรี่ก่อโรคบุหรี่ก่อโรค
บุหรี่ก่อโรค
 
โครงงานคมพิวเตอร์
โครงงานคมพิวเตอร์โครงงานคมพิวเตอร์
โครงงานคมพิวเตอร์
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
เพิ่มเติมจากใบงานที่ 1
เพิ่มเติมจากใบงานที่ 1เพิ่มเติมจากใบงานที่ 1
เพิ่มเติมจากใบงานที่ 1
 
เพิ่งเติมใบงานที่ 1
เพิ่งเติมใบงานที่ 1เพิ่งเติมใบงานที่ 1
เพิ่งเติมใบงานที่ 1
 
ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
 

บุหรี่ก่อโรค

  • 1.
  • 2. ที่มาเนื่องจากในสังคมปัจจุบันการสูบบุหรี่เริ่มเข้ามามีบทบาทในสังคมไทยมากขึ้นเห็นได้ในวัยรุ่นไทยเริ่มมีการสูบ บุหรี่มากขึ้นนั่นเป็นการแสดงว่าสังคมไทยเริ่มมีการถดถอยลงในด้านการป้องกัน รณรงค์ ต่อต้าน และชี้ให้เยาวชน ประชากร เห็นถึงโทษของการสูบบุหรี่ ซึ่งบางทีสาเหตุที่ทาให้จานวนผู้สูบบุหรี่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในแต่ละปี อาจจะ มาจากหลากหลายสาเหตุ เช่น ความอยากรู้อยากลอง ตามกระแสสังคม ตามเพื่อน และประเด็นหลักอาจจะมาจาก สังคมรอบข้างคือ พ่อ แม่ ผู้ปกครอง และสภาพแวดล้อมของตัวผู้สูบอีกด้วย นอกจากนี้เรายังพบเจอกับผู้สูบได้ตามที่ สาธารณะเป็นส่วนใหญ่นั่นก็เป็นปัญหาอีกเช่นกันเพราะผู้สูบไม่รู้หรือไม่ใส่ใจถึงปัญหาในการสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ ว่าควันบุหรี่ที่ผู้สูบสูบไปนอกจากจะทาร้ายตัวของผู้สูบเองแล้วยังทาร้ายคนรอบข้างที่สูบดมเข้าไปทาให้เกิดโรคต่างๆ ตามมาทั้งผู้สูบเองและผู้ที่ได้รับควันบุหรี่โดยไม่เจตนา ดังนั้นโทษของบุหรี่จึงมีมากมายจนนับไม่ถ้วนและมีผลจนทาให้ ถึงแก่ชีวิต จากตัวเลขการเสียชีวิตด้วยการสูบบุหรี่จะเห็นได้ว่าอัตราการเสียชีวิตสูงขึ้นทุกๆปี เราเห็นถึงความสาคัญ ของปัญหาเหล่านี้ จึงจัดทาโครงงานนี้ ถัดไปกลับ
  • 3. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรคที่เกิดจากบุหรี่ 2. เพื่อชี้ให้เห็นผลกระทบที่จะตามมาในด้านลบ 3. เพื่อชี้ให้เห็นโทษอันร้ายแรงชองบุหรี่ 4. เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่ กลับ ถัดไป
  • 4. ความหมายของบุหรี่ บุหรี่ มีลักษณะเป็นทรงกระบอกม้วนห่อด้วยกระดาษ ขนาดปกติจะมีความยาวสั้นกว่า 120 มิลลิเมตร และ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 10 มิลลิเมตร) มีใบยาสูบบดหรือซอยบรรจุภายในห่อกระดาษ ปลายด้านหนึ่ง เป็นปลายเปิดสาหรับจุดไฟ และอีกด้านหนึ่งจะมีตัวกรอง ไว้สาหรับใช้ปากสูดควัน คานี้ปกติจะใช้หมายถึง เฉพาะที่บรรจุใบยาสูบภายใน แต่ในบางครั้งก็อาจใช้หมายถึงมวนกระดาษที่บรรจุสมุนไพรอื่น ๆ เช่น กัญชา บุหรี่ ต่างจาก ซิการ์ (en:cigar) ตรงที่บุหรี่นั้นมีขนาดเล็กว่า และใบยาสูบนั้นจะมีการบดหรือซอย รวมทั้ง กระดาษที่ห่อ ซิการ์โดยปกติจะใช้ใบยาสูบทั้งใบ ซิการ์ชนิดที่มีขนาดเล็กพิเศษเท่าบุหรี่ เรียกว่า ซิการ์ริลโล (en:cigarillo) บุหรี่เป็นที่รู้จักในกลุ่มคนที่ใช้ภาษาอังกฤษตั้งแต่ก่อนสงครามแห่งครายเมีย เมื่อทหารแห่ง จักรวรรดิอังกฤษ เริ่มเลียนแบบการใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ห่อใบยาสูบ จากทหารตุรกีแห่งอาณาจักรออตโต มัน กลับ ถัดไป
  • 6. ส่วนประกอบของบุหรี่ 1. นิโคติน เป็นสารที่ทาให้คนติดบุหรี่ ออกฤทธิ์โดยตรงต่อสมองทั้งเป็นตัวกระตุ้นและกด ประสาทส่วนกลาง ถ้าได้รับสารนี้ขนาดน้อยๆ เช่นการสูบบุหรี่ 1-2 มวนแรก อาจจะ กระตุ้นให้ร่างกายกระปรี้กระเปร่า แต่ถ้าสูบมากหลายมวนก็จะกดประสาทส่วนกลาง ทาให้ความรู้สึกต่างๆช้าลง ร้อยละ 95ของนิโคตินจะไปจับอยู่ที่ปอด บางส่วนจับอยู่ที่ เยื่อหุ้มริมฝีปาก และบางส่วนถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือดมีผลโดยตรงต่อหมวกไต ก่อให้เกิดการหลั่งฮอร์โมนอิฟิเนฟริน [epinephrine] ทาให้ความดันโลหิตสูงขึ้น หัว ใจเต้นเร็วกว่าปกติและไม่เป็นจังหวะ หลอดเลือดที่แขนและขาหดตัว เพิ่มไขมันในเส้น เลือด บุหรี่หนึ่งมวนจะมีนิโคติน 0.8-1.8 มิลิกรัม(ค่ามาตรฐานกาหนดไว้ 1 มิลิกรัม) และสาหรับบุหรี่ก้นกรองก็ไม่ได้ทาให้ปริมาณนิโคตินลดลง กลับ ถัดไป
  • 7. 2. ทาร์ หรือน้ามันดินประกอบด้วยสารหลายชนิด เกาะกันเป็นสีน้าตาล เป็นสาร ก่อให้เกิดมะเร็งได้ เช่นมะเร็งปอด กล่องเสียง หลอดลม หลอดอาหาร ไต กระเพาะ ปัสสาวะ และอื่นๆ ซึ่งร้อยละ 50 ของทาร์จะไปจับที่ปอด ทาให้เกิดระคายเคืองอันเป็น สาเหตุของการไอเรื้อรังมีเสมหะ ในคนที่สูบบุหรี่วันละซองจะรับน้ามันทาร์เข้าไปประมาณ 30 มิลิกรัม/มวน หรือ110กรัม/ปี บุหรี่ไทยมีสารทาร์อยู่ระหว่าง 12-24 มิลิกรัม/มวน 3. คาร์บอนมอนอกไซด์ เป็นก๊าซที่ทาลายคุณสมบัติในการเป็นพาหะนาออกซิเจนของ เม็ดเลือดแดง ทาให้เม็ดเลือดแดงไม่สามารถจับออกซิเจนได้เท่าเวลาปกติ เกิดการขาด ออกซิเจน ทาให้มึนงง ตัดสินใจช้า เหนื่อยง่าย ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคหัวใจ กลับ ถัดไป
  • 8. 4. ไฮโดรเจนไซยาไนด์ เป็นก๊าซพิษที่ทาลายเยื่อบุผิวหลอดลมส่วนต้น ทาให้ มีอาการ ไอเรื้อรัง มีเสมหะเป็นประจาโดยเฉพาะในตอนเช้าจะมีมากขึ้น 5. ไนโตรเจนไดออกไซด์ เป็นก๊าซพิษที่ทาลายเยื่อบุหลอดลมส่วนปลาย และถุงลม ทาให้ผนังถุงลมบางโป่งพอง ถุงลมเล็กๆหลายอันแตกรวมกันรวมกันเป็นถุงลมใหญ่ ทาให้ มีถุงลมจานวนน้อย การยืดหยุ่นในการหายใจเข้าออกน้อยลง ทาให้เกิดโรคถุงลมโป่งพอง 6. แอมโมเนีย มีฤทธิ์ระคายเคืองเนื้อเยื่อ ทาให้แสบตา แสบจมูก หลอดลมอักเสบ ไอและมีเสมหะมาก กลับ ถัดไป
  • 9. 7. สารกัมมันตรังสี ควันบุหรี่มีสารโพโลเนียม 210ที่มีรังสีอัลฟาอยู่เป็น สาเหตุการเกิดโรคมะเร็งปอด และควันบุหรี่ยังเป็นพาหะร้ายแรงใน การนาสารกัมมันตรังสี ทาให้ผู้ที่อยู่รอบข้างที่ไม่สูบุหรี่หายใจเอา อากาศที่มีสารพิษนี้เข้าไปด้วย กลับ ถัดไป
  • 10. โทษภัยจากการสูบบุหรี่ มีโอกาสตาบอดถาวร ฟังดูอาจจะสงสัย แต่ขอบอกว่า การสูบบุหรี่มีโอกาสทาให้ตาบอดได้จริง เพราะผู้สูบบุหรี่จะ เป็นต้อกระจกได้เร็วกว่าคนทั่วไป เนื่องจากสารพิษจะเร่งให้เลนส์ตาที่อยู่ข้างในลูกตาขุ่นมัว และเริ่มขุ่นมากขึ้นเรื่อย ๆ ตามระยะเวลาที่สูบ จนเกิดเป็นภาวะต้อกระจก หากไม่ผ่าตัด เปลี่ยนเลนส์ก็จะตาบอด นอกจากนี้ การสูบบุหรี่ยังก่อให้เกิดภาวะหลอดเลือดเลี้ยงจอเรตินาหรือจอประสาทตาตีบ ตันได้ ซึ่งจะส่งผลให้เซลล์ประสาทของจอประสาทตาขาดเลือดและตายไป ทาให้ตาบอด ถาวร ไม่สามารถรับภาพหรือแสงได้ กลับ ถัดไป
  • 11. หลอดเลือดสมองตีบ-แตก-ตัน สารพิษอันน่ากลัวในควันบุหรี่จะทาให้เกิดภาวะหลอดเลือดตีบ แตก ตัน ซึ่ง ถ้าเกิดขึ้นกับหลอดเลือดส่วนที่ไปเลี้ยงสมอง ก็จะทาให้เป็นโรคสมองเสื่อม โดยมีงานวิจัย จากสถาบันอุดมศึกษาในลอนดอน ที่เคยลงตีพิมพ์ในเว็บไซต์เอบีซีนิวส์ ระบุว่า คนที่สูบ บุหรี่จัดอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะในเพศชาย ประสิทธิภาพของสมองจะเสื่อมเร็วกว่าผู้คนที่ ไม่สูบบุหรี่ และจะมีระดับการทางานของสมองเทียบเท่ากับคนที่แก่กว่า 10 ปี หรือ อธิบายได้อย่างง่าย ๆ ว่า หากคุณอายุ 50 ปี และสูบบุหรี่ ประสิทธิภาพการทางาน ของสมองของคุณจะเทียบเท่ากับคนอายุ 60 ปีที่ไม่สูบบุหรี่นั่นเอง กลับ ถัดไป
  • 12. โรคหัวใจและหลอดเลือด บุหรี่จะทาให้หลอดเลือดหัวใจหดตัว มีการจับตัวของไขมันที่ผนังหลอด เลือด ส่งผลให้หลอดเลือดหัวใจตีบลง จนเกิดภาวะหัวใจขาดออกซิเจน เส้นเลือดหัวใจตีบ เมื่อเลือดไปเลี้ยงหัวใจไม่ได้ จะเกิดอาการจุกเสียด เจ็บหน้าอก โดยเฉพาะเวลาออกกาลังกาย มีโอกาสเกิดภาวะหัวใจวาย เฉียบพลันจนเสียชีวิตได้โดยไม่รู้ตัว กลับ ถัดไป
  • 13. ระบบทางเดินหายใจ ปอดคืออวัยวะหนึ่งที่ได้รับผลกระทบเต็ม ๆ จากการสูบบุหรี่ โดยจะทาให้เกิดอาการไอ เรื้อรัง หายใจไม่สะดวก หลอดลมอักเสบ ปอดบวม โรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) เป็น โรคถุงลมโป่งพอง ซึ่งหากปล่อยทิ้งไว้จนปอดส่วนใหญ่ถูกทาลาย อาจต้องใช้เครื่องออกซิเจนช่วย หายใจตลอดเวลา และที่ร้ายแรงที่สุดก็คือ "โรคมะเร็งปอด" ซึ่งเป็นโรคร้ายที่คร่าชีวิตคนไทยเป็นอันดับต้น ๆ และส่วน ใหญ่แล้ว ผู้ป่วยมะเร็งปอดร้อยละ 90 มีสาเหตุมาจากการสูบบุหรี่นี่เอง อาการเริ่มต้นจากอาการไอ แห้ง ๆ เป็นเวลานานตามมาด้วยอาการไอเรื้อรัง แต่ในบางคนอาจไม่พบอาการไอเลย มารู้ตัวอีกทีก็ ตรวจพบมะเร็งในระยะลุกลามแล้ว ซึ่งผู้ป่วยร้อยละ 90 จะเสียชีวิตใน 1-2 ปีหลังจากเป็นโรค กลับ ถัดไป
  • 14. โรคเกี่ยวกับกระดูกและกล้ามเนื้อ ผู้สูบบุหรี่จัด ๆ เสี่ยงต่อโรคกระดูกพุรนด้วย เพราะสารพิษในบุหรี่ โดยเฉพาะ "นิโคติน" จะไปขัดขวางเลือดที่ส่งไปเลี้ยงกระดูก และยังลด การดูดซึมแคลเซียม สิงห์อมควันจึงมีกระดูกเปราะ หักง่าย อีกทั้งยังมี อาการอักเสบของข้อ เอ็นกล้ามเนื้ออาจฉีกขาดได้ง่าย ซึ่งถ้าเป็นแล้วจะ รักษาได้ยากกว่าคนทั่วไป และแผลก็จะหายช้าด้วย กลับ ถัดไป
  • 15. โรคระบบทางเดินอาหาร การสูบบุหรี่ทาให้ติดเชื้อ Helicobacter pylori ได้ง่าย ซึ่งเชื้อนี้เป็น สาเหตุของโรคกระเพาะอาหาร ผู้ที่สูบบุหรี่เป็นประจาจะมีโอกาสเกิดแผลใน กระเพาะอาหารและลาไส้เล็กส่วนต้นง่ายกว่าคนที่ไม่สูบบุหรี่ เพราะสารเคมี ในควันบุหรี่จะไปกระตุ้นให้กระเพาะอาหารหลั่งน้าย่อยออกมามากกว่าปกติ และแผลก็หายยากด้วย นอกจากนี้ การสูบบุหรี่ยังเป็นสาเหตุสาคัญของโรคมะเร็งกล่องเสียง มะเร็งช่องปากและหลอดอาหาร ยิ่งถ้าผู้สูบบุหรี่ดื่มแอลกอฮอล์ด้วยแล้ว ก็ยิ่ง มีโอกาสเสี่ยงโรคมะเร็งเหล่านี้สูงขึ้นไปอีก กลับ ถัดไป
  • 16. โรคระบบทางเดินปัสสาวะ นิโคตินในบุหรี่จะไปทาลายกล้ามเนื้อที่ควบคุมการทางานของกระเพาะ ปัสสาวะ ทาให้กล้ามเนื้อส่วนนี้อ่อนตัวลง ผู้สูบบุหรี่จึงมีโอกาสกลั้น ปัสสาวะไม่อยู่ และที่ร้ายแรงกว่านั้นก็คือ คนที่สูบบุหรี่มีโอกาสเป็น มะเร็งกระเพาะปัสสาวะเพิ่มขึ้น เพราะสารพิษสามารถดูดซึมเข้ากระแส เลือดและขับถ่ายออกทางกระเพาะปัสสาวะได้ การสูบบุหรี่จึงทาให้เยื่อบุ กระเพาะปัสสาวะสัมผัสกับสารก่อมะเร็งโดยตรง กลับ ถัดไป
  • 17. เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ สารพิษจากบุหรี่จะไปทาให้เส้นเลือดในร่างกายอุดตัน รวมทั้งเส้นเลือด ขนาดเล็กที่ไปเลี้ยงประสาทที่เกี่ยวกับการควบคุมการแข็งตัวของอวัยวะ เพศชาย นอกจากนี้ ยังพบว่าผู้ที่สูบบุหรี่จะมีจานวนอสุจิน้อยกว่าผู้ที่ไม่ สูบบุหรี่ด้วย สิงห์อมควันทั้งหลายจึงเผชิญปัญหาเสื่อมสมรรถภาพทาง เพศ กลับ ถัดไป
  • 18. หญิงตั้งครรภ์เสี่ยงแท้ง-ลูกในครรภ์เสี่ยงตาย หญิงตั้งครรภ์เป็นคนที่ต้องใส่ใจดูแลสุขภาพตัวเองให้ดีที่สุด แต่หากเป็นที่สูบบุหรี่อยู่ก่อน แล้ว และแม้ตั้งครรภ์แล้วก็ยังเลิกสูบไม่ได้ จะเป็นอันตรายต่อตัวเองและลูกในครรภ์เป็นอย่างมาก เพราะ คุณแม่ตั้งครรภ์จะเสี่ยงเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น รกเกาะต่า รกลอกตัวก่อนกาหนด ทารกคลอดก่อน กาหนด มีโอกาสเสี่ยงแท้งบุตรเพิ่มขึ้นถึง 2 เท่า หรือหากยังไม่ตั้งครรภ์ ผู้หญิงก็จะเผชิญภาวะมีบุตรยาก ส่วนเด็กในครรภ์เมื่อคลอดออกมาแล้วจะมีน้าหนักน้อย พัฒนาการไม่สมบูรณ์ เพราะเติบโต ช้าตั้งแต่ในครรภ์ มีโอกาสเสียชีวิตในขณะแรกคลอดสูงขึ้นมาก เพราะพิษจากบุหรี่สามารถถ่ายทอดจาก กระแสเลือดของแม่ผ่านทางรกมายังทารกได้โดยตรง นอกจากนี้ หากเด็กกินนมแม่ เด็กจะได้รับสาร นิโคตินจากนมแม่ด้วย และถ้ายังได้รับควันบุหรี่อยู่อย่างต่อเนื่อง เด็กจะมีโอกาสเกิดการติดเชื้อในระบบ ทางเดินหายใจและภาวะติดเชื้อในหูบ่อยขึ้น มีโอกาสเป็นโรคหอบหืดและโรคภูมิแพ้มากขึ้นอย่างชัดเจน กลับ ถัดไป
  • 19. สารพัดโรคมะเร็ง นอกจากโรคมะเร็งปอดที่ผู้สูบบุหรี่มีโอกาสเสี่ยงสูงมาก ๆ แล้ว สิงห์อมควันทั้งหลายยังอาจจะได้รับของแถมเป็นโรคมะเร็งอวัยวะส่วนอื่น ๆ อีกเพียบ ทั้งมะเร็งช่องปาก มะเร็งโพรงจมูก มะเร็งลาคอและกล่องเสียง มะเร็งหลอดลม มะเร็งหลอดอาหาร มะเร็งกระเพาะอาหาร มะเร็งตับอ่อน มะเร็งตับ มะเร็งไต มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ มะเร็งลาไส้ใหญ่ มะเร็งทวาร หนัก มะเร็งต่อมลูกหมาก มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน กลับ ถัดไป
  • 20. อาการทางร่างกายอื่น ๆ นอกจากสารพัดโรคร้ายแล้ว บุหรี่ยังส่งผลต่อทุกระบบในร่างกายตั้งแต่หัวจรด เท้า ผู้ที่สูบบุหรี่จะมีลักษณะหัวล้าน ผมหงอกเร็ว ใบหน้าเหี่ยวย่น ดูแก่เร็ว กลิ่นตัวเหม็น มี กลิ่นปาก ฟันผุ ฟันดา เสียวฟันง่าย มีคราบบุหรี่ติดเหงือกและฟัน เหงื่อร่น เป็นโรคเหงือก อักเสบร่วมด้วย เหนื่อยง่าย หอบง่าย เล็บเหลือง นิ้วเหลือง ท้องอืดแน่น เบื่ออาหาร นอกจากนี้ หากเป็นแผลจะหายช้าด้วย เนื่องจากสารนิโคตินที่ร่างกายได้รับเข้า ไปอยู่ในกระแสเลือด มีผลทาให้ออกซิเจนในเลือดต่าลง ส่งผลให้บาดแผลต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ต้องใช้ระยะเวลารักษานาน รวมถึงบาดแผลจะมีขนาดใหญ่ขึ้นและแดงกว่าปกติ กลับ ถัดไป
  • 22. ผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม บุหรี่เป็นสิ่งเสพติดที่ถูกกฎหมาย สามารถหาซื้อได้ง่ายตามท้องตลาด มีราคาถูกกว่าสิ่งเสพติดชนิดอื่นๆ เมื่อมี การติดบุหรี่แล้ว มักจะเป็นหนทางที่นาไปสู่การทดลองใช้สิ่งเสพติดชนิดอื่นตามมา มีผลการวิจัยพบว่า ร้อยละ 95 วัยรุ่นที่ติดโคเคนและเฮโรอีน ร้อยละ 75 ของวัยรุ่นที่ติดฝิ่นและกัญชา และร้อยละ 62 ของวัยรุ่นที่ติด เหล้าจะเริ่มจากสูบบุหรี่ก่อน ดั้งนั้นจะเห็นได้ว่าการสูบบุหรี่ในวัยรุ่นจะสามารถนาไปสู่ปัญหาเรื่องยาเสพติด ชนิดต่างๆ ซึ่งจะสร้างปัญหาต่อสังคมตามมาเป็นอันมาก การสูบบุหรี่ของพ่อแม่ หรือผู้นาในสังคม เช่น ครู ดารา นักการเมือง บุคลากรสาธารณสุข และพระภิกษุ เป็นปัจจัยหนึ่งที่สาคัญทาให้เยาวชนเกิดการ เลียนแบบพฤติกรรมการสูบบุหรี่ พบว่าเด็กที่มาจากครอบครัวที่มีพ่อแม่หรือบุคคลในครอบครัวสูบบุหรี่ให้เห็น เป็นตัวอย่าง จะมีแนวโน้มในการสูบบุหรี่มากกว่าเด็กที่มาจากครอบครัวที่ไม่สูบบุหรี่ การสูบบุหรี่ทาให้เสีย บุคลิกภาพและเป็นที่รังเกียจของคนในสังคม เพราะผู้ที่สูบบุหรี่จะมีกลิ่นปากและกลิ่นตัว มีริมฝีปากดาคล้า มี คราบเหลืองติดที่ฟันและนิ้วมือ และมีการไอบ่อยครั้ง เป็นต้น การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุหนึ่งที่สาคัญของการ เสียชีวิตก่อนวัยอันควร กลับ ถัดไป
  • 23. ซึ่งเป็นการสูญเสียบุคลากรที่สามารถทาคุณประโยชน์ให้กับสังคมและ ประเทศชาติ การสูบบุหรี่นอกจากจะส่งผลเสียต่อสุขภาพ เศรษฐกิจและสังคมแล้วยังสร้าง ความเสียหายให้กับสิ่งแวดล้อมด้วย เนื่องจากการปลูกใบยาสูบจะต้องมีการใช้สารเคมีใน การฆ่าวัชพืชและแมลง ทาให้เพิ่มสารพิษตกค้างอยู่ในสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะเป็นผลเสียต่อ สุขภาพของเกษตรกรและผู้ที่สูบบุหรี่ อีกทั้งควันจากบุหรี่ยังมีส่วนทาให้เพิ่มก๊าซพิษให้กับ สิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณสถานที่แออัด และในห้องที่มีการใช้ เครื่องปรับอากาศ การสูบบุหรี่ทาให้บ้านเมืองสกปรกไม่น่าดู เนื่องมาจากการทิ้งก้นบุหรี่ ไม่เป็นที่ ถ้าผู้สูบบุหรี่ขาดความระมัดระวังในการทิ้งบุหรี่ ก็จะเป็นสาเหตุหนึ่งที่นาไปสู่การ เกิดไฟไหม้ในอาคารบ้านเรือน และการเกิดไฟป่า ซึ่งจะสร้างความสูญเสียต่อชีวิตและ ทรัพย์สินของตนเองและผู้อื่น รวมทั้งทรัพยากรธรรมชาติ ดังนั้นการสูบบุหรี่มิได้ส่งผลเสีย ให้กับผู้สูบเท่านั้น แต่ยังส่งผลกระทบไปสู่สังคมและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งประเทศชาติ กลับ ถัดไป
  • 24. ปัจจัยที่ส่งเสริมให้มีการเริ่มสูบบุหรี่ ความอยากลอง เยาวชนที่สูบบุหรี่ร้อยละ 38.4 เริ่มสูบบุหรี่เพราะความอยากลองซึ่งเป็นธรรมชาติของ วัยรุ่นที่ความอยากลองเป็นเรื่องที่ท้าทาย น่าตื่นเต้นและสนุกสนาน ถึงแม้จะทราบว่าเป็นสิ่งที่ไม่ ดีต่อสุขภาพก็ตาม ตามเพื่อน เยาวชนที่สูบบุหรี่ร้อยละ 35.8 เริ่มสูบบุหรี่เพราะเพื่อนชวน บางคนมีเจตคติที่ว่า ถ้า ไม่สูบจะเข้ากับเพื่อนไม่ได้ เพื่อนจะไม่ยอมรับเข้ากลุ่ม เละหลายคนไม่เลิกสูบบุหรี่เพราะกลัว เพื่อนจะล้อเลียน และไม่ให้เข้ากลุ่ม กลับ ถัดไป
  • 25. ตามอย่างคนในบ้าน เมื่อมีคนในบ้าน เช่นพ่อแม่ พี่น้อง สูบบุหรี่ เด็กจะคิดว่าการสูบบุหรี่เป็นเรื่อธรรมดา หรือวัยรุ่น หลายคนจะลองสูบตามบ้างและคิดว่าแสดงออกถึงความเป็นผู้ใหญ่ ความเป็นชาย เพื่อเขาสังคม บางคนต้องสูบบุหรี่เพราะหน้าที่การงานที่ต้องเข้าสังคม งานเลี้ยงสังสรรค์หรืองานเลี้ยงรับรอง ซึ่งมีผู้ สูบในสังคมนั้นๆเชิญชวนให้สูบ ความเครียด สารนิโคติน ในควันบุหรี่เมื่อเข้าสู่สมองภายในเวลา 8-10 วินาที ซึ่งออกฤทธิ์ ทาให้เส้นเลือดแดง หดตัว ความดันโลหิตสูงขึ้น หายใจเร็วขึ้น และกระตุ้นสมองส่วนกลาง ทาให้รู้สึกผ่อนคลายในระยะต้น หลาย คนจึงสูบบุหรี่ด้วยเหตุผลเพื่อคลายความเครียด แต่เมื่อปริมาณนิโคตินในสมองลดลง จะทาให้เกิดอาการ หงุดหงิด และเครียดได้ในเวลาต่อ กลับ ถัดไป
  • 26. แนวทางการแก้ไขปัญหา ให้ความรัก ความอบอุ่น ดูแลเอาใจใส่บุตรหลานและสร้างความสามัคคีในครอบครัว ตลอดจนเป็นที่ปรึกษาเมื่อบุตร หลานมีปัญหา - ศึกษาให้เข้าถึงพัฒนาการและปัญหาของบุตรหลานมีจิตวิทยาในการดูแลช่วยเหลือบุตรหลานรวมทั้งอบรมเลี้ยง ดูบุตรหลาน - ให้ความร่วมมือกับทางโรงเรียนในการพัฒนาส่งเสริมบุตรหลานทั้งในด้านการเรียน การอาชีพ และชีวิตสังคม - ควรประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่บุตรหลาน - อบรบเลี้ยงดูบุตรหลานสามารถที่จะเผชิญความจริงในชีวิตได้ - สังเกตและติดตามพฤติกรรมของบุตรหลานอยู่เสมอเกี่ยวกับการคบเพื่อนที่ดื่มแอลกอฮอล์และสูบบุหรี่ และรีบให้ ความดูแลช่วยเหลือ กลับ ถัดไป
  • 29. นาย ณัฐกร ชัยยะ ชั้น ม.6/11 เลขที่ 16 กลับ ถัดไป