SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
สึนามิ
(TSUNAMI)
ในภาษาญี่ปุ่นเรียก Tsunami ในภาษาจีนเรียก Haixiao
ในภาษาเกาหลีเรียก Haeil ในภาษาเยอรมันเรียก Flutwellen
ในภาษาฝรั่งเศสเรียก Raz de mare ในภาษาสเปนเรียก Maremoto
สึนามิ (Tsunami) เป็นคาที่ยอมรับกันทั่วโลกแล้วว่า เป็นคลื่นยักษ์ที่มีความยาวคลื่นเป็นหลัก
100 กิโลเมตรขึ้นไป ที่ก่อให้เกิดภัยพิบัติอย่างใหญ่หลวงต่อชีวิตและทรัพย์สินของมนุษย์ เป็นคาศัพท์
ภาษาญี่ปุ่นหากแปลตรงตัวคาว่า “TUS” หมายถึง ท่าเรือ “NAMI” หมายถึง คลื่น สาเหตุส่วนใหญ่
เกิดจากการเคลื่อนตัวของพื้นทะเลในแนวดิ่งตรงรอยต่อของแผ่นเปลือกโลก ซึ่งก่อให้มีแนวของรอยเลื่อน
มีพลังอันเป็นแหล่งกาเนิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ คลื่นที่เกิดขึ้นมักมีลักษณะขนาดเล็ก ๆ ไม่สามารถ
ตรวจวัดได้ขณะอยู่ในทะเลเปิด ต่อเมื่อเคลื่อนที่เข้าใกล้ชายฝั่งความสูงของคลื่นจะเพิ่มขึ้นหลายเท่าตาม
สภาพภูมิลักษณ์ของชายฝั่งนั้นๆ จนมีผลกระทบร้ายแรงโดยเฉพาะอย่างยิ่งจะมีผลต่ออ่าวที่เว้าเป็นรูปตัว
วี (V) และเปิดไปสู่มหาสมุทรโดยตรง
คลื่นสึนามิ มีสาเหตุการเกิดหลายประการ เช่น
1. การเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลกตามแนวรอยเลื่อนที่ก่อให้เกิดแผ่นดินไหวที่พื้นท้องทะเล
2. การระบิดอย่างรุนแรงของภูเขาไฟใต้ทะเล
3. ดินถล่มที่พื้นท้องทะเล
4. การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ใต้ทะเล
คลื่นสึนามิในมหาสมุทรหรือทะเลตรงที่เกิดแผ่นดินไหวเป็นความพยายามที่จะกลับคืนสู่สมดุลย์
ภายหลังจากการยกตัวอย่างฉับพลันของพื้นท้องหมาสมุทรนามาซึ่งการยกตัวของมวลน้าทะเลอย่าง
ทันทีทันใด อนุภาคของน้าจะกระเพื่อมขึ้นและลง เริ่มต้นเป็นศูนย์กลางของการแผ่กระจายคลื่นน้าออกไป
ในทุกทิศทาง โดนอนุภาคของน้าเคลื่อนที่เป็นวงรี และมีลักษณะยาวตามแนวนอน โดยมีความสูงของ
คลื่นไม่มากนักในทะเลลึกแต่มีค่าความเร็วสูง เมื่อคลื่นเข้าใกล้ฝั่งความเร็วของคลื่นจะถูกหน่วงให้ช้าลง
อย่างฉับพลัน โดยที่แรงปะทะยังทรงพลังอยู่ จึงทาให้ยอดคลื่นถูกยกขึ้นสูงอย่างรวดเร็ว และสูงสุดที่
ชายฝั่ง ดังนั้นผลกระทบจากคลื่นสึนามิบริเวณแหล่งกาเนิดในทะเลจึงแทบไม่ปรากฏ ส่วนบริเวณชายฝั่ง
ตื้นย่อมก่อให้เกิดความเสียหายได้มากกับชีวิตและทรัพย์สินบริเวณชายฝั่งนั้น
ความเร็วในการเคลื่อนที่ของคลื่นสึนามิ แสดงด้วยสมการของ Langrange’s Law ที่ว่า
ความเร็วคลื่นเป็นรากที่สองของผลคูณความลึกกับอัตราเร่งของความโน้มถ่วงของโลก เช่น ถ้าในทะเล
อันดามัน มีความลึก 4,000 เมตร คานวณความเร็วของคลื่นสึนามิได้ประมาณ 700 กม./ชม. (รูปที่ 1)
ส่วนใหญ่สึนามิเกิดบริเวณเดียวกับย่านที่เกิดแผ่นดินไหวในทะเลหรือชายฝั่ง โดย 80 % ของ สึนามิที่
เกิดทั้งหมดมักอยู่ในบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก
- เมื่อประมาณ 1,600 ปีก่อนคริสต์ศักราช เกิดภูเขาไฟระเบิดที่เกาะอีเจียน เมืองทีรา ประเทศกรีซ ทา
ให้เกิด สึนามิในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน สันนิษฐานว่ามีคลื่นสึนามิที่กระทบชายฝั่งของอิสราเอลสูง
ประมาณ 6 เมตร
- พ.ศ. 2298 เกิดแผ่นดินไหวที่เมืองลิสบอน ประเทศโปรตุเกส เป็นผลให้เกิดสึนามิตามแนวชายฝั่ง
ประเทศโปรตุเกส สเปน และโมร็อกโก มีผู้เสียชีวิตจากเหตุแผ่นดินไหวและสึนามิ 60,000 คน
- 15 มิถุนายน 2439 เกิดสึนามิที่เมืองเมจิ ซันริจู คลื่นสูง 30 เมตร มีผู้เสียชีวิต 27,000 คน บาดเจ็บ
9,316 ราย บ้านเรือนเสียหาย 10,600 หลัง
- 1 เมษายน 2489 เกิดแผ่นดินไหวที่ชายฝั่งของมลรัฐอาลาสกา ทาให้ประภาคารสกอตซ์เคป บนเกาะยู
นิแมก สูง 13.5 เมตร พังทลาย ต่อมาประมาณ 5 ชั่วโมง คลื่นสึนามิแผ่ไปถึงเมืองฮีโล มลรัฐฮาวาย ซึ่งมี
ลักษณะเป็นอ่าวขนาดใหญ่ และรับคลื่นสึนามิโดยตรง ทาให้มียอดคลื่นสูง 16 เมตร ก่อความเสียหาย
รุนแรง ไม่ว่าอาคารบ้านเรือน สะพาน รางรถไฟ ถนนเลียบชายหาด เสียหายยับเยิน คร่าชีวิตมนุษย์
ประมาร 160 คน
- 23 พฤษภาคม 2503 เกิดแผ่นดินไหวที่ชายฝั่งประเทศชิลีขนาด 9.5 ริกเตอร์ (แผ่นดินไหวขนาดใหญ่
ที่สุดในโลกที่บันทึกได้) ก่อให้เกิดสึนามิทั่วชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก คร่าชีวิตมนุษย์กว่า 1,000 คน คลื่น
มีความเร็ว 710 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ใช้เวลาเดินทางจากประเทศชิลีถึงเมืองฮีโล มลรัฐฮาวาย 14.9
ชั่วโมง ซึ่งอยู่ห่าง 10,600 กิโลเมตรได้รับผลกระทบรุนแรง ความร้ายกาจของสึนามิครั้งนี้ยังคร่าชีวิต
ชาวญี่ปุ่น 140 คน ทั้งที่ประเทศญี่ปุ่นอยู่ห่างถึง 17,000 กิโลเมตร ซึ่งมียอดคลื่นสูงถึง 7 เมตร ใช้เวลา
เดินทาง 24 ชั่วโมง
- 27 มีนาคม 2507 เกิดสึนามิจากแผ่นดินไหวขนาด 9.2 ริกเตอร์ ในร่องลึกชันอะลูเชียน ใกล้ชายฝั่งมล
รัฐอาลาสกา ทาให้บริเวณอ่าววาลดีสมียอดคลื่นสูง 30 เมตร และที่ชายฝั่งมลรัฐฮาวายมียอดคลื่นสูง
5 เมตร
- 2 กันยายน 2535 เกิดสึนามิที่ประเทศนิการากัว มียอดคลื่นสูง 10 เมตร คนเสียชีวิต 170 คน บาดเจ็บ
500 คน ประชากรไร้ที่อยู่อาศัย 13,000 ครอบครัว
- 13 กรกฎาคม 2536 เกิดคลื่นสึนามิเข้าทาลายชายฝั่งเมืองโอะกุชิริ เกาะฮอกไกโด ประเทศญี่ปุ่นอย่าง
รุนแรง
- 17 กรกฎาคม 2541 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.1 ริกเตอร์ ใกล้ชายฝั่งด้านตะวันออกของเมืองซาวน์ดาวน์
เกาะปาปัวนิวกีนี ส่งผลให้มีดินถล่มใต้ทะเล และสึนามิตามมาเป็นชุดขนาดใหญ่อย่างน้อย 3 ชุด มี
ผู้เสียชีวิต 2,200 คน บาดเจ็บ 473 คน บริเวณชายฝั่งเสียหายมาก ตามรายงานของ Earthquake
Engineering Research Institue (January, 1999) รายงานว่าแผ่นดินไหวเกิดเวลา 18.49 น.
ตามเวลาท้องถิ่น มีผู้บาดเจ็บถูกทยอยส่งเข้าโรงพยาบาลเมืองไอทาเป เวลา 20.00 น. แต่ไม่สามารถ
ช่วยอะไรได้เพราะโรงพยาบาลปิดตั้งแต่เวลา 16.00 น.
สาหรับสึนามิที่เคยเกิดในย่านมหาสมุทรอินเดียพอที่จะรวบรวมได้ดังนี้
- เมื่อ 326 ปีก่อนคริสต์ศักราช เกิดแผ่นดินไหวใกล้สามเหลี่ยมปากแม่น้าสินธุ ประเทศอินเดีย ส่งผลให้
เกิดสึนามิ เข้าโจมตีกองเรือรบของกษัตริย์อเลกซานเดอมหาราช ขณะเดินทางกลับประเทศกรีก
(Lietzin, 1974)
- พ.ศ. 2067 เกิดสึนามิใกล้เมืองดาพอล รัฐมหาราชต์ ประเทศอินเดีย
- พ.ศ. 2305 เกิดแผ่นดินไหวที่ชายฝั่งอารากัน สหภาพพม่า ส่งผลให้เกิดสึนามิ ทาความเสียหายกับ
บริเวณชายฝั่งทะเลในอ่าวเบงกอล
- พ.ศ. 2340 เกิดแผ่นดินไหวในทะเลทางทิศตะวันตกของตอนกลางเกาะสุมาตรา ด้วยขนาด 8.4 ริก
เตอร์ ทาให้เกิดสึนามิ เข้าชายฝั่งเมืองปาดัง ประเทศอินโดนีเซีย มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 300 คน
- พ.ศ. 2376 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 8.7 ริกเตอร์ นอกชายฝั่งตะวันตกด้านทิศใต้ของเกาะสุมาตรา
ประเทศอินโดนีเซีย ส่งผลให้เกิดคลื่นขนาดใหญ่ทาความเสียหายให้แก่บริเวณดังกล่าว และมีผู้เสียชีวิต
มากมาย
- พ.ศ. 2386 มีคลื่นขนาดใหญ่เคลื่อนตัวเข้าสู่หมู่เกาะ Nias มีรายงานการสูญเสียชีวิตจานวนมาก
- พ.ศ. 2424 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.9 ริกเตอร์ ที่หมู่เกาะอันดามัน ส่งผลให้เกิดสึนามิมีคลื่นสูง 1 เมตร
เข้ากระแทกชายฝั่งด้านตะวันออกของคาบสมุทรอินเดีย
- 27 สิงหาคม 2426 เวลาเช้าตรูภูเขาไฟกรากะตัว ในประเทศอินโดนีเซียเกิดระเบิดต่อเนื่องกัน 3 ครั้ง
เป็นผลให้ปากปล่องภูเขาไฟทะลายลงทะเลส่งผลให้เกิดสึนามิทั่วมหาสมุทรอินเดีย ที่เกาะชวา และเกาะ
สุมาตรามีความสูงของคลื่นสึนามิ 15 - 42 เมตร ทาให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 36,000 คน
- 26 มิถุนายน 2484 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.7 ริกเตอร์ ที่ระหว่างหมู่เกาะนิโคบาร์-อันดามัน
แรงสั่นสะเทือนรับรู้ได้ถึงแนวชายฝั่งของประเทศอินเดีย และศรีลังกา ทาให้เกิดสึนามิตามมา มีการ
บันทึกว่ามีความสูงของคลื่น 1 เมตร และเชื่อว่ามีผู้เสียชีวิตในครั้งนี้ไม่น้อยกว่า 5,000 คน
- 27 พฤศจิกายน 2488 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 8.9 ริกเตอร์ มีศูนย์กลางบริเวณชายฝั่งทะเลเมืองมิกราน
ทางทิศใต้ประมาณ 100 กิโลเมตร ของเมืองหลวง ประเทศปากีสถาน เป็นผลให้เกิดสึนามิทาความ
เสียหายให้แก่ชายฝั่งทะเลด้านทิศตะวันตกของประเทศอินเดีย
ตารางที่ 1 ระดับความรุนแรงของสึนามิในประเทศญี่ปุ่น (Tida, 1963)
ระดับความรุนแรงสึนามิ ความสูงของคลื่นที่ชายฝั่ง
(เมตร)
พลังงานสึนามิ (x 1023 Ergs)
5.0 > 32 25.6
4.5 24 - 32 12.8
4.0 16 - 24 6.4
3.5 12 - 16 3.2
3.0 8 - 12 1.6
2.5 6 - 8 0.8
2.0 4 - 6 0.4
1.5 3 - 4 0.2
1.0 2 - 3 0.1
0.5 1.5 - 2 0.05
0.0 1 - 1.5 0.025
-0.5 0.75 - 1 0.0125
-1.0 0.50 - 0.75 0.006
-1.5 0.30 - 0.50 0.003
-2.0 < 0.30 0.0015
หมายเหตุ ลูกระเบิด TNT หนัก 1 ออนซ์ เมื่อระเบิดใต้ดินมีพลังงานประมาณ 640 x 106 Ergs
1. ขณะที่อยู่บริเวณชายฝั่งเมื่อรู้สึกว่ามีแผ่นดินไหวหรือพบว่าระดับน้าทะเลลดลงมากผิดปกติ ให้รีบอพยพไปยัง
บริเวณที่สูงทันที
2. เมื่อได้รับฟังประกาศจากทางการเกี่ยวกับการเกิดแผ่นดินไหวในทะเล ให้เตรียมรับสถานการณ์ที่อาจจะ
เกิดสึนามิตามมาได้
3. ถ้าอยู่ในเรือซึ่งจอดอยู่ในท่าเรือ ให้รีบนาเรือออกไปกลางทะเล เมื่อทราบข่าวว่าจะเกิดสึนามิพัดเข้าหา ,
4. คลื่นสึนามิ อาจเกิดขึ้นได้หลายระลอกจากการเกิดแผ่นดินไหวครั้งเดียว เนื่องจากมีการแกว่งไปมาของน้า
ทะเล ดังนั้นควรรอประกาศจากการก่อนจึงสามารถลงไปชายหาดได้
5. ติดตามการเสนอข่าวของทางราชการอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อ
6. หากที่บ้านเรือนอยู่ใกล้ชายหาด ควรจัดทาเขื่อน กาแพง ปลูกต้นไม้ วางวัสดุ ลดแรงปะทะของน้าทะเล ใน
บริเวณย่านที่มีความเสี่ยงภัยในเรื่องสึนามิ
7. ควรหลีกเลี่ยงการก่อสร้างอาคารบ้านเรือใกล้ชายฝั่งในย่านที่มีความเสี่ยงภัยสูง
8. วางแผนในการฝึกซ้อมรับภัยจากสึนามิเป็นประจาทุกปี เช่นกาหนดเส้นทางหนีภัยสึนามิ สถานที่ในการ
อพยพ และแหล่งสะสมน้าสะอาด เป็นต้น
9. จัดวางผังเมืองให้เหมาะสม บริเวณแหล่งที่อาศัยควรมีระยะห่างจากชายฝั่ง
10. ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้ประชาชนในเรื่องการป้องกันและบรรเทาภัยจากสึนามิและแผ่นดินไหว
11. วางแผนล่วงหน้า หากเกิดสถานการณ์ขึ้นจริง ในเรื่องการประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกาหนด
ขั้นตอนในด้านการช่วยเหลือบรรเทาภัย ด้านสาธารณะสุข การรื้อถอนและฟื้นฟูสิ่งก่อสร้าง เป็นต้น
รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างความลึก ความเร็ว และความยาวคลื่นของสึนามิ
(www.globalsecurity.org/eye/images/tsunami-3.jpg)
รูปที่ 2 ศูนย์กลางแผ่นดินไหวของเหตุการณ์ 26 ธันวาคม 2547 และ 28 มีนาคม 2548
พร้อมทั้งแผ่นดินไหวระลอกหลังในมหาสมุทรอินเดีย (www.emsc-csem.org)
รูปที่ 3 ภาพจาลองสามมิติจากข้อมูลโซนาร์ของพื้นท้องทะเลนอกชายฝั่งเกาะสุมาตรา
ประเทศอินโดนีเซีย บริเวณรอยต่อของแผ่นเปลือกโลกอินเดีย และแผ่นเปลือกโลกพม่า
ที่พบหลักฐานของดินถล่มใต้ทะเล (Landslip) ภาพนี้มองไปทิศใต้
(http://news.bbc.co.uk/1/shared/sp1/hi/pop_ups/05/sci_nat_asian_tsunami_rupture_zone/html/2.stm)
Cr.คุณสุวิทย์ โคสุวรรณ กรมทรัพยากรธรณี
http://www.dmr.go.th/ewtadmin/ewt/dmr_web/main.php?filename=tsunami
3

More Related Content

Viewers also liked (20)

Chem2557
Chem2557Chem2557
Chem2557
 
Phy2555
Phy2555Phy2555
Phy2555
 
Phy2557
Phy2557Phy2557
Phy2557
 
Eng2556
Eng2556Eng2556
Eng2556
 
Social2555
Social2555Social2555
Social2555
 
Keyeng onet49
Keyeng onet49Keyeng onet49
Keyeng onet49
 
Keymath onet49
Keymath onet49Keymath onet49
Keymath onet49
 
Bio2555
Bio2555Bio2555
Bio2555
 
Math2555
Math2555Math2555
Math2555
 
เฉลยภาษาไทย รหัสวิขา 01
เฉลยภาษาไทย รหัสวิขา 01เฉลยภาษาไทย รหัสวิขา 01
เฉลยภาษาไทย รหัสวิขา 01
 
Keysci onet49
Keysci onet49Keysci onet49
Keysci onet49
 
ไทย 49
ไทย 49ไทย 49
ไทย 49
 
เฉลยสังคม รหัสวิขา 02
เฉลยสังคม รหัสวิขา 02เฉลยสังคม รหัสวิขา 02
เฉลยสังคม รหัสวิขา 02
 
Bio2557
Bio2557Bio2557
Bio2557
 
Thai2556
Thai2556Thai2556
Thai2556
 
Phy2556
Phy2556Phy2556
Phy2556
 
Math2556
Math2556Math2556
Math2556
 
Social2557
Social2557Social2557
Social2557
 
อังกฤษ 49
อังกฤษ 49อังกฤษ 49
อังกฤษ 49
 
Thai2557
Thai2557Thai2557
Thai2557
 

More from Sasinun Ui-ai (12)

2558 project 2-2
2558 project 2-22558 project 2-2
2558 project 2-2
 
Project Oracle VirtualBox
Project Oracle VirtualBoxProject Oracle VirtualBox
Project Oracle VirtualBox
 
03 english51
03 english5103 english51
03 english51
 
04mathematics51
04mathematics5104mathematics51
04mathematics51
 
สังคม 49
สังคม 49สังคม 49
สังคม 49
 
วิทย์49
วิทย์49วิทย์49
วิทย์49
 
Social2556
Social2556Social2556
Social2556
 
Chem2556
Chem2556Chem2556
Chem2556
 
Social2556
Social2556Social2556
Social2556
 
Bio2556
Bio2556Bio2556
Bio2556
 
Chem2555
Chem2555Chem2555
Chem2555
 
Thai2555
Thai2555Thai2555
Thai2555
 

สึนามิ

  • 1. สึนามิ (TSUNAMI) ในภาษาญี่ปุ่นเรียก Tsunami ในภาษาจีนเรียก Haixiao ในภาษาเกาหลีเรียก Haeil ในภาษาเยอรมันเรียก Flutwellen ในภาษาฝรั่งเศสเรียก Raz de mare ในภาษาสเปนเรียก Maremoto สึนามิ (Tsunami) เป็นคาที่ยอมรับกันทั่วโลกแล้วว่า เป็นคลื่นยักษ์ที่มีความยาวคลื่นเป็นหลัก 100 กิโลเมตรขึ้นไป ที่ก่อให้เกิดภัยพิบัติอย่างใหญ่หลวงต่อชีวิตและทรัพย์สินของมนุษย์ เป็นคาศัพท์ ภาษาญี่ปุ่นหากแปลตรงตัวคาว่า “TUS” หมายถึง ท่าเรือ “NAMI” หมายถึง คลื่น สาเหตุส่วนใหญ่ เกิดจากการเคลื่อนตัวของพื้นทะเลในแนวดิ่งตรงรอยต่อของแผ่นเปลือกโลก ซึ่งก่อให้มีแนวของรอยเลื่อน มีพลังอันเป็นแหล่งกาเนิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ คลื่นที่เกิดขึ้นมักมีลักษณะขนาดเล็ก ๆ ไม่สามารถ ตรวจวัดได้ขณะอยู่ในทะเลเปิด ต่อเมื่อเคลื่อนที่เข้าใกล้ชายฝั่งความสูงของคลื่นจะเพิ่มขึ้นหลายเท่าตาม สภาพภูมิลักษณ์ของชายฝั่งนั้นๆ จนมีผลกระทบร้ายแรงโดยเฉพาะอย่างยิ่งจะมีผลต่ออ่าวที่เว้าเป็นรูปตัว วี (V) และเปิดไปสู่มหาสมุทรโดยตรง
  • 2. คลื่นสึนามิ มีสาเหตุการเกิดหลายประการ เช่น 1. การเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลกตามแนวรอยเลื่อนที่ก่อให้เกิดแผ่นดินไหวที่พื้นท้องทะเล 2. การระบิดอย่างรุนแรงของภูเขาไฟใต้ทะเล 3. ดินถล่มที่พื้นท้องทะเล 4. การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ใต้ทะเล คลื่นสึนามิในมหาสมุทรหรือทะเลตรงที่เกิดแผ่นดินไหวเป็นความพยายามที่จะกลับคืนสู่สมดุลย์ ภายหลังจากการยกตัวอย่างฉับพลันของพื้นท้องหมาสมุทรนามาซึ่งการยกตัวของมวลน้าทะเลอย่าง ทันทีทันใด อนุภาคของน้าจะกระเพื่อมขึ้นและลง เริ่มต้นเป็นศูนย์กลางของการแผ่กระจายคลื่นน้าออกไป ในทุกทิศทาง โดนอนุภาคของน้าเคลื่อนที่เป็นวงรี และมีลักษณะยาวตามแนวนอน โดยมีความสูงของ คลื่นไม่มากนักในทะเลลึกแต่มีค่าความเร็วสูง เมื่อคลื่นเข้าใกล้ฝั่งความเร็วของคลื่นจะถูกหน่วงให้ช้าลง อย่างฉับพลัน โดยที่แรงปะทะยังทรงพลังอยู่ จึงทาให้ยอดคลื่นถูกยกขึ้นสูงอย่างรวดเร็ว และสูงสุดที่ ชายฝั่ง ดังนั้นผลกระทบจากคลื่นสึนามิบริเวณแหล่งกาเนิดในทะเลจึงแทบไม่ปรากฏ ส่วนบริเวณชายฝั่ง ตื้นย่อมก่อให้เกิดความเสียหายได้มากกับชีวิตและทรัพย์สินบริเวณชายฝั่งนั้น ความเร็วในการเคลื่อนที่ของคลื่นสึนามิ แสดงด้วยสมการของ Langrange’s Law ที่ว่า ความเร็วคลื่นเป็นรากที่สองของผลคูณความลึกกับอัตราเร่งของความโน้มถ่วงของโลก เช่น ถ้าในทะเล อันดามัน มีความลึก 4,000 เมตร คานวณความเร็วของคลื่นสึนามิได้ประมาณ 700 กม./ชม. (รูปที่ 1)
  • 3. ส่วนใหญ่สึนามิเกิดบริเวณเดียวกับย่านที่เกิดแผ่นดินไหวในทะเลหรือชายฝั่ง โดย 80 % ของ สึนามิที่ เกิดทั้งหมดมักอยู่ในบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก - เมื่อประมาณ 1,600 ปีก่อนคริสต์ศักราช เกิดภูเขาไฟระเบิดที่เกาะอีเจียน เมืองทีรา ประเทศกรีซ ทา ให้เกิด สึนามิในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน สันนิษฐานว่ามีคลื่นสึนามิที่กระทบชายฝั่งของอิสราเอลสูง ประมาณ 6 เมตร - พ.ศ. 2298 เกิดแผ่นดินไหวที่เมืองลิสบอน ประเทศโปรตุเกส เป็นผลให้เกิดสึนามิตามแนวชายฝั่ง ประเทศโปรตุเกส สเปน และโมร็อกโก มีผู้เสียชีวิตจากเหตุแผ่นดินไหวและสึนามิ 60,000 คน - 15 มิถุนายน 2439 เกิดสึนามิที่เมืองเมจิ ซันริจู คลื่นสูง 30 เมตร มีผู้เสียชีวิต 27,000 คน บาดเจ็บ 9,316 ราย บ้านเรือนเสียหาย 10,600 หลัง - 1 เมษายน 2489 เกิดแผ่นดินไหวที่ชายฝั่งของมลรัฐอาลาสกา ทาให้ประภาคารสกอตซ์เคป บนเกาะยู นิแมก สูง 13.5 เมตร พังทลาย ต่อมาประมาณ 5 ชั่วโมง คลื่นสึนามิแผ่ไปถึงเมืองฮีโล มลรัฐฮาวาย ซึ่งมี ลักษณะเป็นอ่าวขนาดใหญ่ และรับคลื่นสึนามิโดยตรง ทาให้มียอดคลื่นสูง 16 เมตร ก่อความเสียหาย รุนแรง ไม่ว่าอาคารบ้านเรือน สะพาน รางรถไฟ ถนนเลียบชายหาด เสียหายยับเยิน คร่าชีวิตมนุษย์ ประมาร 160 คน - 23 พฤษภาคม 2503 เกิดแผ่นดินไหวที่ชายฝั่งประเทศชิลีขนาด 9.5 ริกเตอร์ (แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ ที่สุดในโลกที่บันทึกได้) ก่อให้เกิดสึนามิทั่วชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก คร่าชีวิตมนุษย์กว่า 1,000 คน คลื่น มีความเร็ว 710 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ใช้เวลาเดินทางจากประเทศชิลีถึงเมืองฮีโล มลรัฐฮาวาย 14.9 ชั่วโมง ซึ่งอยู่ห่าง 10,600 กิโลเมตรได้รับผลกระทบรุนแรง ความร้ายกาจของสึนามิครั้งนี้ยังคร่าชีวิต ชาวญี่ปุ่น 140 คน ทั้งที่ประเทศญี่ปุ่นอยู่ห่างถึง 17,000 กิโลเมตร ซึ่งมียอดคลื่นสูงถึง 7 เมตร ใช้เวลา เดินทาง 24 ชั่วโมง - 27 มีนาคม 2507 เกิดสึนามิจากแผ่นดินไหวขนาด 9.2 ริกเตอร์ ในร่องลึกชันอะลูเชียน ใกล้ชายฝั่งมล รัฐอาลาสกา ทาให้บริเวณอ่าววาลดีสมียอดคลื่นสูง 30 เมตร และที่ชายฝั่งมลรัฐฮาวายมียอดคลื่นสูง 5 เมตร - 2 กันยายน 2535 เกิดสึนามิที่ประเทศนิการากัว มียอดคลื่นสูง 10 เมตร คนเสียชีวิต 170 คน บาดเจ็บ 500 คน ประชากรไร้ที่อยู่อาศัย 13,000 ครอบครัว
  • 4. - 13 กรกฎาคม 2536 เกิดคลื่นสึนามิเข้าทาลายชายฝั่งเมืองโอะกุชิริ เกาะฮอกไกโด ประเทศญี่ปุ่นอย่าง รุนแรง - 17 กรกฎาคม 2541 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.1 ริกเตอร์ ใกล้ชายฝั่งด้านตะวันออกของเมืองซาวน์ดาวน์ เกาะปาปัวนิวกีนี ส่งผลให้มีดินถล่มใต้ทะเล และสึนามิตามมาเป็นชุดขนาดใหญ่อย่างน้อย 3 ชุด มี ผู้เสียชีวิต 2,200 คน บาดเจ็บ 473 คน บริเวณชายฝั่งเสียหายมาก ตามรายงานของ Earthquake Engineering Research Institue (January, 1999) รายงานว่าแผ่นดินไหวเกิดเวลา 18.49 น. ตามเวลาท้องถิ่น มีผู้บาดเจ็บถูกทยอยส่งเข้าโรงพยาบาลเมืองไอทาเป เวลา 20.00 น. แต่ไม่สามารถ ช่วยอะไรได้เพราะโรงพยาบาลปิดตั้งแต่เวลา 16.00 น. สาหรับสึนามิที่เคยเกิดในย่านมหาสมุทรอินเดียพอที่จะรวบรวมได้ดังนี้ - เมื่อ 326 ปีก่อนคริสต์ศักราช เกิดแผ่นดินไหวใกล้สามเหลี่ยมปากแม่น้าสินธุ ประเทศอินเดีย ส่งผลให้ เกิดสึนามิ เข้าโจมตีกองเรือรบของกษัตริย์อเลกซานเดอมหาราช ขณะเดินทางกลับประเทศกรีก (Lietzin, 1974) - พ.ศ. 2067 เกิดสึนามิใกล้เมืองดาพอล รัฐมหาราชต์ ประเทศอินเดีย - พ.ศ. 2305 เกิดแผ่นดินไหวที่ชายฝั่งอารากัน สหภาพพม่า ส่งผลให้เกิดสึนามิ ทาความเสียหายกับ บริเวณชายฝั่งทะเลในอ่าวเบงกอล - พ.ศ. 2340 เกิดแผ่นดินไหวในทะเลทางทิศตะวันตกของตอนกลางเกาะสุมาตรา ด้วยขนาด 8.4 ริก เตอร์ ทาให้เกิดสึนามิ เข้าชายฝั่งเมืองปาดัง ประเทศอินโดนีเซีย มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 300 คน - พ.ศ. 2376 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 8.7 ริกเตอร์ นอกชายฝั่งตะวันตกด้านทิศใต้ของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ส่งผลให้เกิดคลื่นขนาดใหญ่ทาความเสียหายให้แก่บริเวณดังกล่าว และมีผู้เสียชีวิต มากมาย - พ.ศ. 2386 มีคลื่นขนาดใหญ่เคลื่อนตัวเข้าสู่หมู่เกาะ Nias มีรายงานการสูญเสียชีวิตจานวนมาก - พ.ศ. 2424 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.9 ริกเตอร์ ที่หมู่เกาะอันดามัน ส่งผลให้เกิดสึนามิมีคลื่นสูง 1 เมตร เข้ากระแทกชายฝั่งด้านตะวันออกของคาบสมุทรอินเดีย - 27 สิงหาคม 2426 เวลาเช้าตรูภูเขาไฟกรากะตัว ในประเทศอินโดนีเซียเกิดระเบิดต่อเนื่องกัน 3 ครั้ง
  • 5. เป็นผลให้ปากปล่องภูเขาไฟทะลายลงทะเลส่งผลให้เกิดสึนามิทั่วมหาสมุทรอินเดีย ที่เกาะชวา และเกาะ สุมาตรามีความสูงของคลื่นสึนามิ 15 - 42 เมตร ทาให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 36,000 คน - 26 มิถุนายน 2484 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.7 ริกเตอร์ ที่ระหว่างหมู่เกาะนิโคบาร์-อันดามัน แรงสั่นสะเทือนรับรู้ได้ถึงแนวชายฝั่งของประเทศอินเดีย และศรีลังกา ทาให้เกิดสึนามิตามมา มีการ บันทึกว่ามีความสูงของคลื่น 1 เมตร และเชื่อว่ามีผู้เสียชีวิตในครั้งนี้ไม่น้อยกว่า 5,000 คน - 27 พฤศจิกายน 2488 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 8.9 ริกเตอร์ มีศูนย์กลางบริเวณชายฝั่งทะเลเมืองมิกราน ทางทิศใต้ประมาณ 100 กิโลเมตร ของเมืองหลวง ประเทศปากีสถาน เป็นผลให้เกิดสึนามิทาความ เสียหายให้แก่ชายฝั่งทะเลด้านทิศตะวันตกของประเทศอินเดีย ตารางที่ 1 ระดับความรุนแรงของสึนามิในประเทศญี่ปุ่น (Tida, 1963) ระดับความรุนแรงสึนามิ ความสูงของคลื่นที่ชายฝั่ง (เมตร) พลังงานสึนามิ (x 1023 Ergs) 5.0 > 32 25.6 4.5 24 - 32 12.8 4.0 16 - 24 6.4 3.5 12 - 16 3.2 3.0 8 - 12 1.6 2.5 6 - 8 0.8 2.0 4 - 6 0.4 1.5 3 - 4 0.2 1.0 2 - 3 0.1 0.5 1.5 - 2 0.05 0.0 1 - 1.5 0.025 -0.5 0.75 - 1 0.0125 -1.0 0.50 - 0.75 0.006 -1.5 0.30 - 0.50 0.003 -2.0 < 0.30 0.0015 หมายเหตุ ลูกระเบิด TNT หนัก 1 ออนซ์ เมื่อระเบิดใต้ดินมีพลังงานประมาณ 640 x 106 Ergs
  • 6. 1. ขณะที่อยู่บริเวณชายฝั่งเมื่อรู้สึกว่ามีแผ่นดินไหวหรือพบว่าระดับน้าทะเลลดลงมากผิดปกติ ให้รีบอพยพไปยัง บริเวณที่สูงทันที 2. เมื่อได้รับฟังประกาศจากทางการเกี่ยวกับการเกิดแผ่นดินไหวในทะเล ให้เตรียมรับสถานการณ์ที่อาจจะ เกิดสึนามิตามมาได้ 3. ถ้าอยู่ในเรือซึ่งจอดอยู่ในท่าเรือ ให้รีบนาเรือออกไปกลางทะเล เมื่อทราบข่าวว่าจะเกิดสึนามิพัดเข้าหา , 4. คลื่นสึนามิ อาจเกิดขึ้นได้หลายระลอกจากการเกิดแผ่นดินไหวครั้งเดียว เนื่องจากมีการแกว่งไปมาของน้า ทะเล ดังนั้นควรรอประกาศจากการก่อนจึงสามารถลงไปชายหาดได้ 5. ติดตามการเสนอข่าวของทางราชการอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อ 6. หากที่บ้านเรือนอยู่ใกล้ชายหาด ควรจัดทาเขื่อน กาแพง ปลูกต้นไม้ วางวัสดุ ลดแรงปะทะของน้าทะเล ใน บริเวณย่านที่มีความเสี่ยงภัยในเรื่องสึนามิ 7. ควรหลีกเลี่ยงการก่อสร้างอาคารบ้านเรือใกล้ชายฝั่งในย่านที่มีความเสี่ยงภัยสูง 8. วางแผนในการฝึกซ้อมรับภัยจากสึนามิเป็นประจาทุกปี เช่นกาหนดเส้นทางหนีภัยสึนามิ สถานที่ในการ อพยพ และแหล่งสะสมน้าสะอาด เป็นต้น 9. จัดวางผังเมืองให้เหมาะสม บริเวณแหล่งที่อาศัยควรมีระยะห่างจากชายฝั่ง 10. ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้ประชาชนในเรื่องการป้องกันและบรรเทาภัยจากสึนามิและแผ่นดินไหว 11. วางแผนล่วงหน้า หากเกิดสถานการณ์ขึ้นจริง ในเรื่องการประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกาหนด ขั้นตอนในด้านการช่วยเหลือบรรเทาภัย ด้านสาธารณะสุข การรื้อถอนและฟื้นฟูสิ่งก่อสร้าง เป็นต้น รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างความลึก ความเร็ว และความยาวคลื่นของสึนามิ (www.globalsecurity.org/eye/images/tsunami-3.jpg)
  • 7. รูปที่ 2 ศูนย์กลางแผ่นดินไหวของเหตุการณ์ 26 ธันวาคม 2547 และ 28 มีนาคม 2548 พร้อมทั้งแผ่นดินไหวระลอกหลังในมหาสมุทรอินเดีย (www.emsc-csem.org)
  • 8. รูปที่ 3 ภาพจาลองสามมิติจากข้อมูลโซนาร์ของพื้นท้องทะเลนอกชายฝั่งเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย บริเวณรอยต่อของแผ่นเปลือกโลกอินเดีย และแผ่นเปลือกโลกพม่า ที่พบหลักฐานของดินถล่มใต้ทะเล (Landslip) ภาพนี้มองไปทิศใต้ (http://news.bbc.co.uk/1/shared/sp1/hi/pop_ups/05/sci_nat_asian_tsunami_rupture_zone/html/2.stm)