SlideShare a Scribd company logo
บทท่ี ๕
                         การเปรียบเทียบคดีอาญา

       ป.วิ.อ. มาตรา ๓๙ บัญญัติว่าสิทธิการนำ าคดีอาญามาฟ้ องระงับเม่ ือคดีเลิก
กันตาม ป.วิ.อ.ม.๓๗ คือการ “เปรียบเทียบ” ตาม ป.วิ.อ.ม.๓๗ และ ม.๓๘ อัน
เป็ นการทำาให้คดีเล็กๆน้ อยๆท่ีมีทางเลิกกันได้ในชันสอบสวนสินสุดลงในเบ้ือง
                                                    ้          ้
ต้น มิต้องนำ าขึ้นส่่ศาลโดยไม่จำาเป็ น (ฎีกาท่ี ๑๑๐๐/๒๕๑๖)
       คดีอาญาจึงเลิกกันได้มี ๒ วิธี
       (๑) ผ้่กระทำาผิดยอมเสียค่าปรับในอัตราอย่างส่งในคดีอาญาท่ีมีโทษปรับ
สถานเดียวและชำาระค่าปรับในอัตราอย่างส่งก่อนศาลพิจารณา หรือก่อนศาล
เร่ิมต้นสืบพยาน ตาม ป.วิ.อ.ม.๓๗ (๑)
       (๒) ผ้่ต้องหาชำาระค่าปรับท่ีมีการเปรียบเทียบตาม ป.วิ อ. ม.๓๗ (๒),(๓)
       และ (๔)

หลักเกณฑ์และเง่ ือนไขในการเปรียบเทียบปรับ
ความผิดท่ีเปรียบเทียบปรับได้ (ป.วิ.อ.ม.๓๗ )
       (๑) คดีท่ีมีโทษปรับสถานเดียวอย่างส่งไม่เกินหน่ ึงหม่ ืนบาท
       (๒) ความผิดท่ีเป็ นลหุโทษ คือความผิดซ่ ึงต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกิน
หน่ ึงเดือน หรือปรับไม่เกิน      หน่ ึงพันบาทหรือทังจำาทังปรับ (ป.อ.ม.๑๐๒)
                                                   ้     ้
       (๓) ความผิดต่อกฎหมายเก่ียวกับภาษี อากร ซ่ ึงมีโทษปรับอย่างส่งไม่เกิน
หน่ ึงหม่ ืนบาท ทังนี้แม้ว่าจะมีโทษจำาคุกด้วยก็ตาม หากสามารถลงโทษปรับ
                  ้
สถานเดียวได้และเป็ นโทษปรับอย่างส่งไม่เกินหน่ ึงหม่ ืนบาท ก็สามารถ
เปรียบเทียบได้
       (๔) คดีซ่ึงเปรียบเทียบได้ตามกฎหมายอ่ ืน

ผ้้มีอำานาจเปรียบเทียบ
      (๑) พนั กงานสอบสวนตาม ป.วิ.อ.ม.๓๗ (๒) และตาม พ.ร.บ.การเปรียบ
เทียบคดีอาญา พ.ศ. ๒๔๘๑ ม. ๔ แก้ไขเพ่ิมเติมฉบับท่ี ๓ พ.ศ. ๒๕๒๙ และ
ต้องเป็ นพนั กงานสอบสวนผ้่มีอำานาจตาม ป.วิ.อ.ม.๑๘,๑๙ และ ๒๐
      (๒) ในเขตกรุงเทพมหานคร นอกจากให้อำานาจพนั กงานสอบสวนทำาการ
เปรียบเทียบแล้ว ป.วิ.อ.       ม.๓๗(๓) ยังให้อำานาจนายตำารวจประจำาท้องท่ี
ตำาแหน่ งสารวัตรขึ้นไป หรือนายตำารวจชันสัญญาบัตรผ้่ทำาการในตำาแหน่ งนั ้นๆ
                                          ้
มีอำานาจเปรียบเทียบได้ด้วย แต่มีข้อสังเกตว่า หากเป็ นความผิดต่อกฎหมาย
ภาษี อากร นายตำารวจตำาแหน่ งสารวัตรซ่ ึงมิได้เป็ นพนั กงานสอบสวนไม่มี
อำานาจเปรียบเทียบปรับ
      (๓) พนั กงานเจ้าหน้ าท่ีผ้่มีอำานาจตามกฎหมายอ่ ืน ซ่ ึงได้ระบุไว้ชดแจ้งให้
                                                                        ั
พนั กงานเจ้าหน้ าท่ีเปรียบเทียบได้
121

วิธการเปรียบเทียบ (ป.วิ.อ.ม.๓๘)
   ี
       (๑) ถ้าคดีอย่่ในอำานาจเปรียบเทียบ และพนั กงานสอบสวนเห็นว่าผ้่
ต้องหาไม่ควรรับโทษจำาคุก พนั กงานสอบสวนชอบท่ีจะพ่ดชีแจงให้ผ้่เสียหาย
                                                            ้
และผ้่ต้องหาเข้าใจ ถ้าค่่กรณี ยินยอมให้เปรียบเทียบก็ให้บันทึกการเปรียบเทียบ
ไว้ในสมุดบันทึกและสำานวนคดีเปรียบเทียบ
       การใช้บันทึกและสำานวนคดีเปรียบเทียบให้แยกเป็ นประเภทคดีดังนี้
               ๑. คดีอาญาทัวไป่
               ๒. คดีความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการจราจรทางบก
       (๒) ถ้าเป็ นคดีท่ีมีค่าตอบแทนนอกจากจำานวนเงินท่ีเปรียบเทียบแล้ว
หากผ้่เสียหายและผ้่ต้องหายินยอมตกลงในค่าทดแทน ก็จดการไปตามท่ีทัง
                                                          ั             ้
สองฝ่ ายตกลงกันได้ ถ้าไม่ตกลงก็ให้ลงรายงานประจำาวันไว้            เป็ นหลัก
ฐานเพ่ ือค่่กรณี จะได้ฟ้องเรียกทางศาลอีกส่วนหน่ ึง
       (๓) คดีใดท่ีพนั กงานสอบสวนได้รวบรวมพยานหลักฐานไว้แล้ว ก่อนท่ีจะ
มีการเปรียบเทียบให้นำาหลักฐานดังกล่าวมารวมกับบันทึกและสำานวนคดี
เปรียบเทียบด้วย
       เม่ ือเปรียบเทียบแล้วให้บันทึกลงรายงานประจำาวันเป็ นรายคดีหรือรวม
กันหลายๆคดี โดยให้ปรากฏ เลขคดี ช่ ือผ้่ต้องหา ฐานความผิด จำานวนเงินท่ี
เปรียบเทียบและอ่ ืนๆ เช่น ในคดีท่ีอาจมีการเรียกค่าเสียหายกันเป็ นต้น
       (๔) การกำาหนดเงินค่าเปรียบเทียบแก่ผ้่กระทำาผิด ให้พนั กงานสอบสวน
ใช้ดุลยพินิจโดยคำานึ งถึงฐานะของผ้่กระทำาผิดและความร้ายแรงของความผิด
แต่ต้องไม่เกินกว่าท่ีกฎหมายบัญญัติไว้ และพนั กงานสอบสวนอาจผ่อนผันให้ผ้่
ต้องหาชำาระเงินภายในกำาหนด ๑๕ วันก็ได้ ถ้าครบกำาหนดไม่ชำาระก็ให้ดำาเนิ น
คดีทางศาลต่อไป
        (๕) สำานวนคดีท่ีอย่่ในอำานาจเปรียบเทียบ แต่ผ้่ต้องหาไม่ยอมให้ทำาการ
เปรียบเทียบ เม่ ือพนั กงานสอบสวนส่งสำานวนการสอบสวนไปยังพนั กงาน
อัยการดำาเนิ นการฟ้ อง หากผ้่ต้องหาเกิดสมัครใจยินยอมให้เปรียบเทียบ และ
พนั กงานอัยการสังเปรียบเทียบ ก็ให้พนั กงานสอบสวนรับสำานวนคืนมาทำาการ
                    ่
เปรียบเทียบ (ป.วิ.อ.ม.๑๔๔)
        (๖) คดีอาญาท่ีมีโทษปรับสถานเดียว ตาม ป.วิ.อ.ม.๓๗(๑) และผ้่กระทำา
ผิดนำ าเงินค่าปรับอย่างส่งตามท่ีกฎหมายกำาหนดไว้มาชำาระเพ่ ือขอให้เลิกคดี ให้
พนั กงานเจ้าหน้ าท่ีรับเงินค่าปรับย่างส่งตามท่ีกฎหมายกำาหนดไว้ ส่วนการ
ปฏิบัติในการรับเงินนั ้น ให้ใช้บันทึกการเปรียบเทียบคดีอาญาธรรมดา โดยใช้
เลขลำาดับเรียงกันไป และอนุโลมปฏิบัติตามวิธีเปรียบเทียบคดีอาญาทุกประการ
ส่วนเงินค่าปรับอย่างส่งนั ้นให้พนั กงานสอบสวน ส่งมอบให้หัวหน้ าสถานี เพ่ ือ
นำ าส่งกองการเงิน ตร. หรือคลังจังหวัดแล้วแต่กรณี

เงินค่าปรับและการถอนเงินค่าปรับ
122

       (๑) การรับเงิน ให้ผ้่ทำาการเปรียบเทียบออกใบเสร็จรับเงินให้ผ้่ต้องหารับ
ไป ส่วนการเก็บรักษาเงิน           ส่งเงิน ให้ปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการนี้โดย
เฉพาะ เพ่ ือนำ าเงินนั ้นส่งเป็ นผลประโยชน์ของแผ่นดินต่อไป
       (๒) ถ้าพนั กงานอัยการเห็นว่าการเปรียบเทียบไม่ชอบด้วยกฎหมายให้
พนั กงานสอบสวนจัดการคืนเงินค่าปรับให้แก่ผ้่ต้องหา
       (๓) การถอนเงินค่าปรับท่ีนำาส่งแล้วคืนให้แก่ผ้่ต้องหา ให้พนั กงาน
สอบสวนทำารายงานถอนคดีโดยทันที และเม่ ือถอนเงินค่าปรับคืนมาแล้วให้
พนั กงานสอบสวนแจ้งผ้่ต้องหามารับเงินคืนโดยบันทึกให้ผ้่ต้องหาลงลายมือช่ ือ
รับเงินไว้เป็ นหลักฐาน ถ้าผ้่นั้นไม่มารับให้หัวหน้ าพนั กงานสอบสวนเก็บรักษา
ไว้ตามระเบียบของทางราชการ

ของกลางในคดีเปรียบเทียบ
         (๑) ในคดีเปรียบเทียบมีของกลางท่ีจะต้องริบตามกฎหมายหรือไม่ก็ตาม
ถ้าผ้่ต้องหาหรือเจ้าของยินยอมยกให้เป็ นของแผ่นดิน ก็ให้พนั กงานสอบสวน
บันทึกคำายินยอมรับไว้ต่อไปได้
         (๒) ของกลางในคดีอาญาซ่ ึงพนั กงานสอบสวนมีอำานาจเปรียบเทียบได้
นั ้น ถ้าปรากฏว่าของกลางดังกล่าวเป็ นของผ้่เสียหายควรได้คืน เช่นของกลาง
นั ้นเป็ นของผ้่เสียหายโดยชอบ และไม่มีผ้่โต้เถียงกรรมสิทธิ ก็ให้พนั กงาน
                                                           ์
สอบสวนคืนของกลางให้ผ้่เสียหายรับไป พร้อมทังให้ลงลายมือช่ ือรับของกลาง
                                                 ้
ไว้เป็ นหลักฐาน ในสำานวน แต่ถ้าพนั กงานสอบสวนไม่มีอำานาจสังริบของ่
กลาง โดยอำานาจริบของกลางเป็ นของศาลโดยเฉพาะ ตาม ป.อ.ม.๓๒,๓๓ และ
๓๔ ดังนั ้นของกลางส่ิงใดควรริบตามกฎหมาย พนั กงานสอบสวนต้องปฏิบัติ
ดังนี้ คือเก็บรักษาของไว้เพ่ ือดำาเนิ นการตาม ป.พ.พ.ม.๑๓๒๘
         (๓) ในกรณี ท่ีพนั กงานสอบสวนได้เปรียบเทียบผ้่ต้องหา และผ้่ต้องหา
ยอมชำาระค่าปรับ แต่ไม่ยอมยกของกลางอันเป็ นของผิดกฎหมายให้เป็ นของ
หลวง เช่นนี้ให้พนั กงานสอบสวนระงับคดีเปรียบเทียบนั ้นเสีย แล้วส่งสำานวน
การสอบสวนพร้อมตัวผ้่ต้องหา ไปยังพนั กงานอัยการเพ่ ือฟ้ องศาลให้ริบของ
กลางต่อไป

ข้อสังเกต
       ๑. เด็กอายุยังไม่เกินสิบปี กระทำาผิดไม่ว่าจะมีอัตราโทษเท่าใดไม่ต้องรับ
โทษ ให้พนั กงานสอบสวน ส่งตัวเด็กนั ้นให้พนั กงานเจ้าหน้ าท่ีตามกฎหมายว่า
ด้วยการคุ้มครองเด็ก เพ่ ือดำาเนิ นการคุ้มครองสวัสดิภาพตามกฎหมายว่าด้วย
การนั ้น (ป.อ. ม.๗๓)
       ๒. เด็กอายุกว่าสิบปี แต่ยังไม่เกินสิบห้าปี กระทำาผิดไม่ต้องรับโทษ แต่ให้
ศาลมีอำานาจดำาเนิ นการได้ตาม ป.อ.ม.๗๔ (๑)-(๕)

      ๓. ผ้่กระทำาผิดอายุกว่าสิบห้าปี ขึ้นไป พนั กงานสอบสวนสามารถเปรียบ
เทียบได้ตาม ป.อ.ม.๗๔
123

         ๔.การกระทำากรรมเดียว หากผิดกฎหมายบทเดียว บทนั ้นต้องอย่่ใน
อำานาจเปรียบเทียบได้ จึงจะทำาการเปรียบเทียบได้
         ๕.การกระทำากรรมเดียว หากผิดกฎหมายหลายบท ทุกบทต้องอย่่ใน
อำานาจเปรียบเทียบ จึงจะทำาการเปรียบเทียบได้ และจะต้องเปรียบเทียบบทหนั ก
เท่านั ้น (ฎีกาท่ี ๑๕๑๓/๒๕๓๒)
         ๖.การกระทำากรรมเดียว หากผิดกฎหมายหลายบท และบทหน่ ึงอย่่ใน
อำานาจท่ีจะเปรียบเทียบได้ แต่อีกบทหน่ ึงอย่่เกินอำานาจท่ีจะเปรียบเทียบได้
พนั กงานสอบสวนไม่มอำานาจเปรียบเทียบ (ฎีกาท่ี ๑๑๐๐/๒๕๑๖)
                          ี
         ๗.การกระทำาหลายกรรมหรือหลายกระทง การเปรียบเทียบก็พิจารณา
เป็ นรายข้อหา ข้อหาใดอัตราโทษอย่อำานาจเปรียบเทียบ เจ้าพนั กงานก็เปรียบ
                                       ่
เทียบได้ ข้อหาใดเปรียบเทียบไม่ได้ก็ดำาเนิ นคดีต่อไป
         ๘.ในคดีทำาร้ายร่างกาย ครังแรกผ้่เสียหายไม่ได้รบอันตรายแก่กาย
                                   ้                        ั
พนั กงานสอบสวนจึงเปรียบเทียบในความผิดตาม ป.อ.ม.๓๙๑ ซ่ ึงเป็ นความ
ผิดลหุโทษ และผ้่ต้องหาชำาระค่าปรับตามท่ีพนั กงานสอบสวนเปรียบเทียบแล้ว
ต่อมากลับปรากฏว่าบาดแผลท่ีได้รบร้ายแรงจนเป็ นอันตรายสาหัส เป็ นความ
                                     ั
ผิดตาม ป.อ.         ม.๒๙๗ ซ่ ึงมิใช่ความผิดลหุโทษ เป็ นคดีท่ีไม่อาจเปรียบเทียบ
ได้ ดังนั ้นการเปรียบเทียบของพนั กงานสอบสวนไม่มีผลทำาให้สิทธินำาคดีอาญา
มาฟ้ องของโจทก์ระงับไป ผ้่เสียหายมีสิทธิดำาเนิ นคดีกับผ้่ต้องหาในการกระทำา
ดังกล่าวได้ (ฎีกาท่ี ๓๕๔/๒๕๔๑)
         ๙. ความผิดท่ีพนั กงานสอบสวนเปรียบเทียบนั ้น ถ้าเป็ นคดีท่ีเกินอำานาจ
ท่ีจะเปรียบเทียบแล้ว คดีย่อม ไม่เลิกกัน ผ้่เสียหายยังมีสิทธิท่ีจะนำ าคดีมาฟ้ อง
ต่อศาลได้ (ฎีกาท่ี ๓๖๕/๒๕๐๒)
         ๑๐. บันทึกเปรียบเทียบท่ีจะต้องส่งให้พนั กงานอัยการตาม ป.วิ.อ.ม.
๑๔๒ วรรคส่ีนั้น หมายถึงกรณี              ผ้่เปรียบเทียบคือพนั กงานสอบสวน หาก
เป็ นการเปรียบเทียบโดยบุคคลหรือคณะกรรมการตามกฎหมายพิเศษอ่ ืนๆ ก็ไม่
ต้องอย่่ภายใต้บังคับของ ป.วิ.อ.ม.๑๔๒ วรรคส่ี ท่ีจะต้องส่งให้พนั กงานอัยการ
ตรวจสอบแต่อย่างใด
         ๑๑. การเปรียบเทียบตาม ป.วิ.อ.ม.๓๗(๑) ในคดีท่ีมีโทษปรับสถานเดียว
เม่ ือผ้่กระทำาผิดยินยอมเสียค่าปรับในอัตราอย่างส่งสำาหรับความผิดนั ้นแก่
พนั กงานเจ้าหน้ าท่ีก่อนศาลพิจารณา ในคดีอาญาการพิจารณาของศาลเร่ิมจาก
ท่ีศาลมีคำาสังรับคำาฟ้ องของโจทก์ไว้แล้ว ซ่ ึงรวมถึงในชันไต่สวนม่ลฟ้ อง ซ่ ึงแตก
              ่                                           ้
ต่างกับคดีแพ่ง โดยในคดีแพ่งนั ้นเร่ิมตังแต่ย่ืนฟ้ องต่อศาล ดังนั ้นตาม
                                             ้
ป.วิ.อ.ม.๓๗(๑) แสดงให้เห็นว่าผ้่กระทำาผิดจะต้องยินยอมเสียค่าปรับให้กับ
พนั กงานเจ้าหน้ าท่ีก่อนท่ีศาลจะรับฟ้ องคดีอาญาแล้วเท่านั ้น จะไปเสียค่าปรับ
ให้กับศาลไม่ได้
         ๑๒. ตาม ป.อ.ม.๗๙ ในคดีท่ีมีโทษปรับสถานเดียวถ้าผ้่ต้องหาว่ากระทำา
ความผิดนำ าค่าปรับในอัตราส่งสำาหรับความผิดนั ้นมาชำาระก่อนท่ีศาลเร่ิมต้นสืบ
พยานให้คดีนั้นเป็ นอันระงับไป การชำาระค่าปรับตาม ป.อ. ม. ๗๙ มี ๒
ลักษณะ คือ
124

              (๑) การชำาระค่าปรับก่อนท่ีศาลรับฟ้ องคดี เป็ นกรณี ท่ียังอย่่ใน
อำานาจของพนั กงานสอบสวนหรือพนั กงานเจ้าหน้ าท่ี ผ้่ต้องหาสามารถชำาระค่า
ปรับต่อพนั กงานสอบสวนหรือพนั กงานเจ้าหน้ าท่ีได้ แต่ไม่สามารถชำาระค่าปรับ
ต่อศาลได้
              (๒) การชำาระค่าปรับหลังจากท่ีศาลรับฟ้ องคดีแล้ว เป็ นกรณี ท่ีศาล
รับฟ้ องคดีของโจทก์ไว้แล้ว และกำาหนดนั ดวันสืบพยานเรียบร้อยแล้ว ผ้่ต้องหา
นำ าค่าปรับมาชำาระโดยต้องชำาระต่อศาลท่ีรับฟ้ องคดี          ไว้พิจารณานั ้น จะ
กลับไปชำาระต่อพนั กงานสอบสวนหรือพนั กงานเจ้าหน้ าท่ีไม่ได้ เพราะเลยขัน        ้
ตอนของพนั กงานสอบสวนหรือเจ้าหน้ าท่ีมาแล้ว
       ๑๓. ในกรณี ความผิดท่ีรัฐเป็ นผ้่เสียหาย ไม่มีเอกชนเป็ นผ้่เสียหาย
โดยตรงพนั กงานสอบสวนไม่ต้องให้ผ้่เสียหายคนใดยินยอม โดยพนั กงาน
สอบสวนในฐานะเจ้าพนั กงานของรัฐเป็ นผ้่เสียหายอย่่แล้ว
       ๑๔. ในการกำาหนดค่าปรับซ่ ึงได้มคำาสังหรือระเบียบของเจ้ากระทรวง
                                         ี    ่
กำาหนดค่าปรับขันตำ่าไว้ พนั กงานสอบสวนต้องกำาหนดค่าปรับให้เป็ นไปตามคำา
                  ้
สังหรือระเบียบนั ้น
  ่
       ๑๕. การเปรียบเทียบไม่จำาเป็ นท่ีผ้่ต้องหาอย่่ด้วยก็ได้ เช่น กรมโรงงาน
อุตสาหกรรม ได้มี พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้กำาหนดเป็ นขันตอนการ    ้
พิจารณาเปรียบเทียบไว้โดยเฉพาะ เม่ ือผ้่ต้องหาลงช่ ือรับทราบข้อหา ให้การรับ
สารภาพและยินยอมชำาระค่าปรับตามหลักกฎหมายทัวไปแล้ว ไม่มีกฎหมาย
                                                       ่
ระบุให้ผ้่ต้องหาต้องอย่่ ต่อหน้ าคณะกรรมการเปรียบเทียบคดี และมิได้กำาหนด
ให้พนั กงานเจ้าหน้ าท่ีต้องส่งตัวไปพร้อมด้วย ดังนั ้นคณะกรรมการเปรียบเทียบ
สามารถทำาการเปรียบเทียบได้ โดยไม่จำาเป็ นต้องมีผ้่ต้องหาอย่่ต่อหน้ าแต่อย่าง
ใด ส่วนการนำ าเงินมาชำาระค่าปรับสามารถมอบหมายให้ผ้่อ่ืนนำ าเงินมาชำาระค่า
ปรับ และลงลายมือช่ ือแทนได้
(ข้อหารืออัยการส่งสุดท่ี ๘๐/๒๕๓๗ )
       ๑๖. การเปรียบเทียบปรับตาม ป.วิ.อ.ม.๓๘ เป็ นดุลยพินิจของเจ้า
พนั กงาน มิได้เป็ นบทบังคับให้ต้องเปรียบเทียบปรับ หากเจ้าพนั กงานเห็นว่าผ้่
ต้องหาควรถ่กดำาเนิ นคดีในศาล

การเปรียบเทียบคดีตามพระราชบัญญัตจราจรทางบก
                                ิ
(ระเบียบการตำารวจเก่ียวกับคดี ลักษณะท่ี ๙ บทท่ี ๓)
        (๑) การกระทำาผิดต่อ พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ นอกจากความ
ผิดท่กำาหนดไว้ในมาตรา ๑๖๐ วรรคสองให้พนั กงานสอบสวนผ้่มอำานาจทำาการ
      ี                                                            ี
สอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มีอำานาจเปรียบเทียบ
หรือว่ากล่าวตักเตือนได้
        (๒) วิธีการเปรียบเทียบตลอดจนการกำาหนดค่าเปรียบเทียบแก่ผ้่กระทำา
ผิด การส่งสำานวนการเปรียบเทียบให้พนั กงานอัยการ การรับเงินค่าปรับความ
ผิดท่ีมีโทษปรับสถานเดียวซ่ ึงผ้่กระทำาผิดนำ าเงินค่าปรับอย่างส่งสำาหรับความผิด
125

นั ้นมาชำาระเพ่ ือขอให้คดีเลิก ให้ปฏิบัติอย่างเดียวกับการเปรียบเทียบคดีอาญา
อ่ ืนๆโดยอนุโลม
       (๓) ให้พนั กงานสอบสวน ผ้ทำาการเปรียบเทียบออกใบเสร็จรับเงินให้แก่
                                          ่
ผ้่ต้องหารับไปโดยให้ผ้่ต้องหาลงลายมือช่ ือไว้เป็ นสำาคัญในต้นขัวใบเสร็จรับเงิน
                                                                   ้
นั ้น
       (๔) การชำาระค่าปรับตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ ทางไปรษณี ย์
แม้ผ้่ได้รบใบสังไม่ปรากฏตัวต่อพนั กงานสอบสวน เม่ ือชำาระค่าปรับครบถ่กต้อง
          ั      ่
แล้วให้คดีเป็ นอันเลิกกัน พนั กงานสอบสวนชอบท่ีจะต้องบันทึกการเปรียบ
เทียบแล้วส่งไปยังพนั กงานอัยการเพ่ ือตรวจสอบตาม ป.วิ อ. มาตรา ๑๔๒
วรรคท้าย (ข้อหารืออัยการส่งสุดท่ี ๕๖/๒๕๔๐ )
       (๕) ผ้่ต้องหาลงลายมือช่ ือยินยอมชำาระค่าปรับในใบสังแล้ว ผ้่ต้องหา
                                                                ่
สามารถมอบหมายให้ผ้่อ่ืนนำ าใบสังไปชำาระค่าปรับแทนได้โดยผ้่ต้องหาไม่ต้อง
                                        ่
ไปรายงานตัวต่อพนั กงานสอบสวน และผ้่ไปชำาระค่าปรับแทน รับใบขับข่ีและ
ใบเสร็จรับเงินให้กับผ้่ท่ีได้รับใบสังนั ้นได้ โดยผ้่ต้องหาไม่ต้องไปรายงานตัวต่อ
                                    ่
พนั กงานสอบสวนเพ่ ือให้พนั กงานสอบสวนแจ้งข้อหาให้ทราบตาม ป.วิ อ.
มาตรา ๑๓๔ ตามหลักกฎหมายทัวไป เพราะตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.
                                      ่
๒๕๒๒ มาตรา ๑๔๑ ซ่ ึงเป็ นกฎหมายพิเศษได้บัญญัติให้ผ้่ขับข่ีหรือเจ้าของรถ
สามารถชำาระค่าปรับตามท่ีเปรียบเทียบไว้ในใบสัง ณ สถานท่ีและภายในวัน
                                                     ่
เวลา ท่ีระบุไว้ในใบสังได้โดยไม่ต้องไปรายงานตัว (คณะกรรมการกฤษฎีกา
                        ่
คณะท่ี ๙ นร.๐๖๐๑/๕๐๖ ลง ๗ มิถุนายน ๒๕๔๓)
       (๖) จำาเลยให้การับสารภาพในชันสอบสวนในข้อหาขับรถประมาทเป็ น
                                            ้
เหตุให้ทรัพย์สินของผ้่อ่ืนได้รับเสียหาย และยินยอมให้พนั กงานสอบสวน
เปรียบเทียบปรับ ผลของการเปรียบเทียบปรับไม่ใช่คำาพิพากษาในส่วนอาญา
ตาม ป.วิ อ.มาตรา ๔๖ ดังนั ้นการพิพากษาคดีส่วนแพ่งจึงไม่จำาต้องถือข้อเท็จ
จริงตามดังท่ีบัญญัติไว้ในบทมาตราดังกล่าว และจำาเลยอาจนำ าสืบโต้แย้งเป็ น
อย่างอ่ ืนได้ (ฎีกาท่ี ๔๙๔๙/๒๕๒๘)

More Related Content

What's hot

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่โพรเจกไทล์
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่โพรเจกไทล์ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่โพรเจกไทล์
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่โพรเจกไทล์
Nalai Rinrith
 
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
Preeyapat Lengrabam
 
การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558
Rachanont Hiranwong
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาNattarika Wonkumdang
 
พรบ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2550
พรบ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2550พรบ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2550
พรบ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2550Poramate Minsiri
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
Wichai Likitponrak
 
(ร่าง) คู่มือการตรวจ Gpp .sep 2015
(ร่าง) คู่มือการตรวจ Gpp .sep 2015(ร่าง) คู่มือการตรวจ Gpp .sep 2015
(ร่าง) คู่มือการตรวจ Gpp .sep 2015
Kanon Thamcharoen
 
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิคู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
Utai Sukviwatsirikul
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
Prachoom Rangkasikorn
 
สัญลักษณ์แทนการบวก
สัญลักษณ์แทนการบวกสัญลักษณ์แทนการบวก
สัญลักษณ์แทนการบวก
kunkrooyim
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
Rachanont Hiranwong
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
พัน พัน
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ดอกหญ้า ธรรมดา
 
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
kruood
 
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Utai Sukviwatsirikul
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
PariwanButsat
 

What's hot (20)

Fluid
FluidFluid
Fluid
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่โพรเจกไทล์
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่โพรเจกไทล์ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่โพรเจกไทล์
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่โพรเจกไทล์
 
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
 
การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสา
 
พรบ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2550
พรบ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2550พรบ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2550
พรบ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2550
 
Mou
MouMou
Mou
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
 
(ร่าง) คู่มือการตรวจ Gpp .sep 2015
(ร่าง) คู่มือการตรวจ Gpp .sep 2015(ร่าง) คู่มือการตรวจ Gpp .sep 2015
(ร่าง) คู่มือการตรวจ Gpp .sep 2015
 
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิคู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
 
ป.1
ป.1ป.1
ป.1
 
สัญลักษณ์แทนการบวก
สัญลักษณ์แทนการบวกสัญลักษณ์แทนการบวก
สัญลักษณ์แทนการบวก
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
 
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
 
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 

เปรียบเทียบปรับ

  • 1. บทท่ี ๕ การเปรียบเทียบคดีอาญา ป.วิ.อ. มาตรา ๓๙ บัญญัติว่าสิทธิการนำ าคดีอาญามาฟ้ องระงับเม่ ือคดีเลิก กันตาม ป.วิ.อ.ม.๓๗ คือการ “เปรียบเทียบ” ตาม ป.วิ.อ.ม.๓๗ และ ม.๓๘ อัน เป็ นการทำาให้คดีเล็กๆน้ อยๆท่ีมีทางเลิกกันได้ในชันสอบสวนสินสุดลงในเบ้ือง ้ ้ ต้น มิต้องนำ าขึ้นส่่ศาลโดยไม่จำาเป็ น (ฎีกาท่ี ๑๑๐๐/๒๕๑๖) คดีอาญาจึงเลิกกันได้มี ๒ วิธี (๑) ผ้่กระทำาผิดยอมเสียค่าปรับในอัตราอย่างส่งในคดีอาญาท่ีมีโทษปรับ สถานเดียวและชำาระค่าปรับในอัตราอย่างส่งก่อนศาลพิจารณา หรือก่อนศาล เร่ิมต้นสืบพยาน ตาม ป.วิ.อ.ม.๓๗ (๑) (๒) ผ้่ต้องหาชำาระค่าปรับท่ีมีการเปรียบเทียบตาม ป.วิ อ. ม.๓๗ (๒),(๓) และ (๔) หลักเกณฑ์และเง่ ือนไขในการเปรียบเทียบปรับ ความผิดท่ีเปรียบเทียบปรับได้ (ป.วิ.อ.ม.๓๗ ) (๑) คดีท่ีมีโทษปรับสถานเดียวอย่างส่งไม่เกินหน่ ึงหม่ ืนบาท (๒) ความผิดท่ีเป็ นลหุโทษ คือความผิดซ่ ึงต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกิน หน่ ึงเดือน หรือปรับไม่เกิน หน่ ึงพันบาทหรือทังจำาทังปรับ (ป.อ.ม.๑๐๒) ้ ้ (๓) ความผิดต่อกฎหมายเก่ียวกับภาษี อากร ซ่ ึงมีโทษปรับอย่างส่งไม่เกิน หน่ ึงหม่ ืนบาท ทังนี้แม้ว่าจะมีโทษจำาคุกด้วยก็ตาม หากสามารถลงโทษปรับ ้ สถานเดียวได้และเป็ นโทษปรับอย่างส่งไม่เกินหน่ ึงหม่ ืนบาท ก็สามารถ เปรียบเทียบได้ (๔) คดีซ่ึงเปรียบเทียบได้ตามกฎหมายอ่ ืน ผ้้มีอำานาจเปรียบเทียบ (๑) พนั กงานสอบสวนตาม ป.วิ.อ.ม.๓๗ (๒) และตาม พ.ร.บ.การเปรียบ เทียบคดีอาญา พ.ศ. ๒๔๘๑ ม. ๔ แก้ไขเพ่ิมเติมฉบับท่ี ๓ พ.ศ. ๒๕๒๙ และ ต้องเป็ นพนั กงานสอบสวนผ้่มีอำานาจตาม ป.วิ.อ.ม.๑๘,๑๙ และ ๒๐ (๒) ในเขตกรุงเทพมหานคร นอกจากให้อำานาจพนั กงานสอบสวนทำาการ เปรียบเทียบแล้ว ป.วิ.อ. ม.๓๗(๓) ยังให้อำานาจนายตำารวจประจำาท้องท่ี ตำาแหน่ งสารวัตรขึ้นไป หรือนายตำารวจชันสัญญาบัตรผ้่ทำาการในตำาแหน่ งนั ้นๆ ้ มีอำานาจเปรียบเทียบได้ด้วย แต่มีข้อสังเกตว่า หากเป็ นความผิดต่อกฎหมาย ภาษี อากร นายตำารวจตำาแหน่ งสารวัตรซ่ ึงมิได้เป็ นพนั กงานสอบสวนไม่มี อำานาจเปรียบเทียบปรับ (๓) พนั กงานเจ้าหน้ าท่ีผ้่มีอำานาจตามกฎหมายอ่ ืน ซ่ ึงได้ระบุไว้ชดแจ้งให้ ั พนั กงานเจ้าหน้ าท่ีเปรียบเทียบได้
  • 2. 121 วิธการเปรียบเทียบ (ป.วิ.อ.ม.๓๘) ี (๑) ถ้าคดีอย่่ในอำานาจเปรียบเทียบ และพนั กงานสอบสวนเห็นว่าผ้่ ต้องหาไม่ควรรับโทษจำาคุก พนั กงานสอบสวนชอบท่ีจะพ่ดชีแจงให้ผ้่เสียหาย ้ และผ้่ต้องหาเข้าใจ ถ้าค่่กรณี ยินยอมให้เปรียบเทียบก็ให้บันทึกการเปรียบเทียบ ไว้ในสมุดบันทึกและสำานวนคดีเปรียบเทียบ การใช้บันทึกและสำานวนคดีเปรียบเทียบให้แยกเป็ นประเภทคดีดังนี้ ๑. คดีอาญาทัวไป่ ๒. คดีความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการจราจรทางบก (๒) ถ้าเป็ นคดีท่ีมีค่าตอบแทนนอกจากจำานวนเงินท่ีเปรียบเทียบแล้ว หากผ้่เสียหายและผ้่ต้องหายินยอมตกลงในค่าทดแทน ก็จดการไปตามท่ีทัง ั ้ สองฝ่ ายตกลงกันได้ ถ้าไม่ตกลงก็ให้ลงรายงานประจำาวันไว้ เป็ นหลัก ฐานเพ่ ือค่่กรณี จะได้ฟ้องเรียกทางศาลอีกส่วนหน่ ึง (๓) คดีใดท่ีพนั กงานสอบสวนได้รวบรวมพยานหลักฐานไว้แล้ว ก่อนท่ีจะ มีการเปรียบเทียบให้นำาหลักฐานดังกล่าวมารวมกับบันทึกและสำานวนคดี เปรียบเทียบด้วย เม่ ือเปรียบเทียบแล้วให้บันทึกลงรายงานประจำาวันเป็ นรายคดีหรือรวม กันหลายๆคดี โดยให้ปรากฏ เลขคดี ช่ ือผ้่ต้องหา ฐานความผิด จำานวนเงินท่ี เปรียบเทียบและอ่ ืนๆ เช่น ในคดีท่ีอาจมีการเรียกค่าเสียหายกันเป็ นต้น (๔) การกำาหนดเงินค่าเปรียบเทียบแก่ผ้่กระทำาผิด ให้พนั กงานสอบสวน ใช้ดุลยพินิจโดยคำานึ งถึงฐานะของผ้่กระทำาผิดและความร้ายแรงของความผิด แต่ต้องไม่เกินกว่าท่ีกฎหมายบัญญัติไว้ และพนั กงานสอบสวนอาจผ่อนผันให้ผ้่ ต้องหาชำาระเงินภายในกำาหนด ๑๕ วันก็ได้ ถ้าครบกำาหนดไม่ชำาระก็ให้ดำาเนิ น คดีทางศาลต่อไป (๕) สำานวนคดีท่ีอย่่ในอำานาจเปรียบเทียบ แต่ผ้่ต้องหาไม่ยอมให้ทำาการ เปรียบเทียบ เม่ ือพนั กงานสอบสวนส่งสำานวนการสอบสวนไปยังพนั กงาน อัยการดำาเนิ นการฟ้ อง หากผ้่ต้องหาเกิดสมัครใจยินยอมให้เปรียบเทียบ และ พนั กงานอัยการสังเปรียบเทียบ ก็ให้พนั กงานสอบสวนรับสำานวนคืนมาทำาการ ่ เปรียบเทียบ (ป.วิ.อ.ม.๑๔๔) (๖) คดีอาญาท่ีมีโทษปรับสถานเดียว ตาม ป.วิ.อ.ม.๓๗(๑) และผ้่กระทำา ผิดนำ าเงินค่าปรับอย่างส่งตามท่ีกฎหมายกำาหนดไว้มาชำาระเพ่ ือขอให้เลิกคดี ให้ พนั กงานเจ้าหน้ าท่ีรับเงินค่าปรับย่างส่งตามท่ีกฎหมายกำาหนดไว้ ส่วนการ ปฏิบัติในการรับเงินนั ้น ให้ใช้บันทึกการเปรียบเทียบคดีอาญาธรรมดา โดยใช้ เลขลำาดับเรียงกันไป และอนุโลมปฏิบัติตามวิธีเปรียบเทียบคดีอาญาทุกประการ ส่วนเงินค่าปรับอย่างส่งนั ้นให้พนั กงานสอบสวน ส่งมอบให้หัวหน้ าสถานี เพ่ ือ นำ าส่งกองการเงิน ตร. หรือคลังจังหวัดแล้วแต่กรณี เงินค่าปรับและการถอนเงินค่าปรับ
  • 3. 122 (๑) การรับเงิน ให้ผ้่ทำาการเปรียบเทียบออกใบเสร็จรับเงินให้ผ้่ต้องหารับ ไป ส่วนการเก็บรักษาเงิน ส่งเงิน ให้ปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการนี้โดย เฉพาะ เพ่ ือนำ าเงินนั ้นส่งเป็ นผลประโยชน์ของแผ่นดินต่อไป (๒) ถ้าพนั กงานอัยการเห็นว่าการเปรียบเทียบไม่ชอบด้วยกฎหมายให้ พนั กงานสอบสวนจัดการคืนเงินค่าปรับให้แก่ผ้่ต้องหา (๓) การถอนเงินค่าปรับท่ีนำาส่งแล้วคืนให้แก่ผ้่ต้องหา ให้พนั กงาน สอบสวนทำารายงานถอนคดีโดยทันที และเม่ ือถอนเงินค่าปรับคืนมาแล้วให้ พนั กงานสอบสวนแจ้งผ้่ต้องหามารับเงินคืนโดยบันทึกให้ผ้่ต้องหาลงลายมือช่ ือ รับเงินไว้เป็ นหลักฐาน ถ้าผ้่นั้นไม่มารับให้หัวหน้ าพนั กงานสอบสวนเก็บรักษา ไว้ตามระเบียบของทางราชการ ของกลางในคดีเปรียบเทียบ (๑) ในคดีเปรียบเทียบมีของกลางท่ีจะต้องริบตามกฎหมายหรือไม่ก็ตาม ถ้าผ้่ต้องหาหรือเจ้าของยินยอมยกให้เป็ นของแผ่นดิน ก็ให้พนั กงานสอบสวน บันทึกคำายินยอมรับไว้ต่อไปได้ (๒) ของกลางในคดีอาญาซ่ ึงพนั กงานสอบสวนมีอำานาจเปรียบเทียบได้ นั ้น ถ้าปรากฏว่าของกลางดังกล่าวเป็ นของผ้่เสียหายควรได้คืน เช่นของกลาง นั ้นเป็ นของผ้่เสียหายโดยชอบ และไม่มีผ้่โต้เถียงกรรมสิทธิ ก็ให้พนั กงาน ์ สอบสวนคืนของกลางให้ผ้่เสียหายรับไป พร้อมทังให้ลงลายมือช่ ือรับของกลาง ้ ไว้เป็ นหลักฐาน ในสำานวน แต่ถ้าพนั กงานสอบสวนไม่มีอำานาจสังริบของ่ กลาง โดยอำานาจริบของกลางเป็ นของศาลโดยเฉพาะ ตาม ป.อ.ม.๓๒,๓๓ และ ๓๔ ดังนั ้นของกลางส่ิงใดควรริบตามกฎหมาย พนั กงานสอบสวนต้องปฏิบัติ ดังนี้ คือเก็บรักษาของไว้เพ่ ือดำาเนิ นการตาม ป.พ.พ.ม.๑๓๒๘ (๓) ในกรณี ท่ีพนั กงานสอบสวนได้เปรียบเทียบผ้่ต้องหา และผ้่ต้องหา ยอมชำาระค่าปรับ แต่ไม่ยอมยกของกลางอันเป็ นของผิดกฎหมายให้เป็ นของ หลวง เช่นนี้ให้พนั กงานสอบสวนระงับคดีเปรียบเทียบนั ้นเสีย แล้วส่งสำานวน การสอบสวนพร้อมตัวผ้่ต้องหา ไปยังพนั กงานอัยการเพ่ ือฟ้ องศาลให้ริบของ กลางต่อไป ข้อสังเกต ๑. เด็กอายุยังไม่เกินสิบปี กระทำาผิดไม่ว่าจะมีอัตราโทษเท่าใดไม่ต้องรับ โทษ ให้พนั กงานสอบสวน ส่งตัวเด็กนั ้นให้พนั กงานเจ้าหน้ าท่ีตามกฎหมายว่า ด้วยการคุ้มครองเด็ก เพ่ ือดำาเนิ นการคุ้มครองสวัสดิภาพตามกฎหมายว่าด้วย การนั ้น (ป.อ. ม.๗๓) ๒. เด็กอายุกว่าสิบปี แต่ยังไม่เกินสิบห้าปี กระทำาผิดไม่ต้องรับโทษ แต่ให้ ศาลมีอำานาจดำาเนิ นการได้ตาม ป.อ.ม.๗๔ (๑)-(๕) ๓. ผ้่กระทำาผิดอายุกว่าสิบห้าปี ขึ้นไป พนั กงานสอบสวนสามารถเปรียบ เทียบได้ตาม ป.อ.ม.๗๔
  • 4. 123 ๔.การกระทำากรรมเดียว หากผิดกฎหมายบทเดียว บทนั ้นต้องอย่่ใน อำานาจเปรียบเทียบได้ จึงจะทำาการเปรียบเทียบได้ ๕.การกระทำากรรมเดียว หากผิดกฎหมายหลายบท ทุกบทต้องอย่่ใน อำานาจเปรียบเทียบ จึงจะทำาการเปรียบเทียบได้ และจะต้องเปรียบเทียบบทหนั ก เท่านั ้น (ฎีกาท่ี ๑๕๑๓/๒๕๓๒) ๖.การกระทำากรรมเดียว หากผิดกฎหมายหลายบท และบทหน่ ึงอย่่ใน อำานาจท่ีจะเปรียบเทียบได้ แต่อีกบทหน่ ึงอย่่เกินอำานาจท่ีจะเปรียบเทียบได้ พนั กงานสอบสวนไม่มอำานาจเปรียบเทียบ (ฎีกาท่ี ๑๑๐๐/๒๕๑๖) ี ๗.การกระทำาหลายกรรมหรือหลายกระทง การเปรียบเทียบก็พิจารณา เป็ นรายข้อหา ข้อหาใดอัตราโทษอย่อำานาจเปรียบเทียบ เจ้าพนั กงานก็เปรียบ ่ เทียบได้ ข้อหาใดเปรียบเทียบไม่ได้ก็ดำาเนิ นคดีต่อไป ๘.ในคดีทำาร้ายร่างกาย ครังแรกผ้่เสียหายไม่ได้รบอันตรายแก่กาย ้ ั พนั กงานสอบสวนจึงเปรียบเทียบในความผิดตาม ป.อ.ม.๓๙๑ ซ่ ึงเป็ นความ ผิดลหุโทษ และผ้่ต้องหาชำาระค่าปรับตามท่ีพนั กงานสอบสวนเปรียบเทียบแล้ว ต่อมากลับปรากฏว่าบาดแผลท่ีได้รบร้ายแรงจนเป็ นอันตรายสาหัส เป็ นความ ั ผิดตาม ป.อ. ม.๒๙๗ ซ่ ึงมิใช่ความผิดลหุโทษ เป็ นคดีท่ีไม่อาจเปรียบเทียบ ได้ ดังนั ้นการเปรียบเทียบของพนั กงานสอบสวนไม่มีผลทำาให้สิทธินำาคดีอาญา มาฟ้ องของโจทก์ระงับไป ผ้่เสียหายมีสิทธิดำาเนิ นคดีกับผ้่ต้องหาในการกระทำา ดังกล่าวได้ (ฎีกาท่ี ๓๕๔/๒๕๔๑) ๙. ความผิดท่ีพนั กงานสอบสวนเปรียบเทียบนั ้น ถ้าเป็ นคดีท่ีเกินอำานาจ ท่ีจะเปรียบเทียบแล้ว คดีย่อม ไม่เลิกกัน ผ้่เสียหายยังมีสิทธิท่ีจะนำ าคดีมาฟ้ อง ต่อศาลได้ (ฎีกาท่ี ๓๖๕/๒๕๐๒) ๑๐. บันทึกเปรียบเทียบท่ีจะต้องส่งให้พนั กงานอัยการตาม ป.วิ.อ.ม. ๑๔๒ วรรคส่ีนั้น หมายถึงกรณี ผ้่เปรียบเทียบคือพนั กงานสอบสวน หาก เป็ นการเปรียบเทียบโดยบุคคลหรือคณะกรรมการตามกฎหมายพิเศษอ่ ืนๆ ก็ไม่ ต้องอย่่ภายใต้บังคับของ ป.วิ.อ.ม.๑๔๒ วรรคส่ี ท่ีจะต้องส่งให้พนั กงานอัยการ ตรวจสอบแต่อย่างใด ๑๑. การเปรียบเทียบตาม ป.วิ.อ.ม.๓๗(๑) ในคดีท่ีมีโทษปรับสถานเดียว เม่ ือผ้่กระทำาผิดยินยอมเสียค่าปรับในอัตราอย่างส่งสำาหรับความผิดนั ้นแก่ พนั กงานเจ้าหน้ าท่ีก่อนศาลพิจารณา ในคดีอาญาการพิจารณาของศาลเร่ิมจาก ท่ีศาลมีคำาสังรับคำาฟ้ องของโจทก์ไว้แล้ว ซ่ ึงรวมถึงในชันไต่สวนม่ลฟ้ อง ซ่ ึงแตก ่ ้ ต่างกับคดีแพ่ง โดยในคดีแพ่งนั ้นเร่ิมตังแต่ย่ืนฟ้ องต่อศาล ดังนั ้นตาม ้ ป.วิ.อ.ม.๓๗(๑) แสดงให้เห็นว่าผ้่กระทำาผิดจะต้องยินยอมเสียค่าปรับให้กับ พนั กงานเจ้าหน้ าท่ีก่อนท่ีศาลจะรับฟ้ องคดีอาญาแล้วเท่านั ้น จะไปเสียค่าปรับ ให้กับศาลไม่ได้ ๑๒. ตาม ป.อ.ม.๗๙ ในคดีท่ีมีโทษปรับสถานเดียวถ้าผ้่ต้องหาว่ากระทำา ความผิดนำ าค่าปรับในอัตราส่งสำาหรับความผิดนั ้นมาชำาระก่อนท่ีศาลเร่ิมต้นสืบ พยานให้คดีนั้นเป็ นอันระงับไป การชำาระค่าปรับตาม ป.อ. ม. ๗๙ มี ๒ ลักษณะ คือ
  • 5. 124 (๑) การชำาระค่าปรับก่อนท่ีศาลรับฟ้ องคดี เป็ นกรณี ท่ียังอย่่ใน อำานาจของพนั กงานสอบสวนหรือพนั กงานเจ้าหน้ าท่ี ผ้่ต้องหาสามารถชำาระค่า ปรับต่อพนั กงานสอบสวนหรือพนั กงานเจ้าหน้ าท่ีได้ แต่ไม่สามารถชำาระค่าปรับ ต่อศาลได้ (๒) การชำาระค่าปรับหลังจากท่ีศาลรับฟ้ องคดีแล้ว เป็ นกรณี ท่ีศาล รับฟ้ องคดีของโจทก์ไว้แล้ว และกำาหนดนั ดวันสืบพยานเรียบร้อยแล้ว ผ้่ต้องหา นำ าค่าปรับมาชำาระโดยต้องชำาระต่อศาลท่ีรับฟ้ องคดี ไว้พิจารณานั ้น จะ กลับไปชำาระต่อพนั กงานสอบสวนหรือพนั กงานเจ้าหน้ าท่ีไม่ได้ เพราะเลยขัน ้ ตอนของพนั กงานสอบสวนหรือเจ้าหน้ าท่ีมาแล้ว ๑๓. ในกรณี ความผิดท่ีรัฐเป็ นผ้่เสียหาย ไม่มีเอกชนเป็ นผ้่เสียหาย โดยตรงพนั กงานสอบสวนไม่ต้องให้ผ้่เสียหายคนใดยินยอม โดยพนั กงาน สอบสวนในฐานะเจ้าพนั กงานของรัฐเป็ นผ้่เสียหายอย่่แล้ว ๑๔. ในการกำาหนดค่าปรับซ่ ึงได้มคำาสังหรือระเบียบของเจ้ากระทรวง ี ่ กำาหนดค่าปรับขันตำ่าไว้ พนั กงานสอบสวนต้องกำาหนดค่าปรับให้เป็ นไปตามคำา ้ สังหรือระเบียบนั ้น ่ ๑๕. การเปรียบเทียบไม่จำาเป็ นท่ีผ้่ต้องหาอย่่ด้วยก็ได้ เช่น กรมโรงงาน อุตสาหกรรม ได้มี พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้กำาหนดเป็ นขันตอนการ ้ พิจารณาเปรียบเทียบไว้โดยเฉพาะ เม่ ือผ้่ต้องหาลงช่ ือรับทราบข้อหา ให้การรับ สารภาพและยินยอมชำาระค่าปรับตามหลักกฎหมายทัวไปแล้ว ไม่มีกฎหมาย ่ ระบุให้ผ้่ต้องหาต้องอย่่ ต่อหน้ าคณะกรรมการเปรียบเทียบคดี และมิได้กำาหนด ให้พนั กงานเจ้าหน้ าท่ีต้องส่งตัวไปพร้อมด้วย ดังนั ้นคณะกรรมการเปรียบเทียบ สามารถทำาการเปรียบเทียบได้ โดยไม่จำาเป็ นต้องมีผ้่ต้องหาอย่่ต่อหน้ าแต่อย่าง ใด ส่วนการนำ าเงินมาชำาระค่าปรับสามารถมอบหมายให้ผ้่อ่ืนนำ าเงินมาชำาระค่า ปรับ และลงลายมือช่ ือแทนได้ (ข้อหารืออัยการส่งสุดท่ี ๘๐/๒๕๓๗ ) ๑๖. การเปรียบเทียบปรับตาม ป.วิ.อ.ม.๓๘ เป็ นดุลยพินิจของเจ้า พนั กงาน มิได้เป็ นบทบังคับให้ต้องเปรียบเทียบปรับ หากเจ้าพนั กงานเห็นว่าผ้่ ต้องหาควรถ่กดำาเนิ นคดีในศาล การเปรียบเทียบคดีตามพระราชบัญญัตจราจรทางบก ิ (ระเบียบการตำารวจเก่ียวกับคดี ลักษณะท่ี ๙ บทท่ี ๓) (๑) การกระทำาผิดต่อ พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ นอกจากความ ผิดท่กำาหนดไว้ในมาตรา ๑๖๐ วรรคสองให้พนั กงานสอบสวนผ้่มอำานาจทำาการ ี ี สอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มีอำานาจเปรียบเทียบ หรือว่ากล่าวตักเตือนได้ (๒) วิธีการเปรียบเทียบตลอดจนการกำาหนดค่าเปรียบเทียบแก่ผ้่กระทำา ผิด การส่งสำานวนการเปรียบเทียบให้พนั กงานอัยการ การรับเงินค่าปรับความ ผิดท่ีมีโทษปรับสถานเดียวซ่ ึงผ้่กระทำาผิดนำ าเงินค่าปรับอย่างส่งสำาหรับความผิด
  • 6. 125 นั ้นมาชำาระเพ่ ือขอให้คดีเลิก ให้ปฏิบัติอย่างเดียวกับการเปรียบเทียบคดีอาญา อ่ ืนๆโดยอนุโลม (๓) ให้พนั กงานสอบสวน ผ้ทำาการเปรียบเทียบออกใบเสร็จรับเงินให้แก่ ่ ผ้่ต้องหารับไปโดยให้ผ้่ต้องหาลงลายมือช่ ือไว้เป็ นสำาคัญในต้นขัวใบเสร็จรับเงิน ้ นั ้น (๔) การชำาระค่าปรับตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ ทางไปรษณี ย์ แม้ผ้่ได้รบใบสังไม่ปรากฏตัวต่อพนั กงานสอบสวน เม่ ือชำาระค่าปรับครบถ่กต้อง ั ่ แล้วให้คดีเป็ นอันเลิกกัน พนั กงานสอบสวนชอบท่ีจะต้องบันทึกการเปรียบ เทียบแล้วส่งไปยังพนั กงานอัยการเพ่ ือตรวจสอบตาม ป.วิ อ. มาตรา ๑๔๒ วรรคท้าย (ข้อหารืออัยการส่งสุดท่ี ๕๖/๒๕๔๐ ) (๕) ผ้่ต้องหาลงลายมือช่ ือยินยอมชำาระค่าปรับในใบสังแล้ว ผ้่ต้องหา ่ สามารถมอบหมายให้ผ้่อ่ืนนำ าใบสังไปชำาระค่าปรับแทนได้โดยผ้่ต้องหาไม่ต้อง ่ ไปรายงานตัวต่อพนั กงานสอบสวน และผ้่ไปชำาระค่าปรับแทน รับใบขับข่ีและ ใบเสร็จรับเงินให้กับผ้่ท่ีได้รับใบสังนั ้นได้ โดยผ้่ต้องหาไม่ต้องไปรายงานตัวต่อ ่ พนั กงานสอบสวนเพ่ ือให้พนั กงานสอบสวนแจ้งข้อหาให้ทราบตาม ป.วิ อ. มาตรา ๑๓๔ ตามหลักกฎหมายทัวไป เพราะตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ. ่ ๒๕๒๒ มาตรา ๑๔๑ ซ่ ึงเป็ นกฎหมายพิเศษได้บัญญัติให้ผ้่ขับข่ีหรือเจ้าของรถ สามารถชำาระค่าปรับตามท่ีเปรียบเทียบไว้ในใบสัง ณ สถานท่ีและภายในวัน ่ เวลา ท่ีระบุไว้ในใบสังได้โดยไม่ต้องไปรายงานตัว (คณะกรรมการกฤษฎีกา ่ คณะท่ี ๙ นร.๐๖๐๑/๕๐๖ ลง ๗ มิถุนายน ๒๕๔๓) (๖) จำาเลยให้การับสารภาพในชันสอบสวนในข้อหาขับรถประมาทเป็ น ้ เหตุให้ทรัพย์สินของผ้่อ่ืนได้รับเสียหาย และยินยอมให้พนั กงานสอบสวน เปรียบเทียบปรับ ผลของการเปรียบเทียบปรับไม่ใช่คำาพิพากษาในส่วนอาญา ตาม ป.วิ อ.มาตรา ๔๖ ดังนั ้นการพิพากษาคดีส่วนแพ่งจึงไม่จำาต้องถือข้อเท็จ จริงตามดังท่ีบัญญัติไว้ในบทมาตราดังกล่าว และจำาเลยอาจนำ าสืบโต้แย้งเป็ น อย่างอ่ ืนได้ (ฎีกาท่ี ๔๙๔๙/๒๕๒๘)