SlideShare a Scribd company logo
งานวิจัยในชั้นเรียน 
การแก้ปัญหานักเรียนขาดทักษะการ 
รับและส่งลูกบาสเกตบอล 
โดยใช้แบบฝึกซ่อมเสริมทักษะของ 
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๒ 
โดย 
นายสมเกียรติ์ อนุวัตพงศ์พันธุ์ 
ตำาแหน่งครู 
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ 
พลศึกษา 
โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม 
อำาเภอบางสะพานน้อย
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักเรียนขาดทักษะการรับและส่งลูก 
บาสเกตบอล โดยใช้แบบฝึกซ่อมเสริมทักษะของนักเรียนชั้น 
มัธยมศึกษาปีที่ ๖/๒ 
ผู้วิจัย นายสมเกียรติ์ อนุวัตพงศ์พันธุ์ 
ลักษณะประชากรที่ศึกษา 
วิชาพลศึกษา(เพิ่มเติม)บาสเกตบอล รหัสวิชา 
พ๓๐๒๐๕ 
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๒ จำานวน ๙ คน 
ระยะเวลา ๑๔ มิถุนายน ๒๕๕๖ – ๒๐ กันยายน ๒๕๕๖ 
ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ 
๑.ความเป็นมาและความสำาคัญของการวิจัย 
ในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนวิชาพลศึกษา(เพิ่มเติม) 
บาสเกตบอล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๒ โดยเฉพาะเรื่อง 
ทักษะพื้นฐานในการรับและส่งลูกบาสเกตบอล ผู้ศึกษาพบว่านักเรียน 
ส่วนใหญ่ โดยเฉพาะนักเรียนหญิงจำานวน ๙ คน ไม่สามารถปฏิบัติได้ 
และเรียนรู้ได้ช้ากว่านักเรียนคนอื่น ๆ ได้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน 
แต่ละครั้งตำ่ากว่าเกณฑ์ที่กำาหนด และถ้าไม่เร่งแก้ไขจะมีผลกระทบต่อ 
ฝึกปฏิบัติในทักษะต่อไป ซึ่งจะต้องอาศัยการเชื่อมโยงจากทักษะพื้นฐาน 
ความรู้เดิม 
๒.แนวคิดเชิงทฤษฎี (โดยย่อ) 
จากการสอบปฏิบัติในเรื่องการส่งและรับลูกบาสเกตบอลของ 
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๒ พบว่านักเรียนหญิงจำานวนทั้งหมด ๙ 
คน ยังไม่สามารถที่จะสอบให้ผ่านตามเกณฑ์ที่ได้กำาหนดไว้ จึงได้ 
เข้าไปพูดคุยหาหนทางแก้ปัญหากับนักเรียนกลุ่มดังกล่าว โดยครูผู้สอน
ถามนักเรียนว่านักเรียนพอใจกับคะแนนที่ได้หรือไม่ นักเรียนบอกว่าไม่ 
พอใจและต้องการมีคะแนนที่เพิ่มมากขึ้น จึงได้นัดหมายให้นักเรียนมา 
ฝึกปฏิบัติทักษะการส่งและรับลูกบาสเกตบอลในช่วงพักกลางวัน จำานวน 
๑๔ ครั้ง ๆ ละ ๓๐ นาที หลังรับประทานอาหารกลางวันเรียบร้อยแล้ว 
๓.วัตถุประสงค์ของการวิจัย 
๓.๑ เพื่อพัฒนาแผนการเรียนทักษะการรับและส่งลูกบาสเกตบอล 
ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 
๓.๒ เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนเกี่ยวกับการ 
เรียนรู้แบบฝึกเพื่อซ่อมเสริมทักษะการรับและส่งลูกบาสเกตบอล 
๔.นิยามศัพท์เฉพาะ 
- 
๕.วิธีการดำาเนินการ 
๕.๑ ประชากร/กลุ่มเป้าหมาย 
นักเรียนหญิงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๒ จำานวน ๙ คน 
๕.๒ ตัวแปรที่ศึกษา 
ตัวแปรอิสระ ๑. ทักษะการส่งและรับลูกบาสเกตบอลของ 
นักเรียนหญิงระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๖/๒ จำานวน ๙ คน 
ตัวแปรตาม ๑. แบบฝึกเพื่อซ่อมเสริมทักษะการรับและส่งลูก 
บาสเกตบอล 
๒. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนเกี่ยวกับการ 
เรียนรู้แบบฝึกเพื่อซ่อมเสริมทักษะการรับและส่งลูก 
บาสเกตบอล 
๕.๓ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
๑. ฝึกทักษะที่สร้างขึ้นเพื่อสังเกตพฤติกรรมและการสอบ 
ปฏิบัติทักษะการส่งและรับลูกบาสเกตบอล 
2. แบบประเมินเจตคติของนักเรียนที่มีต่อครูผู้สอนวิชา 
บาสเกตบอล 
๕.๔ แผนการดำาเนินการวิจัย 
ตารางการดำาเนินการวิจัย 
ลำาดั 
บ 
กิจกรรม/ขั้นตอนการดำาเนินงาน สัปด 
าห์ 
๑ ทดสอบความสามารถของนักเรียนและระดับของกีฬา 
บาสเกตบอลในการรับและส่งลูก 
๑ 
๒ ฝึกการรับและส่งลูกบาสเกตบอล สองมือระดับหน้าอก แบบอยู่ 
กับที่และเคลื่อนที่ 
๒ 
๓ ฝึกการรับและส่งลูกบาสเกตบอล สองมือเหนือศีรษะ แบบอยู่กับ 
ที่และเคลื่อนที่ 
๓-๔ 
๔ ฝึกการรับและส่งลูกบาสเกตบอล สองมือระดับหน้าอกกระดอน 
พื้น แบบอยู่กับที่และเคลื่อนที่ 
๕-๖ 
๕ นำาทักษะทั้งหมดมาประยุกต์รวมกัน ให้เด็กฝึกอย่างหลาก 
หลาย 
๗ 
๖ ทบทวนทักษะการรับและส่งลูกตั้งแต่เริ่มแรก ๘ 
๗ นำาทักษะทั้งหมดมาฝึกแบบเป็นฐานหมุนเวียนกันไป ๙ 
๘ นำาทักษะทั้งหมดมาประยุกต์เป็นเกม ๑๐ 
๙ ทดลองโดยการจับเวลาในทักษะการรับและส่งลูกบาสเกตบอล ๑๑
เพื่อสังเกตการณ์พัฒนา 
๑๐ สรุป และทบทวนแบบฝึกทั้งหมด ๑๒ 
๑๑ ทดสอบการรับและส่งลูกบาสเกตบอล ๑๓ 
๑๒ สรุปการวิจัย ๑๔ 
๕.๕ วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล 
๑. ครูทดลองและบันทึกพัฒนาการในการส่งและรับลูก 
บาสเกตบอล 
๒. ครูทดสอบการส่งและรับลูกบาสเกตบอล และบันทึก 
คะแนน 
๓. ครูได้พูดคุยความรู้สึกและความพึงพอใจต่อการฝึก 
๕.๖ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล 
๑. การหาค่าเฉลี่ย (X) 
2. การหาร้อยละ (%) 
๖. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 
๖.๑ ทราบผลของการฝึกโดยใช้แบบฝึกเพื่อซ่อมเสริมทักษะการ 
รับและส่งลูกบาสเกตบอล 
๖.๒ ทราบรูปแบบการฝึกที่เหมาะสมสำาหรับนักเรียน เพื่อพัฒนา 
ทักษะเบื้องต้นในกีฬาบาสเกตบอล อันเป็นทักษะสำาคัญที่จะพัฒนาการ 
เล่นในระดับที่สูงขึ้นไป
๖.๓ นักเรียนสามารถนำาทักษะนี้ไปใช้ร่วมกับทักษะอื่นในการ 
เล่นได้ 
๖.๔ เพื่อทราบจุดบกพร่องของแบบฝึกเพื่อซ่อมเสริมทักษะการรับ 
และส่งลูกบาสเกตบอล 
๗. เอกสารอ้างอิง 
แบบทดสอบการใช้แบบฝึกซ่อมเสริมทักษะการรับและ 
ส่งลูกบาสเกตบอล 
ชื่อ-นามสกุล 
การรับ-ส่ง 
ลูกสองมือ 
ระดับ 
หน้าอก 
(จำานวน 
ครั้ง/๓๐ 
วินาที) 
การรับ-ส่ง 
ลูกสองมือ 
เหนือศีรษะ 
(จำานวน 
ครั้ง/๓๐ 
วินาที) 
การรับ-ส่ง 
ลูกสองมือ 
ระดับ 
หน้าอก 
กระดอนพื้น 
(จำานวน 
ครั้ง/๓๐ 
วินาที) 
ก่อน หลัง ก่อน หลัง ก่อน หลัง
๑.นางสาวสุภาพร 
ทองเกตุ 
๑๒ ๒๒ ๙ ๒๑ ๙ ๒๒ 
๒.นางสาวศิริลักษณ์ 
โพธิ์ศรี 
๑๐ ๒๐ ๘ ๒๐ ๑๐ ๒๕ 
๓.นางสาวสุชาดา กร 
ส่งแก้ว 
๑๑ ๒๓ ๙ ๒๒ ๑๐ ๒๖ 
๔.นางสาวอุไรวรรณ 
เล็งหนูดำา 
๑๐ ๒๒ ๙ ๒๖ ๙ ๒๘ 
๕.นางสาวมนัสนันท์ 
เทพพิบูลย์ 
๙ ๒๑ ๙ ๒๒ ๘ ๒๗ 
๖.นางสาวสิริยา หิน 
ขาว 
๑๐ ๒๒ ๘ ๒๓ ๑๐ ๒๖ 
๗.นางสาวอุราพร 
ขวดทอง 
๑๑ ๒๑ ๑๐ ๒๙ ๑๐ ๒๕ 
๘.นางสาวกานต์สินี 
สถิต 
๑๑ ๒๒ ๙ ๒๗ ๘ ๒๙ 
๙.นางสาวนริศรา 
ทนามศรี 
๑๒ ๒๗ ๑๐ ๒๘ ๑๑ ๒๘ 
ค่าเฉลี่ย (X) ๑๑.๖ 
๖ 
๒๔.๔ 
๔ 
๙ ๒๔.๒ 
๒ 
๙.๔๔ ๒๖.๒ 
๒ 
จำานวนครั้ง/๓๐ วินาที คะแนน ระดับ 
๑-๓ ๑ ตำ่า 
๔-๖ ๒ ตำ่า 
๗-๙ ๓ ตำ่า
๑๐-๑๒ ๔ ตำ่า 
๑๓-๑๕ ๕ ปานกลาง 
๑๖-๑๘ ๖ ปานกลาง 
๑๙-๒๑ ๗ ปานกลาง 
๒๒-๒๔ ๘ ดี 
๒๕-๒๗ ๙ ดี 
๒๘-๓๐ ๑๐ ดีมาก 
สรุปผลการวิจัย 
การวิเคราะห์ข้อมูล 
การศึกษาวิจัยในชั้นเรียนได้ศึกษาในกลุ่มนักเรียนหญิงระดับชั้น 
มัธยมศึกษาปีที่ ๖/๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ ตำ่ากว่า 
เกณฑ์มาตรฐานที่กำาหนด จำานวน ๙ คน ผลการวิจัยพบว่านักเรียนดัง 
กล่าวมีทักษะในการรับและส่งลูกบาสเกตบอลดีขึ้น สามารถผ่านเกณฑ์ 
มาตรฐานที่กำาหนดไว้ได้ทุกคน ทำาให้มีผลสัมฤทธิ์ที่ดีขึ้นตามลำาดับ
จากผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 
จาการศึกษาวิจัยสรุปได้ว่านักเรียนหญิงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 
๖/๒ ที่มีทักษะการรับและส่งลูกบาสเกตบอลตำ่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ 
กำาหนด จำานวน ๙ คน หลังจากนักเรียนได้ฝึกซ่อมเสริมแล้ว ปรากฏว่า 
นักเรียนมีทักษะการรับและส่งลูกบาสเกตบอลที่ดีขึ้นจำานวนทั้งหมด ๙ 
คน คิดเป็น ๑๐๐ % จึงสรุปได้ว่าแบบฝึกซ่อมเสริมทักษะสามารถแก้ 
ปัญหานักเรียนขาดทักษะการรับและส่งลูกบาสเกตบอล ได้ดี 
ข้อเสนอแนะจากงานวิจัย 
1. ควรนำาแบบฝึกซ่อมเสริมทักษะการรับและส่งลูกบาสเกตบอล 
ไปฝึกให้นักเรียนกลุ่มที่สนใจ 
2. ควรมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างนักวิจัยกับครู 
พลศึกษาเพื่อหาแนวทางการพัฒนาวิจัยในชั้นเรียนทาง 
พลศึกษา 
3. ควรนำาเครื่องมือ นวัตกรรมเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้พัฒนา 
รูปแบบการสอน และงานวิจัยทางพลศึกษา
จากผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 
จาการศึกษาวิจัยสรุปได้ว่านักเรียนหญิงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 
๖/๒ ที่มีทักษะการรับและส่งลูกบาสเกตบอลตำ่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ 
กำาหนด จำานวน ๙ คน หลังจากนักเรียนได้ฝึกซ่อมเสริมแล้ว ปรากฏว่า 
นักเรียนมีทักษะการรับและส่งลูกบาสเกตบอลที่ดีขึ้นจำานวนทั้งหมด ๙ 
คน คิดเป็น ๑๐๐ % จึงสรุปได้ว่าแบบฝึกซ่อมเสริมทักษะสามารถแก้ 
ปัญหานักเรียนขาดทักษะการรับและส่งลูกบาสเกตบอล ได้ดี 
ข้อเสนอแนะจากงานวิจัย 
1. ควรนำาแบบฝึกซ่อมเสริมทักษะการรับและส่งลูกบาสเกตบอล 
ไปฝึกให้นักเรียนกลุ่มที่สนใจ 
2. ควรมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างนักวิจัยกับครู 
พลศึกษาเพื่อหาแนวทางการพัฒนาวิจัยในชั้นเรียนทาง 
พลศึกษา 
3. ควรนำาเครื่องมือ นวัตกรรมเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้พัฒนา 
รูปแบบการสอน และงานวิจัยทางพลศึกษา

More Related Content

What's hot

คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
Kansinee Kosirojhiran
 
แบบฝึกหัดคัดสระไทย
แบบฝึกหัดคัดสระไทยแบบฝึกหัดคัดสระไทย
แบบฝึกหัดคัดสระไทย
ศักดา สถานสุข
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
worapanthewaha
 
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
sarawut chaicharoen
 
ทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตองทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตองพัน พัน
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
Apirak Potpipit
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5
Khunnawang Khunnawang
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
Khunnawang Khunnawang
 
บทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานบทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนาน
sawed kodnara
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3teerachon
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
วรรณิภา ไกรสุข
 
ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่ ป3
ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่ ป3ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่ ป3
ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่ ป3
Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรีแบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์
 
การแปรผัน
การแปรผันการแปรผัน
การแปรผันbigiga
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5supap6259
 

What's hot (20)

คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
 
แบบฝึกหัดคัดสระไทย
แบบฝึกหัดคัดสระไทยแบบฝึกหัดคัดสระไทย
แบบฝึกหัดคัดสระไทย
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
 
ทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตองทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5
 
การบวกเลข ป.1
การบวกเลข ป.1การบวกเลข ป.1
การบวกเลข ป.1
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
 
บทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานบทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนาน
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่ ป3
ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่ ป3ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่ ป3
ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่ ป3
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรีแบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
 
การแปรผัน
การแปรผันการแปรผัน
การแปรผัน
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
 

งานวิจัยในชั้นเรียนบาสเกตบอลม.หก

  • 1. งานวิจัยในชั้นเรียน การแก้ปัญหานักเรียนขาดทักษะการ รับและส่งลูกบาสเกตบอล โดยใช้แบบฝึกซ่อมเสริมทักษะของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๒ โดย นายสมเกียรติ์ อนุวัตพงศ์พันธุ์ ตำาแหน่งครู กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ พลศึกษา โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม อำาเภอบางสะพานน้อย
  • 2. จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักเรียนขาดทักษะการรับและส่งลูก บาสเกตบอล โดยใช้แบบฝึกซ่อมเสริมทักษะของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๖/๒ ผู้วิจัย นายสมเกียรติ์ อนุวัตพงศ์พันธุ์ ลักษณะประชากรที่ศึกษา วิชาพลศึกษา(เพิ่มเติม)บาสเกตบอล รหัสวิชา พ๓๐๒๐๕ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๒ จำานวน ๙ คน ระยะเวลา ๑๔ มิถุนายน ๒๕๕๖ – ๒๐ กันยายน ๒๕๕๖ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ ๑.ความเป็นมาและความสำาคัญของการวิจัย ในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนวิชาพลศึกษา(เพิ่มเติม) บาสเกตบอล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๒ โดยเฉพาะเรื่อง ทักษะพื้นฐานในการรับและส่งลูกบาสเกตบอล ผู้ศึกษาพบว่านักเรียน ส่วนใหญ่ โดยเฉพาะนักเรียนหญิงจำานวน ๙ คน ไม่สามารถปฏิบัติได้ และเรียนรู้ได้ช้ากว่านักเรียนคนอื่น ๆ ได้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน แต่ละครั้งตำ่ากว่าเกณฑ์ที่กำาหนด และถ้าไม่เร่งแก้ไขจะมีผลกระทบต่อ ฝึกปฏิบัติในทักษะต่อไป ซึ่งจะต้องอาศัยการเชื่อมโยงจากทักษะพื้นฐาน ความรู้เดิม ๒.แนวคิดเชิงทฤษฎี (โดยย่อ) จากการสอบปฏิบัติในเรื่องการส่งและรับลูกบาสเกตบอลของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๒ พบว่านักเรียนหญิงจำานวนทั้งหมด ๙ คน ยังไม่สามารถที่จะสอบให้ผ่านตามเกณฑ์ที่ได้กำาหนดไว้ จึงได้ เข้าไปพูดคุยหาหนทางแก้ปัญหากับนักเรียนกลุ่มดังกล่าว โดยครูผู้สอน
  • 3. ถามนักเรียนว่านักเรียนพอใจกับคะแนนที่ได้หรือไม่ นักเรียนบอกว่าไม่ พอใจและต้องการมีคะแนนที่เพิ่มมากขึ้น จึงได้นัดหมายให้นักเรียนมา ฝึกปฏิบัติทักษะการส่งและรับลูกบาสเกตบอลในช่วงพักกลางวัน จำานวน ๑๔ ครั้ง ๆ ละ ๓๐ นาที หลังรับประทานอาหารกลางวันเรียบร้อยแล้ว ๓.วัตถุประสงค์ของการวิจัย ๓.๑ เพื่อพัฒนาแผนการเรียนทักษะการรับและส่งลูกบาสเกตบอล ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ๓.๒ เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนเกี่ยวกับการ เรียนรู้แบบฝึกเพื่อซ่อมเสริมทักษะการรับและส่งลูกบาสเกตบอล ๔.นิยามศัพท์เฉพาะ - ๕.วิธีการดำาเนินการ ๕.๑ ประชากร/กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนหญิงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๒ จำานวน ๙ คน ๕.๒ ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรอิสระ ๑. ทักษะการส่งและรับลูกบาสเกตบอลของ นักเรียนหญิงระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๖/๒ จำานวน ๙ คน ตัวแปรตาม ๑. แบบฝึกเพื่อซ่อมเสริมทักษะการรับและส่งลูก บาสเกตบอล ๒. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนเกี่ยวกับการ เรียนรู้แบบฝึกเพื่อซ่อมเสริมทักษะการรับและส่งลูก บาสเกตบอล ๕.๓ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
  • 4. ๑. ฝึกทักษะที่สร้างขึ้นเพื่อสังเกตพฤติกรรมและการสอบ ปฏิบัติทักษะการส่งและรับลูกบาสเกตบอล 2. แบบประเมินเจตคติของนักเรียนที่มีต่อครูผู้สอนวิชา บาสเกตบอล ๕.๔ แผนการดำาเนินการวิจัย ตารางการดำาเนินการวิจัย ลำาดั บ กิจกรรม/ขั้นตอนการดำาเนินงาน สัปด าห์ ๑ ทดสอบความสามารถของนักเรียนและระดับของกีฬา บาสเกตบอลในการรับและส่งลูก ๑ ๒ ฝึกการรับและส่งลูกบาสเกตบอล สองมือระดับหน้าอก แบบอยู่ กับที่และเคลื่อนที่ ๒ ๓ ฝึกการรับและส่งลูกบาสเกตบอล สองมือเหนือศีรษะ แบบอยู่กับ ที่และเคลื่อนที่ ๓-๔ ๔ ฝึกการรับและส่งลูกบาสเกตบอล สองมือระดับหน้าอกกระดอน พื้น แบบอยู่กับที่และเคลื่อนที่ ๕-๖ ๕ นำาทักษะทั้งหมดมาประยุกต์รวมกัน ให้เด็กฝึกอย่างหลาก หลาย ๗ ๖ ทบทวนทักษะการรับและส่งลูกตั้งแต่เริ่มแรก ๘ ๗ นำาทักษะทั้งหมดมาฝึกแบบเป็นฐานหมุนเวียนกันไป ๙ ๘ นำาทักษะทั้งหมดมาประยุกต์เป็นเกม ๑๐ ๙ ทดลองโดยการจับเวลาในทักษะการรับและส่งลูกบาสเกตบอล ๑๑
  • 5. เพื่อสังเกตการณ์พัฒนา ๑๐ สรุป และทบทวนแบบฝึกทั้งหมด ๑๒ ๑๑ ทดสอบการรับและส่งลูกบาสเกตบอล ๑๓ ๑๒ สรุปการวิจัย ๑๔ ๕.๕ วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล ๑. ครูทดลองและบันทึกพัฒนาการในการส่งและรับลูก บาสเกตบอล ๒. ครูทดสอบการส่งและรับลูกบาสเกตบอล และบันทึก คะแนน ๓. ครูได้พูดคุยความรู้สึกและความพึงพอใจต่อการฝึก ๕.๖ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ๑. การหาค่าเฉลี่ย (X) 2. การหาร้อยละ (%) ๖. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๖.๑ ทราบผลของการฝึกโดยใช้แบบฝึกเพื่อซ่อมเสริมทักษะการ รับและส่งลูกบาสเกตบอล ๖.๒ ทราบรูปแบบการฝึกที่เหมาะสมสำาหรับนักเรียน เพื่อพัฒนา ทักษะเบื้องต้นในกีฬาบาสเกตบอล อันเป็นทักษะสำาคัญที่จะพัฒนาการ เล่นในระดับที่สูงขึ้นไป
  • 6. ๖.๓ นักเรียนสามารถนำาทักษะนี้ไปใช้ร่วมกับทักษะอื่นในการ เล่นได้ ๖.๔ เพื่อทราบจุดบกพร่องของแบบฝึกเพื่อซ่อมเสริมทักษะการรับ และส่งลูกบาสเกตบอล ๗. เอกสารอ้างอิง แบบทดสอบการใช้แบบฝึกซ่อมเสริมทักษะการรับและ ส่งลูกบาสเกตบอล ชื่อ-นามสกุล การรับ-ส่ง ลูกสองมือ ระดับ หน้าอก (จำานวน ครั้ง/๓๐ วินาที) การรับ-ส่ง ลูกสองมือ เหนือศีรษะ (จำานวน ครั้ง/๓๐ วินาที) การรับ-ส่ง ลูกสองมือ ระดับ หน้าอก กระดอนพื้น (จำานวน ครั้ง/๓๐ วินาที) ก่อน หลัง ก่อน หลัง ก่อน หลัง
  • 7. ๑.นางสาวสุภาพร ทองเกตุ ๑๒ ๒๒ ๙ ๒๑ ๙ ๒๒ ๒.นางสาวศิริลักษณ์ โพธิ์ศรี ๑๐ ๒๐ ๘ ๒๐ ๑๐ ๒๕ ๓.นางสาวสุชาดา กร ส่งแก้ว ๑๑ ๒๓ ๙ ๒๒ ๑๐ ๒๖ ๔.นางสาวอุไรวรรณ เล็งหนูดำา ๑๐ ๒๒ ๙ ๒๖ ๙ ๒๘ ๕.นางสาวมนัสนันท์ เทพพิบูลย์ ๙ ๒๑ ๙ ๒๒ ๘ ๒๗ ๖.นางสาวสิริยา หิน ขาว ๑๐ ๒๒ ๘ ๒๓ ๑๐ ๒๖ ๗.นางสาวอุราพร ขวดทอง ๑๑ ๒๑ ๑๐ ๒๙ ๑๐ ๒๕ ๘.นางสาวกานต์สินี สถิต ๑๑ ๒๒ ๙ ๒๗ ๘ ๒๙ ๙.นางสาวนริศรา ทนามศรี ๑๒ ๒๗ ๑๐ ๒๘ ๑๑ ๒๘ ค่าเฉลี่ย (X) ๑๑.๖ ๖ ๒๔.๔ ๔ ๙ ๒๔.๒ ๒ ๙.๔๔ ๒๖.๒ ๒ จำานวนครั้ง/๓๐ วินาที คะแนน ระดับ ๑-๓ ๑ ตำ่า ๔-๖ ๒ ตำ่า ๗-๙ ๓ ตำ่า
  • 8. ๑๐-๑๒ ๔ ตำ่า ๑๓-๑๕ ๕ ปานกลาง ๑๖-๑๘ ๖ ปานกลาง ๑๙-๒๑ ๗ ปานกลาง ๒๒-๒๔ ๘ ดี ๒๕-๒๗ ๙ ดี ๒๘-๓๐ ๑๐ ดีมาก สรุปผลการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล การศึกษาวิจัยในชั้นเรียนได้ศึกษาในกลุ่มนักเรียนหญิงระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๖/๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ ตำ่ากว่า เกณฑ์มาตรฐานที่กำาหนด จำานวน ๙ คน ผลการวิจัยพบว่านักเรียนดัง กล่าวมีทักษะในการรับและส่งลูกบาสเกตบอลดีขึ้น สามารถผ่านเกณฑ์ มาตรฐานที่กำาหนดไว้ได้ทุกคน ทำาให้มีผลสัมฤทธิ์ที่ดีขึ้นตามลำาดับ
  • 9. จากผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ จาการศึกษาวิจัยสรุปได้ว่านักเรียนหญิงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๒ ที่มีทักษะการรับและส่งลูกบาสเกตบอลตำ่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ กำาหนด จำานวน ๙ คน หลังจากนักเรียนได้ฝึกซ่อมเสริมแล้ว ปรากฏว่า นักเรียนมีทักษะการรับและส่งลูกบาสเกตบอลที่ดีขึ้นจำานวนทั้งหมด ๙ คน คิดเป็น ๑๐๐ % จึงสรุปได้ว่าแบบฝึกซ่อมเสริมทักษะสามารถแก้ ปัญหานักเรียนขาดทักษะการรับและส่งลูกบาสเกตบอล ได้ดี ข้อเสนอแนะจากงานวิจัย 1. ควรนำาแบบฝึกซ่อมเสริมทักษะการรับและส่งลูกบาสเกตบอล ไปฝึกให้นักเรียนกลุ่มที่สนใจ 2. ควรมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างนักวิจัยกับครู พลศึกษาเพื่อหาแนวทางการพัฒนาวิจัยในชั้นเรียนทาง พลศึกษา 3. ควรนำาเครื่องมือ นวัตกรรมเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้พัฒนา รูปแบบการสอน และงานวิจัยทางพลศึกษา
  • 10. จากผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ จาการศึกษาวิจัยสรุปได้ว่านักเรียนหญิงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๒ ที่มีทักษะการรับและส่งลูกบาสเกตบอลตำ่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ กำาหนด จำานวน ๙ คน หลังจากนักเรียนได้ฝึกซ่อมเสริมแล้ว ปรากฏว่า นักเรียนมีทักษะการรับและส่งลูกบาสเกตบอลที่ดีขึ้นจำานวนทั้งหมด ๙ คน คิดเป็น ๑๐๐ % จึงสรุปได้ว่าแบบฝึกซ่อมเสริมทักษะสามารถแก้ ปัญหานักเรียนขาดทักษะการรับและส่งลูกบาสเกตบอล ได้ดี ข้อเสนอแนะจากงานวิจัย 1. ควรนำาแบบฝึกซ่อมเสริมทักษะการรับและส่งลูกบาสเกตบอล ไปฝึกให้นักเรียนกลุ่มที่สนใจ 2. ควรมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างนักวิจัยกับครู พลศึกษาเพื่อหาแนวทางการพัฒนาวิจัยในชั้นเรียนทาง พลศึกษา 3. ควรนำาเครื่องมือ นวัตกรรมเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้พัฒนา รูปแบบการสอน และงานวิจัยทางพลศึกษา