SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
หน่วยรับข้อมูล
โดย
ด.ญ. จิรัชยา สมยาราช ม.4.6 เลขที่2
น.ส. กัญรดา นาเกียรติสกุล ม.4.6 เลขที่3
น.ส. ธันย์ชนก รัตนอุดมสวัสดิ์ ม.4.6 เลขที่ 6
นาย สุริยา สุทธป๊ อก ม.4.6 เลขที่ 26
นาย รัชชานนท์ มีนา ม.4.6 เลขที่ 33
นางสาว กานต์มณี องคเส ม.4.6 เลขที่ 10
นาย นพรุจ ทวีศักดิ์ ม.4.6 เลขที่ 14
นาย ศุภโชค วรรณวัง ม.4.6 เลขที่ 25
นาย วรวัฒน์ กองสุข ม.4.6 เลขที่ 48
นางสาว ฐิตาภา ประทุมทิพย์ ม.4.6 เลขที่ 41
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
 หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
ทาหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจา
หลัก ปัจจุบันมีสื่อต่าง ๆ ให้เลือกใช้ได้มากมาย
แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ
อุปกรณ์แบบกด (Keyed Device)
 อุปกรณ์แบบกด (Keyed Device) เช่น แป้ นพิมพ์ (Keyboard) แบ่งเป็น 4 กลุ่ม
ด้วยกันคือ
 - แป้ นอักขระ (Character Keys)
 - แป้ นควบคุม (Control Keys)
 - แป้ นฟังก์ชัน (Function Keys)
 - แป้ นตัวเลข (Numeric Keys)
อุปกรณ์ชี้ตำแหน่ง (Pointing Device)
 อุปกรณ์ชี้ตาแหน่ง (Pointing Device) เช่น เมาส์ (Mouse) ลูกกลมควบคุม (Track
ball) แท่งชี้ควบคุม (Track Point) แผ่นรองสัมผัส (Touch Pad) จอยสติก (Joy
stick) เป็นต้น
จอภำพสัมผัส(Touch Screen)
 จอสัมผัส (touchscreen) เป็นรูปแบบหนึ่งของอุปกรณ์แสดงผลและนาเข้าข้อมูลที่ผสมร่วมกัน
เพื่อลดขนาดพื้นที่การใช้งาน โดยโปรแกรมจะแสดงผลภาพกราฟิกบนจอภาพ และผู้ใช้สามารถใช้นิ้ วมือ
สัมผัสบนจอภาพ เพื่อเลือกรายการต่างๆ ทั้งที่อยู่ในลักษณะของรูปภาพ หรือข้อความก็ได้ เพื่อสั่งงาน จอ
สัมผัสนิยมนามาใช้ในลักษณะของงานที่ช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาการใช้อุปกรณ์นาเข้าแบบจับต้อง
ระบบปำกกำ (Pen-Based System)
• ปากกาแสง (Light pen)
ใช้เซลล์แบบซึ่งมีความไวต่อแสงเป็นตัวกาหนดตาแหน่งบนจอภาพ รวมทั้งสามารถใช้วาดลักษณะหรือรูปแบบ
ของข้อมูลให้ปรากฏบนจอภาพ การใช้งานทาได้โดยการแตะปากกาแสงไปบนจอภาพตามตาแหน่งที่ต้องการ
นิยมใช้กับงานคอมพิวเตอร์ช่วยการออกแบบ (CAD หรือ Computer Aided Design
) รวมทั้งนิยมให้เป็นอุปกรณ์ป้ อนข้อมูลโดยการเขียนด้วยมือในคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก เช่น PDA เป็นต้น
• เครื่องอ่านพิกัด (Digitizing tablet)
ประกอบด้วยกระดาษที่มี เส้นแบ่ง (Grid) ซึ่งสามารถใช้ปากกา
เฉพาะที่เรียกว่า stylus ชี้ไปบนกระดาษนั้น เพื่อส่งข้อมูลตาแหน่งเข้า
ไปยังคอมพิวเตอร์ ปรากฏเป็นลายเส้นบนจอภาพ เป็นอุปกรณ์อีกชนิด
หนึ่งที่นิยมใช้กับงานด้าน CAD เช่น ใช้ในการออกแบบรถยนต์รุ่นใหม่
ตึกอาคาร อุปกรณ์ทางการแพทย์ และหุ่นยนต์ เป็นต้น
อุปกรณ์กวำดข้อมูล (Data Scanning Device)
 เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ระบบการรวิเคราะห์แสง ช่วยในการพิมพ์ข้อมูลเข้าน้อยที่สุด โดยอ่านข้อมูลเข้าสู่
คอมพิวเตอร์ด้วยการใช้ลาแสงกวาดผ่านข้อมความหรือสัญลักษณ์ต่างๆ ที่พิมพ์ไว้ เพื่อนาไปแยกแยะ
รูปแบบต่อไป มีอุปกรณ์ที่ได้รับความนิยม
 เอ็มไออาร์ซี (Magnetic Character
Recognition - MIRC)
มีผู้นิยมใช้เช็คมากขึ้น จึงมีผู้คิดค้นเพื่อให้ตรวจสอบเช็คได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ และเชื่อถือได้ โดยได้ประดิษฐ์เครื่อง MIRC ขึ้นใช้ในธนาคาร
เพื่อตรวจสอบเช็ค โดยเครื่องจะทาการเข้ารหัสธนาคาร รหัสสาขา เลขที่บัญชี
และเลขที่เช็ค ไว้ในเช็คทุกใบขึ้นใช้ในธนาคารเพื่อตรวจสอบเช็ค
ข้อดีของ MIRC คือ
มีมนุษย์เข้ามาเกี่ยวข้องน้อย ทาให้มีเปอร์เซนต์ความผิดพลาดน้อย
รหัส MIRC ที่ใช้สามารถอ่านได้ทั้งคน และเครื่อง MIRC
ทางานได้อย่างอัติโนมัติ รวดเร็วและเชื่อถือได้
 เครื่องอ่านรหัสบาร์โคด (Bar Code Reader)
เริ่มใช้ในปี ค.ศ. 1970 พิมพ์รหัสสินค้าออกมาในรูแถบสีดาและขาวต่อเนื่องกัน เรียกว่าหัว
บาร์โคด จากนั้นจะสามารถใช้เครื่องรหัสบาร์โคดอ่านข้อมูลบนแถบบร์โคด เพื่อเรียกข้อมูลของรายการ
สินค้านั้น ออกมาจากฐานข้อมูล แล้วจึงทาการประมวลผลข้อมูลรายการนั้นๆ และทางานต่อไป
 สแกนเนอร์ (Scanner)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่านหรือสแกน ข้อมูลบนเอกสารเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยใช้วิธีส่องแสง
ไปยังวัตถุที่ต้องการสแกน แสงที่ส่องไปยังวัตถุและสะท้อนกลับมาจะถูกส่งผ่านไปที่ เซลล์ไวแสง ซึ่งจะทา
การตรวจล จับความเข้มแสงที่สะท้อนออกมาจากวัตถุ และแปลงให้อยู่ในรูปของข้อมูลทางดิจิตอล
 สแกนเนอร์มือถือ (Handheld
Scanner)มีขนาดเล็กพกพาได้สะดวก
ผู้ใช้ต้องถือสแกนเนอร์กวาดไปบนภาพหรือ
วัตถุที่ต้องการ
 -สแกนเนอร์แบบสอดกระดาษ (Sheetfed Scanner) ผู้ใช้ต้องสอดภาพหรือเอกสารไปยัง
ช่องสาหรับอ่านข้อมูล เครื่องชนิดนี้ เหมาะสาหรับการอ่านเอกสารที่เป็นแผ่นๆ แต่ไม่สามารถอ่านเอกสาร
ที่เย็บเป็นเล่มได้
 -สแกนเนอร์แบบแท่น (Flatbed Scanner) เป็นที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ผู้ใช้เพียงวางกระดาษ
ต้นฉบับที่ต้องการไปบนเครื่องสแกนเนอร์ มีวิธีการใช้คล้ายกับเครื่องถ่ายเอกสาร ทาให้ใช้งานได้ง่าย
 เครื่องรู้จาอักขระด้วยแสง (Optical Character Recognition -
OCR)
โอซีอาร์ เป็นอุปกรณ์สาหรับอ่านข้อมูลที่เป็นตัวอักขระบนเอกสารต่างๆ และทาการแปลง
ข้อมูลแบบดิจิตอลที่อ่านได้เป็นตัวอักษรอัตโนมัติ การใช้โอซีอาร์ยังมีจากัดพอสมควร เนื่องจากมีบ่อยครั้ง
ที่มีการตีความผิดพลาด อักขระเกิดขึ้น โดยเฉพาะหากข้อความในเอกสารไม่ได้เป็นตัวเรียงพิมพ์ (เช่น
ลายมือเขียน) อย่างไรก็ดี โอซีอาร์ก็เป็นเครื่องช่วยอานวยความสะดวกในการนาข้อมูลเข้าเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะ ในงานที่ต้องเกี่ยวข้องกับการจัดเก็บเอกสารเป็น
จานวนมาก เช่น ห้องสมุดต่างๆ เป็นต้น
 ครื่องอ่านข้อมูลด้วยแสง (Optical Mark Reader - OMR)
โอเอ็มอาร์ เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้การอ่านสัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายที่ระบายด้วยดินสอดา
ลงในตาแหน่งที่กาหนด ตัวอย่างเช่น ข้อสอบแบบเลือกคาตอบ เป็นต้น โดยดินสอดาที่ใช้ต้องมี สาร
แม่เหล็กจานวนหนึ่ง เพื่อให้เครื่อง โอเอ็มอาร์สามารถรับรู้ได้ ซึ่งปกติจะเป็นดินสอ 2B จากนั้นเครื่อง
โอเอ็มอาร์ก็จะอ่านข้อมูลตามเครื่องหมายที่มีการระบายด้วยดินสอดา
 กล้องถ่ายภาพดิจิตอล (Digital Camera)
เป็นอุปกรณ์ใช้สาหรับถ่ายภาพแบบไม่ต้องใช้ฟิล์ม โดยเก็บภาพถ่ายลักษณะดิจิตอลด้วย
อุปกรณ์ CCD ภาพที่ได้ประกอบด้วยจัดเล็กๆ จานวนมาก และสามารถนาเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อ
ใช้งานได้ไดยไม่ต้องใช้อุปกรณ์สแกนเนอร์อีก
 กล้องถ่ายทอดวีดีโอดิจิตอล (Digital vedio)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับบันทึกภาพเคลื่อนไหวและเก็บเป็นข้อมูลแบบดิจิตอล การประชุม
ทางไกลผ่านวีดีโอ ซึ่งเป็นการประชุมแบบกลุ่มผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น ผ่านอินเตอร์เนท เป็นต้น
อย่างไรก็ดี กล้องถ่ายรูปแบบวีดีโอนี้ สามารเก็บภาพเคลื่อนไหวได้เพียง 10 - 15 เฟรมต่อวินาทีเท่านั้น
อุปกรณ์รู้จำเสียง (Voice Recognition Device)
 การสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์ในรูปของเสียงเป็นอีกขั้นตอนหนึ่งของกาสรพัฒนาทางเทคโนโลยี แม้
อาจจะมีปัญหาอยู่บ้างก็ตาม อุปกรณ์ที่ใช้เล่น อุปกรณ์วิเคราะห์เสียงพูด (Speech
Recognition Device)
บรรณำนุกรม
 http://www.oocities.org/webcom131
 http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type
1/tech03/18/prakopinput.html
 https://www.google.co.th/
ขอจบการนาเสนอ

More Related Content

More from Supaksorn Tatongjai (20)

Work30243 new58
Work30243 new58Work30243 new58
Work30243 new58
 
คำสั่งในโปรแกรมภาษาซี
คำสั่งในโปรแกรมภาษาซีคำสั่งในโปรแกรมภาษาซี
คำสั่งในโปรแกรมภาษาซี
 
7 3 condition
7 3 condition7 3 condition
7 3 condition
 
7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง
 
7 1 dev c++
7 1 dev c++7 1 dev c++
7 1 dev c++
 
Work20253
Work20253Work20253
Work20253
 
Week4-16
Week4-16Week4-16
Week4-16
 
Week4-1
Week4-1Week4-1
Week4-1
 
Week3-14
Week3-14Week3-14
Week3-14
 
Week3-13
Week3-13Week3-13
Week3-13
 
Week3-2
Week3-2Week3-2
Week3-2
 
Week3-1
Week3-1Week3-1
Week3-1
 
Week2-13
Week2-13Week2-13
Week2-13
 
Week2-12
Week2-12Week2-12
Week2-12
 
Week2-2
Week2-2Week2-2
Week2-2
 
Week2-1
Week2-1Week2-1
Week2-1
 
Week1-11
Week1-11Week1-11
Week1-11
 
Week1-1
Week1-1Week1-1
Week1-1
 
M1-Programs1
M1-Programs1M1-Programs1
M1-Programs1
 
Work30243
Work30243Work30243
Work30243
 

หน วยร บข_อม_ล Present 4-6 (Group2)

  • 1. หน่วยรับข้อมูล โดย ด.ญ. จิรัชยา สมยาราช ม.4.6 เลขที่2 น.ส. กัญรดา นาเกียรติสกุล ม.4.6 เลขที่3 น.ส. ธันย์ชนก รัตนอุดมสวัสดิ์ ม.4.6 เลขที่ 6 นาย สุริยา สุทธป๊ อก ม.4.6 เลขที่ 26 นาย รัชชานนท์ มีนา ม.4.6 เลขที่ 33 นางสาว กานต์มณี องคเส ม.4.6 เลขที่ 10 นาย นพรุจ ทวีศักดิ์ ม.4.6 เลขที่ 14 นาย ศุภโชค วรรณวัง ม.4.6 เลขที่ 25 นาย วรวัฒน์ กองสุข ม.4.6 เลขที่ 48 นางสาว ฐิตาภา ประทุมทิพย์ ม.4.6 เลขที่ 41
  • 2. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)  หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) ทาหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจา หลัก ปัจจุบันมีสื่อต่าง ๆ ให้เลือกใช้ได้มากมาย แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ
  • 3. อุปกรณ์แบบกด (Keyed Device)  อุปกรณ์แบบกด (Keyed Device) เช่น แป้ นพิมพ์ (Keyboard) แบ่งเป็น 4 กลุ่ม ด้วยกันคือ  - แป้ นอักขระ (Character Keys)  - แป้ นควบคุม (Control Keys)  - แป้ นฟังก์ชัน (Function Keys)  - แป้ นตัวเลข (Numeric Keys)
  • 4.
  • 5. อุปกรณ์ชี้ตำแหน่ง (Pointing Device)  อุปกรณ์ชี้ตาแหน่ง (Pointing Device) เช่น เมาส์ (Mouse) ลูกกลมควบคุม (Track ball) แท่งชี้ควบคุม (Track Point) แผ่นรองสัมผัส (Touch Pad) จอยสติก (Joy stick) เป็นต้น
  • 6.
  • 7. จอภำพสัมผัส(Touch Screen)  จอสัมผัส (touchscreen) เป็นรูปแบบหนึ่งของอุปกรณ์แสดงผลและนาเข้าข้อมูลที่ผสมร่วมกัน เพื่อลดขนาดพื้นที่การใช้งาน โดยโปรแกรมจะแสดงผลภาพกราฟิกบนจอภาพ และผู้ใช้สามารถใช้นิ้ วมือ สัมผัสบนจอภาพ เพื่อเลือกรายการต่างๆ ทั้งที่อยู่ในลักษณะของรูปภาพ หรือข้อความก็ได้ เพื่อสั่งงาน จอ สัมผัสนิยมนามาใช้ในลักษณะของงานที่ช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาการใช้อุปกรณ์นาเข้าแบบจับต้อง
  • 8.
  • 9. ระบบปำกกำ (Pen-Based System) • ปากกาแสง (Light pen) ใช้เซลล์แบบซึ่งมีความไวต่อแสงเป็นตัวกาหนดตาแหน่งบนจอภาพ รวมทั้งสามารถใช้วาดลักษณะหรือรูปแบบ ของข้อมูลให้ปรากฏบนจอภาพ การใช้งานทาได้โดยการแตะปากกาแสงไปบนจอภาพตามตาแหน่งที่ต้องการ นิยมใช้กับงานคอมพิวเตอร์ช่วยการออกแบบ (CAD หรือ Computer Aided Design ) รวมทั้งนิยมให้เป็นอุปกรณ์ป้ อนข้อมูลโดยการเขียนด้วยมือในคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก เช่น PDA เป็นต้น
  • 10. • เครื่องอ่านพิกัด (Digitizing tablet) ประกอบด้วยกระดาษที่มี เส้นแบ่ง (Grid) ซึ่งสามารถใช้ปากกา เฉพาะที่เรียกว่า stylus ชี้ไปบนกระดาษนั้น เพื่อส่งข้อมูลตาแหน่งเข้า ไปยังคอมพิวเตอร์ ปรากฏเป็นลายเส้นบนจอภาพ เป็นอุปกรณ์อีกชนิด หนึ่งที่นิยมใช้กับงานด้าน CAD เช่น ใช้ในการออกแบบรถยนต์รุ่นใหม่ ตึกอาคาร อุปกรณ์ทางการแพทย์ และหุ่นยนต์ เป็นต้น
  • 11.
  • 12. อุปกรณ์กวำดข้อมูล (Data Scanning Device)  เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ระบบการรวิเคราะห์แสง ช่วยในการพิมพ์ข้อมูลเข้าน้อยที่สุด โดยอ่านข้อมูลเข้าสู่ คอมพิวเตอร์ด้วยการใช้ลาแสงกวาดผ่านข้อมความหรือสัญลักษณ์ต่างๆ ที่พิมพ์ไว้ เพื่อนาไปแยกแยะ รูปแบบต่อไป มีอุปกรณ์ที่ได้รับความนิยม
  • 13.  เอ็มไออาร์ซี (Magnetic Character Recognition - MIRC) มีผู้นิยมใช้เช็คมากขึ้น จึงมีผู้คิดค้นเพื่อให้ตรวจสอบเช็คได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และเชื่อถือได้ โดยได้ประดิษฐ์เครื่อง MIRC ขึ้นใช้ในธนาคาร เพื่อตรวจสอบเช็ค โดยเครื่องจะทาการเข้ารหัสธนาคาร รหัสสาขา เลขที่บัญชี และเลขที่เช็ค ไว้ในเช็คทุกใบขึ้นใช้ในธนาคารเพื่อตรวจสอบเช็ค ข้อดีของ MIRC คือ มีมนุษย์เข้ามาเกี่ยวข้องน้อย ทาให้มีเปอร์เซนต์ความผิดพลาดน้อย รหัส MIRC ที่ใช้สามารถอ่านได้ทั้งคน และเครื่อง MIRC ทางานได้อย่างอัติโนมัติ รวดเร็วและเชื่อถือได้
  • 14.  เครื่องอ่านรหัสบาร์โคด (Bar Code Reader) เริ่มใช้ในปี ค.ศ. 1970 พิมพ์รหัสสินค้าออกมาในรูแถบสีดาและขาวต่อเนื่องกัน เรียกว่าหัว บาร์โคด จากนั้นจะสามารถใช้เครื่องรหัสบาร์โคดอ่านข้อมูลบนแถบบร์โคด เพื่อเรียกข้อมูลของรายการ สินค้านั้น ออกมาจากฐานข้อมูล แล้วจึงทาการประมวลผลข้อมูลรายการนั้นๆ และทางานต่อไป
  • 15.  สแกนเนอร์ (Scanner) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่านหรือสแกน ข้อมูลบนเอกสารเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยใช้วิธีส่องแสง ไปยังวัตถุที่ต้องการสแกน แสงที่ส่องไปยังวัตถุและสะท้อนกลับมาจะถูกส่งผ่านไปที่ เซลล์ไวแสง ซึ่งจะทา การตรวจล จับความเข้มแสงที่สะท้อนออกมาจากวัตถุ และแปลงให้อยู่ในรูปของข้อมูลทางดิจิตอล
  • 17.  -สแกนเนอร์แบบสอดกระดาษ (Sheetfed Scanner) ผู้ใช้ต้องสอดภาพหรือเอกสารไปยัง ช่องสาหรับอ่านข้อมูล เครื่องชนิดนี้ เหมาะสาหรับการอ่านเอกสารที่เป็นแผ่นๆ แต่ไม่สามารถอ่านเอกสาร ที่เย็บเป็นเล่มได้
  • 18.  -สแกนเนอร์แบบแท่น (Flatbed Scanner) เป็นที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ผู้ใช้เพียงวางกระดาษ ต้นฉบับที่ต้องการไปบนเครื่องสแกนเนอร์ มีวิธีการใช้คล้ายกับเครื่องถ่ายเอกสาร ทาให้ใช้งานได้ง่าย
  • 19.  เครื่องรู้จาอักขระด้วยแสง (Optical Character Recognition - OCR) โอซีอาร์ เป็นอุปกรณ์สาหรับอ่านข้อมูลที่เป็นตัวอักขระบนเอกสารต่างๆ และทาการแปลง ข้อมูลแบบดิจิตอลที่อ่านได้เป็นตัวอักษรอัตโนมัติ การใช้โอซีอาร์ยังมีจากัดพอสมควร เนื่องจากมีบ่อยครั้ง ที่มีการตีความผิดพลาด อักขระเกิดขึ้น โดยเฉพาะหากข้อความในเอกสารไม่ได้เป็นตัวเรียงพิมพ์ (เช่น ลายมือเขียน) อย่างไรก็ดี โอซีอาร์ก็เป็นเครื่องช่วยอานวยความสะดวกในการนาข้อมูลเข้าเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะ ในงานที่ต้องเกี่ยวข้องกับการจัดเก็บเอกสารเป็น จานวนมาก เช่น ห้องสมุดต่างๆ เป็นต้น
  • 20.  ครื่องอ่านข้อมูลด้วยแสง (Optical Mark Reader - OMR) โอเอ็มอาร์ เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้การอ่านสัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายที่ระบายด้วยดินสอดา ลงในตาแหน่งที่กาหนด ตัวอย่างเช่น ข้อสอบแบบเลือกคาตอบ เป็นต้น โดยดินสอดาที่ใช้ต้องมี สาร แม่เหล็กจานวนหนึ่ง เพื่อให้เครื่อง โอเอ็มอาร์สามารถรับรู้ได้ ซึ่งปกติจะเป็นดินสอ 2B จากนั้นเครื่อง โอเอ็มอาร์ก็จะอ่านข้อมูลตามเครื่องหมายที่มีการระบายด้วยดินสอดา
  • 21.  กล้องถ่ายภาพดิจิตอล (Digital Camera) เป็นอุปกรณ์ใช้สาหรับถ่ายภาพแบบไม่ต้องใช้ฟิล์ม โดยเก็บภาพถ่ายลักษณะดิจิตอลด้วย อุปกรณ์ CCD ภาพที่ได้ประกอบด้วยจัดเล็กๆ จานวนมาก และสามารถนาเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อ ใช้งานได้ไดยไม่ต้องใช้อุปกรณ์สแกนเนอร์อีก
  • 22.
  • 23.  กล้องถ่ายทอดวีดีโอดิจิตอล (Digital vedio) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับบันทึกภาพเคลื่อนไหวและเก็บเป็นข้อมูลแบบดิจิตอล การประชุม ทางไกลผ่านวีดีโอ ซึ่งเป็นการประชุมแบบกลุ่มผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น ผ่านอินเตอร์เนท เป็นต้น อย่างไรก็ดี กล้องถ่ายรูปแบบวีดีโอนี้ สามารเก็บภาพเคลื่อนไหวได้เพียง 10 - 15 เฟรมต่อวินาทีเท่านั้น
  • 24.
  • 25. อุปกรณ์รู้จำเสียง (Voice Recognition Device)  การสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์ในรูปของเสียงเป็นอีกขั้นตอนหนึ่งของกาสรพัฒนาทางเทคโนโลยี แม้ อาจจะมีปัญหาอยู่บ้างก็ตาม อุปกรณ์ที่ใช้เล่น อุปกรณ์วิเคราะห์เสียงพูด (Speech Recognition Device)
  • 26.