SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
รหัสวิชา 76 วิชา ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)
สอบวันอาทิตย์ที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
ชื่อ-นามสกุล................................................................. เลขที่นั่งสอบ......................................
สถานที่สอบ................................................................. ห้องสอบ............................................
คำอธิบาย
1. ข้อสอบเป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จำนวน 100 ข้อ ( 30 หน้า ) 300 คะแนน
2. ก่อนตอบคำถาม ให้เขียนชื่อ-นามสกุล เลขที่นั่งสอบ สถานที่สอบและห้องสอบ
ในข้อสอบ
3. ให้เขียนชื่อ-นามสกุล วิชาที่สอบ สถานที่สอบ ห้องสอบ เลขที่นั่งสอบและรหัสวิชา
ที่สอบด้วยปากกาในกระดาษคำตอบ พร้อมทั้งระบายเลขที่นั่งสอบและรหัสวิชา
ด้วยดินสอดำเบอร์2B ทับตัวเลขในวงกลม ให้ตรงกับตัวเลขที่เขียน
4. ในการตอบ ให้ใช้ดินสอดำเบอร์ 2B ระบายวงกลมตัวเลือก หรือ
ในกระดาษคำตอบให้เต็มวง (ห้ามระบายนอกวง) ในแต่ละข้อมีคำตอบที่ถูกต้องหรือ
เหมาะสมที่สุดเพียงคำตอบเดียว
ตัวอย่าง ถ้าตัวเลือก เป็นคำตอบที่ถูกต้อง ให้ทำดังนี้
ถ้าต้องการเปลี่ยนตัวเลือกใหม่ ต้องลบรอยระบายในวงกลมตัวเลือกเดิม ให้สะอาด
หมดรอยดำเสียก่อน แล้วจึงระบายวงกลมตัวเลือกใหม่
5. ห้ามนำข้อสอบและกระดาษคำตอบออกจากห้องสอบ
6. ไม่อนุญาตให้ผู้เข้าสอบออกจากห้องสอบ ก่อนหมดเวลาสอบ
2
1 3 4
1 2 3 4
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
2
1.
ตามภาพที่กําหนดใหโดยใชมุมมองของระดับสายตา จงระบุมุมมองที่ถูกตอง
1. มองตรง
2. มองขึ้น
3. มองลง
4. มองจากการคํานวณ
2. จงเลือกชื่องานศิลปะและศิลปนตอไปนี้ที่บงบอกถึงคุณสมบัติของงานจากยุค Pop Art
1. “เดวิด” ไมเคิลแอนเจลโล
2. “เกาอี้แดง-น้ําเงิน” เกอรริท ริเอทเวลด
3. “ฝน” อองรี มาติสส
4. “มาริลีน มอนโร” แอนดี้ วอรฮอล
3. เทคนิคการวาดภาพบนฝาผนังที่นิยมใชในยุค Renaissance มีกรรมวิธีการลงสีที่เปนเอกลักษณ
และมีความหมายสอคคลองกับคําอธิบายในขอใด
1. การใชสีน้ํามันที่ซึมเขากับผิวของผนัง
2. ทักษะการพนสีลงพื้นผนังที่ขรุขระ
3. การลงสีลงบนพื้นผนังปูนที่ยังเปยกอยู
4. การประกอบชิ้นกระจกแกวสีลงบนผิวผนัง
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
3
4. เทคนิคการวาดภาพดวยสีน้ํา มีคุณสมบัติอยางไรที่จัดวาเหมาะสมที่สุดในการเขียนภาพแสดงมิติเชน
ภาพ Landscape
1. แสดงลายเสนที่ชัดเจน
2. แสดงน้ําหนักความเขมและความออนของลายเสน
3. แสดงน้ําหนักความกลมกลืนของลายเสน
4. แสดงลักษณะรูปทรงของลายเสนที่คลายกับการเขียนแบบ
5. รูปทรงตอไปนี้ แสดงใหเห็นถึงความรูสึกที่เกี่ยวของกับการออกแบบในลักษณะใด
1. ความสอดคลองและสมดุล
2. ความแตกแยกและกาวราว
3. ความขัดแยงและไรทิศทาง
4. ความผสมผสานที่ยังคงเอกลักษณเฉพาะตัว
6. งานศิลปะในรูปแบบสองมิติประเภทงานที่กอใหเกิดมุมมองและความคิดเห็นที่ไมชัดเจนจัดอยูในงาน
ประเภทมิติมายาหรือมิติลอง (illusion ) จงเลือกคําตอบที่ไมใชวิธีการตรวจสอบงานสองมิติประเภทนี้
1. ปริมาณขอบเขตของภาพ
2. ปริมาณบริเวณบวกและลบ
3. ปริมาณและจําพวกของวัสดุ
4. ปริมาณบริเวณวางที่ราบเรียบ
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
4
7. จากภาพตอไปนี้จงเลือกคําอธิบายที่แสดงใหเห็นถึงความแตกตางหรือความสัมพันธของรูปทรง
ที่เหมาะสมที่สุด
1. ทรงกลมมีความกลมกลืนมากกวาทรงเหลี่ยม
2. น้ําหนักของภาพทั้งสองอยูทางขวาของภาพ
3. พื้นที่บวกและลบของภาพทั้งสองมีปริมาณไมเทากัน
4. ภาพขวามีพื้นที่ลบที่นอยกวาภาพทางดานซาย
8. หลักการออกแบบภาพสามมิติประกอบไปดวยงานในการแสดงผลดานปริมาตรของรูปทรง
จงเลือกคําตอบที่มีความสัมพันธนอยที่สุด ในขั้นตอนการออกแบบภาพสามมิติ
1. สรุปตนแบบจากแรงบันดาลใจ
2. เขียนแบบจากภาพราง
3. ออกแบบจากภาพราง
4. สรางตามลักษณะเฉพาะของวัสดุ
9. คุณสมบัติขอใดที่ไมสื่อถึงวิธีการแสดง ภาพหนังใหญ หรือภาพหนังตะลุง
1. มีดนตรีหรือรองประกอบ
2. มีการพากยและบรรยาย
3. แสดงในเวลากลางคืนหรือภายในที่รม
4. มีการแสดงภาพสามมิติบนผนังหรือกําแพง
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
5
10. ศิลปะจากทวีปแอฟริกาถูกนํามาเปนประเด็นหลักและองคประกอบในงานศิลปะและการออกแบบ
จงเลือกประเด็นหลักและองคประกอบดังกลาวที่นิยมใชในงานศิลปะสากล เชน Cubism หรือ
Modern Art
1. รูปทรงเรขาคณิตและอิสระ
2. น้ําหนักและลักษณะผิวของสี
3. วัสดุธรรมชาติกับชิ้นงาน
4. การลงสีที่ไมใชพูกัน
11. งานออกแบบโตะและเกาอี้หวาย มีความผูกพันกับวัฒนธรรมการออกแบบทองถิ่น
จงเลือกปจจัยการออกแบบที่มีผลกระทบโดยตรงกับผลิตภัณฑเครื่องเรือนที่ออกแบบดวยหวาย
1.ทัศนะสวนบุคคลของนักออกแบบ
2.ความตองการในการดํารงขีวิต
3.การพัฒนาในระบบการผลิต
4.ความกาวหนาทางวัสดุในการออกแบบ
12. นิยามของระบบการออกแบบจากขอใดที่สนับสนุนการสรางแมพิมพที่นํามาใชในการออกแบบงานหลอ
1. บริเวณวางกับพื้นที่บวกและลบ
2. มวลและปริมาตรของความสมดุล
3. น้ําหนักและคาแตกตางของวัสดุ
4. รูปรางและรูปทรงเรขาคณิต
13. แนวความคิดจากขอใดไมมีสวนเกี่ยวของกับการพัฒนาระบบคอมพิวเตอรเพื่องานศิลปะและ
การออกแบบภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง
1. วิธีการประยุกตจากลูกคิดและไมบรรทัดคํานวน
2. ระบบเครือขายทั่วโลก
3. ระบบหนวยความทรงจําแบบความถี่ตํ่า
4. กระบวนการทํางานที่ใชคอมพิวเตอรเปนหลัก
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
6
14. คําอธิบายจากขอใดที่มีสวนชวยสรางองคประกอบในลักษณะ asymmetric
1. มีจุดเดนตรงกลางของภาพ
2. มีจุดเดนที่ไมเนนถึงความสมดุล
3. แสดงรูปทรงที่ไมแสดงถึงขนาดที่แตกตาง
4. แสดงการผสมผสานของสีที่กลมกลืนกันเปนเนื้อเดียว
15. นิยามคําศัพทจากขอใดที่กลาวถึงความหมายของจังหวะและลีลาของงานศิลปะและการออกแบบ
ในเชิงปฏิบัติ
1. การออกแบบที่ซ้ําหรือจําเจ
2. การออกแบบใหมตามยุคสมัย
3. การออกแบบที่ตัดองคประกอบยอย
4. การออกแบบที่คงที่และอนุรักษวัสดุ
16. จงเลือกคําตอบที่เนนถึงการใชสีในระบบอุตสาหกรรมสําหรับการออกแบบสิ่งพิมพและบรรจุภัณฑ
1. การใชสีประเภท Tempera
2. การใชสีประเภท Off-Set
3. การใชสีประเภท Fresco
4. การใชสีประเภท Airbrush
17. จากคําตอบตอไปนี้สีประเภทใดไมสามารถสื่อถึงภาพลักษณและความรูสึกของคําวา “รุงอรุณ”
1. สี ผสมกากเพชร
2. สี ผสมเกล็ดโลหะ
3. สี ผสมโทนรอน
4. สี ผสมโทนเย็น
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
7
18. ตามหลักขององคประกอบของงานศิลปะและการออกแบบ ที่ประกอบดวย บริเวณวาง สี น้ําหนัก
ปริมาตร หรือลักษณะผิว จากการเตรียมงานกอนกระบวนการออกแบบจงเลือกองคประกอบที่
เหมาะสมกับบทบาทและการวางรากฐานในการทํางาน
1. วัสดุ
2. ทัศนคติ
3. รูปทรง
4. การตลาด
19. จากคําตอบตอไปนี้ จงเลือกรูปแบบของ “แรงบริเวณวาง” ที่ไมสนับสนุนหรือไมแสดงถึง แนวทางใน
การสรางงานใหมีเอกลักษณเฉพาะตัว
1. รูปรางที่แตกตางกัน
2. ลักษณะผิวที่แตกตางกัน
3. เสนหรือสัดสวนที่ขัดแยงกัน
4. สีที่จัดวางดวยจังหวะ
20. ในการทอไหมไทยในรูปแบบของงานหัตถกรรมและระบบอุตสาหกรรม จงเลือกนิยาม ที่สรุปลักษณะ
การทอและการผลิตไหมไทยสูงานผลิตภัณฑในยุคปจจุบัน
1. คงความเปนไทยจากวัสดุธรรมชาติที่ผสมกับวัสดุสังเคราะห
2. พัฒนาแนวความคิดของลายจากวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบาน
3. คงไวซึ่งกรรมวิธีการทอและการผลิตบนกี่ทอไหม
4. ลวดลายที่จดจําจากการถายทอดของผูเชี่ยวชาญ
21. รูปทรงและเอกลักษณที่ดูเดนจากคาความแตกตางของแสงและเงา มีหลักการสรางชิ้นงานที่สอดคลอง
กับคําอธิบายในขอใด
1. ใชหลักการของแรงโนมถวง
2. ใชหลักการธรรมชาติของแสงตกกระทบ
3. ใชหลักการของการบันทึกจากการคํานวน
4. ใชหลักการจากการเก็บแสงลงในสวนผสมของสี
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
8
22. ศิลปนที่จัดอยูในยุค Cubism มีเอกลักษณเฉพาะตัวในชิ้นงานศิลปะที่สรางขึ้น จงเลือกใจความที่
เหมาะสมกับงานประเภทนี้
1. มีลักษณะที่เหมือนจริง
2. มีการใชสีน้ํามันแตเพียงอยางเดียว
3. ใชสื่อและแรงบันดาลใจจากประเทศในทวีปยุโรป
4. มีการผสมผสานของรูปทรงเรขาคณิต
23. งานหัตถกรรม “ภาพลงรักปดทอง” ใชแรธาตุอะไรเปนสื่อที่แสดงถึงเอกลักษณของงานประเภทนี้
1. ทองแดง 2. หรดาล
3. ดีบุก 4. ทองคําขาว
24. จากคําตอบตอไปนี้จงเลือกคําอธิบายที่มีความสัมพันธนอยที่สุดกับลักษณะของงานศิลปะประดิษฐ
1. แสดงความงามเดนกวาประโยชน
2. มีลักษณะงานที่เปนโครงสรางหลัก
3. แสดงความวิจิตรบรรจง
4. มีลักษณะเปนงานองคประกอบเสริม
25. จากคําตอบจงเลือกคุณสมบัติที่ไมสามารถใชในการตรวจสอบภาพสองมิติในงานศิลปะ
หรืองานออกแบบ
1. ตรวจสอบจากบริเวณผิวหนา
2. ตรวจสอบจากบริเวณบวกและลบ
3. ตรวจสอบจากขอบภาพ
4. ตรวจสอบจากความลึกของชิ้นงาน
26. จงเลือกคําตอบที่ไมใชขอพิจารณาลักษณะของงาน ออกแบบสามมิติ
1. เกณฑมุมมองของระนาบเหลี่ยม
2. เกณฑมุมมองของระนาบโคง
3. เกณฑมุมมองของระนาบเรียบ
4. เกณฑมุมมองของระนาบซับซอน
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
9
27. จงเลือกลักษณะชิ้นงานหรือประเภทของโครงสรางจากมุมมองทัศนศิลป
1. ขึ้นรูปแบบวัฒนธรรมทองถิ่น
2. โครงสรางแบบรูปทรงอิสระ
3. โครงสรางแบบทรงเรขาคณิต
4. โครงสรางแบบบรรพกาล
28. รูปแบบนามธรรมมีสวนประกอบเฉพาะตัวที่ยากตอการระบุคําจํากัดความ จงเลือกคําตอบที่ระบุ
วิธีการคนหาความหมายหรือคุณสมบัติของรูปแบบนามธรรมสําหรับงานศิลปะและงานออกแบบ
1. ประกอบดวยรูปทรงอิสระและรูปทรงเรขาคณิต
2. ประกอบดวยรูปทรงที่สื่อถึงสภาพแวดลอมโดยตรง
3. ประกอบดวยรูปทรงจากผลของการคํานวณ
4. ประกอบดวยรูปทรงที่แสดงการประสานของวัสดุ
29. งานออกแบบถูกสรางสรรคใหอยูในสังคมและชีวิตประจําวัน จงเลือกลักษณะของงานออกแบบ
ที่สามารถใหเหตุผลของวัตถุประดิษฐในกรณีของเกาอี้ชุดสําหรับหองรับประทานอาหาร
1. งานออกแบบเพื่อสนองความงาม
2. งานออกแบบเพื่อการสะสม
3. งานออกแบบเพื่อการอยูอาศัย
4. งานออกแบบเพื่อการรักษาสุขภาพของชีวิต
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
10
30. จงเลือกตัวอยางของวัสดุและลักษณะการประกอบที่เหมาะสม สําหรับงานศิลปะหรืองานออกแบบที่มี
ลักษณะถาวรแตมีโครงสรางที่เคลื่อนไหว
1. ไมเนื้อออน กับ การหลอคอนกรีต
2. แผนโฟม กับ การผูกหรือพัน
3. แผนโลหะดัด กับ การเชื่อมติดตอ
4. ไมเนื้อแข็ง กับ การตอกดวยหมุด
31. จงเลือกศิลปนและชื่อของผลงานที่จัดอยูในยุคของงานแบบสัจนิยม (Realism)
1. พาโบล ปคาสโซ “คนเลนกีตาร”
2. เฟรนานด เลเจอร “คนเลนไฟ”
3. ฟรานซิสโก เดอโกยา “3 พฤษภาคม 2351”
4. อองรี มาติสส “นักดนตรี”
32. จากภาพงานศิลปะชิ้นนี้ จงเลือกคําตอบที่ระบุถึงลักษณะในทัศนศิลปที่เหมาะสม
1. รูปทรงตามการคํานวณ
2. รูปทรงแบบอุดมคติ
3. รูปทรงแบบบรรพกาล
4. รูปทรงนุมนวล
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
11
33. จากภาพตัวอยางนี้ จงเลือกยุคที่เหมาะสมกับรูปแบบของงานศิลปะโดยใหคํานึงถึงเนื้อหา
ของภาพเปนหลัก
1. ยุค Pop art
2. ยุค Cubism
3. ยุค Romanticism
4. ยุค Modern art
34. ขอใดเปนความหมายพื้นฐานของดนตรีที่ถูกตองที่สุด
1. ดนตรีเปนเรื่องของทักษะ
2. ดนตรีเปนเรื่องของอารมณ
3. ดนตรีเปนเรื่องของสัญลักษณ
4. ดนตรีเปนเรื่องของเสียง
35. ดนตรีในยุคโรแมนติกตรงกับดนตรีสมัยใดของไทย
1. สมัยกรุงธนบุรี - รัชกาลที่ 3
2. รัชกาลที่ 1 - รัชกาลที่ 4
3. รัชกาลที่ 2 - รัชกาลที่ 5
4. รัชกาลที่ 4 - รัชกาลที่ 7
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
12
36. ขอใดเปนคํากลาวที่ถูกตองที่สุดเกี่ยวกับประวัติความเปนมาของดนตรีไทย
1. ดนตรีไทยแยกเปนสองฝาย คือ ฝายที่เกี่ยวกับประเพณีราษฎรมีบานเปนศูนยกลาง ฝายที่
เกี่ยวของกับประเพณีหลวงมีวังเปนศูนยกลาง
2. ดนตรีไทยแยกเปนสองฝาย คือ ฝายที่เกี่ยวกับประเพณีราษฎรมีวัดเปนศูนยกลาง ฝายที่
เกี่ยวของกับประเพณีหลวงมีวังเปนศูนยกลาง
3. ดนตรีไทยแยกเปนสองฝาย คือ ฝายที่เกี่ยวกับประเพณีราษฎรมีวัดเปนศูนยกลาง ฝายที่
เกี่ยวของกับประเพณีหลวงมีกรมศิลปากรเปนศูนยกลาง
4. ดนตรีไทยแยกเปนสองฝาย คือ ฝายที่เกี่ยวกับประเพณีราษฎรมีบานเปนศูนยกลาง ฝายที่
เกี่ยวของกับประเพณีหลวงมีกรมศิลปากรเปนศูนยกลาง
37. เครื่องดนตรีที่เปนหลักของดนตรีไทยคือขอใด
1. เครื่องตี
2. เครื่องดีด
3. เครื่องสี
4. เครื่องเปา
38. รูปพรรณ หรือ texture ในขอใดที่พบไดนอยที่สุดในวัฒนธรรมดนตรีตะวันตก
1. Heterophony
2. Polyphony
3. Monody
4. Monophony
39. Symphony No. 3 ………………., Op. 55 by Beethoven ขอความที่หายไปคือขอใด
1. Eroica
2. in E flat major
3. in Allegro
4. with Orchestra
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
13
จากขอความตอไปนี้ ใหตอบขอสอบ ขอ 40, 41 และ 42
ในพิธีมงคลสมรสงานหนึ่ง วงดนตรีไทยที่เจาภาพจัดมาบรรเลง ประกอบดวยเครื่องดีด เครื่องสี
เครื่องตี และเครื่องเปา เพลงที่นํามาบรรเลงชวงหนึ่ง มีการรับรองสงรอง และมีอัตราจังหวะลดหลั่นกันไป
(1) สวนในชวงทายของการบรรเลง มีการใชเครื่องดนตรีบรรเลงเลียนเสียงรองที่เรียกวา “การวาดอก”
40. วงดนตรีที่บรรเลงในงานครั้งนี้เรียกวาวงอะไร
1. วงปพาทย 2. วงเครื่องสาย
3. วงมโหรี 4. วงเครื่องสายผสม
41. เพลงที่ใชในการบรรเลงชวงดังกลาว (1) เปนเพลงประเภทใด
1. เพลงรอง
2. เพลงเถา
3. เพลงตับ
4. เพลงรับรอง
42. เพลงสุดทายที่บรรเลงเรียกวาอะไร
1. เพลงลา
2. เพลงทยอย
3. เพลงเรื่อง
4. เพลงหนาพาทย
43. ขอใดถูกตองที่สุด
1. เพลงเถาเปนเพลงที่มีอัตราจังหวะลดหลั่นกันไป
2. เพลงตับเปนเพลงที่มีเพลงหลายเพลงเรียงติดตอกัน และตองเปนเพลงประเภทเดียวกัน
3. วงเครื่องสายเครื่องเดี่ยวประกอบดวย ซออู ซอดวง จะเข ขลุยเพียงออ ขลุยหลิบ โทน รํามะนา
และฉิ่ง
4. วงปพาทยดึกดําบรรพมีเครื่องดนตรีสําคัญ คือ ปไฉน และกลองแขก
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
14
44. วงดนตรีที่มี “กลองสองหนา” เปนเครื่องประกอบจังหวะ เปนวงดนตรีประเภทใด
1. วงขับไม
2. วงปพาทยมอญ
3. วงปพาทยไมนวม
4. วงปพาทยเสภา
45. บทเพลงในขอใดไมจัดอยูในประเภทเพลงรอง
1. Chant
2. Fugue
3. Mass
4. Oratorio
46. ขณะฟงบทเพลงหนึ่งซึ่งเปนเพลงในยุคบาโรก ขอใดที่ไมนาพบในการบรรเลงเพลงดังกลาว
1. Basso continuo
2. Terraced dynamics
3. Sonata form
4. Polyphony
47. ในการบรรเลงเพลงของวงดนตรีประเภทเครื่องเปาทองเหลือง เครื่องดนตรีที่ไมควรพบในวงดนตรีวงนี้
คือขอใด
1. Saxophone
2. French horn
3. Trombone
4. Tuba
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
15
48. เครื่องดนตรีในขอใดที่ใชกุญแจ (key) ในการบันทึกโนตแตกตางจากเครื่องดนตรีชนิดอื่น ๆ
1. Clarinet
2. Trumpet
3. Flute
4. Viola
49. ปกติบทเพลงคลาสสิกมีการกําหนดความเร็วจังหวะในการบรรเลงไว เมื่อฟงบทเพลงหนึ่งที่มีลีลา
จังหวะเร็วมีชีวิตชีวา คําที่ใชในการกําหนดความเร็วจังหวะของบทเพลงนี้คือขอใด
1. Agitato
2. Vivace
3. Attacca
4. Vivo
50. แตเดิม “วงปพาทยเครื่องหา” ไมมีเครื่องดนตรีอะไรในการผสมวง
1. ป กลอง
2. โทน กลองชาตรี
3. ฆองคู ฉิ่ง
4. ระนาดเอก ระนาดทุม
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
16
เลือกชื่อเพลงตอไป ในการตอบคําถามขอ 51 – 53
1. เพลงพระอาทิตยชิงดวง 5. เพลงอาหนู
2. เพลงเชิดจีน 6. เพลงลาวดวงเดือน
3. เพลงนกขมิ้น 7. เพลงจีนแส
4. เพลงอกทะเล 8. เพลงแขกลพบุรี
51. เพลงในขอใดเปนเพลงประเภทที่มีการ “วาดอก”
1. 1 และ 3
2. 1 และ 6
3. 4 และ 6
4. 4 และ 8
52. เพลงในขอใดเปนเพลงประเภท “เพลงทยอย”
1. 1, 2 และ 4
2. 2, 4 และ 5
3. 2, 4 และ 8
4. 4, 5 และ 7
53. เพลงในขอใดเปนเพลงประเภท “เพลงลา”
1. 1, 3, 5 และ 7
2. 1, 3, 4 และ 6
3. 2, 3, 4 และ 6
4. 2, 3, 5 และ 6
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
17
54. ศิลปนแหงชาติทานใดที่มีสีชื่อเสียงในเรื่องการขับรองเพลงจาก ละครรอง ไดมากที่สุดในปจจุบัน
1. พลเรือตรี มงคล แสงสวาง
2. อาจารยแจง คลายสีทอง
3. อาจารยเจริญใจ สุนทรวาทิน
4. อาจารยสุดจิตต ดุริยประณีต
55. บทเพลงประเภทใดที่มีวิวัฒนาการยาวนานที่สุด และมีรูปแบบแตกตางจากสมัยแรกอยางมาก
1. Mass
2. Sonata
3. Symphony
4. Chamber music
56. Romeo Juliet และ Don Juan เปนบทเพลงที่นิยมประพันธในสมัยใด และเปนบทเพลงประเภทใด
1. Baroque, Cantata
2. Classic, Oratorio
3. Romantic, Program Music
4. Twentieth Century, Partita
57. ในตอนหนึ่งของโอเปรา ราชินีแหงราตรีกาลเริ่มตนพูดคุยกับพระเอก และเริ่มเลาเรื่องราวความทุกข
ระทมของตน เมื่อพระเอกไดฟงแลว จึงรําพึงรําพันกับตนเองวาชางนาสงสาร และตนยินดีจะชวยเหลือ
ราชินีแหงราตรีกาลดวยความเต็มใจ การขับรองในชวงนี้สามารถแสดงไดอยางครบถวนในขอใด
1. การขับรองแบบ aria, การขับรองโดยเสียงโซปราโน และการขับรองโดยเสียงเทเนอร
2. การขับรองโดยเสียงโซปราโน, การขับรองแบบ recitative, และการขับรองแบบ aria
3. การขับรองแบบ recitative, การขับรองแบบ aria, และการขับรองโดยเสียงเทเนอร
4. การขับรองโดยเสียงเทเนอร, การขับรองแบบ aria, และการขับรองโดยเสียงโซปราโน
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
18
58. Piano Quintet ที่มีชื่อเสียงบทหนึ่ง ประพันธโดย Schubert ที่ทุกคนรูจักกันดี
ในชื่อ The Trout Quintet มีการผสมวงที่แปลกกวา piano quintet ทั่ว ๆ ไป
ขอใดคือการผสมวงของบทเพลงนี้
1. Violin, viola, cello, double bass และ piano
2. Violin 1, violin 2, viola, cello และ piano
3. Violin, viola 1, viola 2, cello และ piano
4. Violin 1, violin 2, cello, double bass และ piano
59. Concerto grosso ที่มีชื่อเสียงชุดหนึ่งประพันธในยุคบาโรก คือขอใด
1. Water Music จํานวน 6 บท ประพันธโดย Händel
2. Brandenburg Concerto จํานวน 6 บท ประพันธโดย Bach
3. The Four Seasons จํานวน 4 บท ประพันธโดย Händel
4. Solomon จํานวน 4 บท ประพันธโดย Vivaldi
60. ดนตรีในขอใดมีความซับซอนนอยที่สุด
1. การบรรเลงของวงมโหรีเครื่องคู
2. การขับรองและบรรเลงของวงปพาทยเครื่องคู
3. การขับรองประสานเสียงรวมกับวงออรเคสตรา
4. การแสดงบทเพลงประเภทออราทอริโอ
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
19
61. ขอใดเปนภาพแสดงการคิดสรางสรรคทางดนตรีที่ยังคงยึดแนวคิดเดิมอยู
1.
2.
3.
4.
62. ขอใดสื่อแสดงเสียงที่มีรูปแบบทางดนตรีที่แตกตางไปจากนี้
1.
2.
3.
4.
63. ขอใดนาจะเปนการประพันธเพลงแบบ canon
1.
2.
3.
4.
 
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
20
บันไดเสียง: pentatonic scale, diatonic scale, major scale, minor scale, chromatic scale,
whole tone scale
วงดนตรี: ปพาทยไมแข็ง, มโหรี, symphony orchestra, string quartet, chamber orchestra, chorus
รูปแบบ: binary form, ternary form, theme and variations, rondo form, sonata form
ใชรายละเอียดที่กลาวถึงนี้ ตอบคําถามขอ 64 – 66
64. ถาตองการประพันธบทเพลงที่แสดงถึงชีวิตของชาวอีสาน ที่แสดงความสมบูรณแบบของวัฒนธรรม ซึ่ง
เต็มไปดวยความซับซอน ควรเปนการประพันธในขอใด
1. Pentatonic scale, string quartet, chorus, ternary form
2. Whole tone scale, ปพาทยไมแข็ง, binary form
3. Diatonic scale, symphony orchestra, chorus, sonata form
4. Chromatic scale, มโหรี, theme and variations
65. ขอใดเปนองคประกอบที่แสดงถึงวิถีชีวิตของชาวกรุงเทพมหานครไดอยางครบถวนที่สุด
1. Minor scale, chorus, pentatonic scale, ปพาทยไมแข็ง, chamber orchestra, sonata form
2. Whole tone scale, string quartet, major scale, มโหรี, pentatonic scale, ternary form
3. Diatonic scale, มโหรี, chromatic scale, symphony orchestra, chorus, binary form
4. Pentatonic scale, ปพาทยไมแข็ง, diatonic scale, chamber orchestra, whole tone scale,
rondo form
66. ถาตองการประพันธบทเพลงที่แสดงชีวิตมนุษยและสังคมที่พัฒนามาในชวงกาลเวลา 2,000 ป
ที่ผานมา ขอใดมีลักษณะที่เหมาะสมที่สุด
1. Pentatonic scale, symphony orchestra, chromatic scale, chorus, rondo form
2. Major scale, chamber orchestra, pentatonic scale, symphony orchestra, binary form
3. Diatonic scale, chorus, pentatonic scale, string quartet, sonata form
4. Pentatonic scale, string quartet, whole tone scale, chorus, theme and variations
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
21
67. ผูใดไมจัดอยูในฝายอํานวยการ (การแสดง)
1. ผูอํานวยการ
2. ผูออกแบบเครื่องแตงกาย
3. ผูกํากับเวที
4. ผูกํากับการแสดง
68. วรรณกรรมเรื่องใดไดรับการยกยองวาเปนยอดของความเรียง
1. สามกก (บทประพันธของเจาพระยาพระคลัง (หน)
2. ขุนชางขุนแผน
3. หัวใจนักรบ
4. สังขทอง (พระราชนิพนธในรัชกาลที่ 2)
69. “ระบําใหญ ” หมายถึงการแสดงชุดใด
1. แมบทใหญ 2. ระบําดาวดึงส
3. ระบําสี่บท 4. ระบําพรหมมาศ
70.
จากภาพ เปนที่มาของการแสดงอะไร
1. ปะเลง 2. กิ่งไมเงินทอง
3. พัดชา 4. โกยมือ
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
22
71. ขอใดใชการเขยง (Releve)
1. Sautis
2. Retiris
3. Grand Plie
4. Allegro
72.
จากภาพ จัดวาเปนการแสดงประเภทใด
1. Folk Dance
2. Jazz Dance
3. Modern Dance
4. Modern Ballet
73. การเตนคูในบัลเลต เรียกวาอะไร
1. Pas de Chat
2. Pas de Bourrie
3. Pas de Cheval
4. Pas de Deux
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
23
74. ขอใดไมใชหลักในการตีบทละคร/บทรํา
1. เลือกความหมายสําคัญมาใชตีบท
2. ควรเลี่ยงทาซ้ําในความหายที่ใกลเคียงกัน
3. การเลือกใชทาตองสัมพันธกับตําแหนง/ทิศทางหาตัวละครอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ
4. ควรตีความหมายอยางนอย 2 ทาในหนึ่งวรรค
75. ขอใดปฏิบัติแตกตางจากขออื่น
1. กดไหล
2. เอียงไหล
3. เยื้องไหล
4. ยักไหล
76. ขอใดไมเกี่ยวของกับการพากยเจรจาโขน
1. อาจารยประพันธ สุคนธะชาติ
2. กระทู
3. รองรับ “เพย”
4. กาพยเห
77. บุคคลใดไมเกี่ยวของกับระบําโบราณคดีชุดศรีวิชัย
1. คุณครูลมูล ยมะคุปต
2. คุณครูมัลลี คงประภัทร
3. หมอมครูตวน ภัทรนาวิก
4. ทานผูหญิงแผว สนิทวงศ เสนี ณ อยุธยา
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
24
78. ขอใดเปนการปฏิบัติ Sautes ไมถูกตอง
1. ตองกระโดดเทาคูบนอากาศพรอมกัน
2. ตองตึงเขาและ Point เทาลง
3. ตองเริ่มและจบดวย Deme-Plie เสมอ
4. ตองปฏิบัติควบคูกับการหมุนตัว
79. ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับ Curtsey
1. ปฏิบัติเฉพาะนักแสดงหญิงเทานั้น
2. ปฏิบัติหลังจากการแสดงจบลง
3. ปฏิบัติไดมากกวา 1 ครั้ง
4. ปฏิบัติไดหลากหลายแบบตามชอบ
80. ขอใดคือการปฏิบัติ Glisada
1. เคลื่อนเทาไปดานหนาแลวลากเทาหลังมาผสม
2. เคลื่อนเทาไปดานขางแลวลากเทามาผสม
3. เคลื่อนเทาเฉียงไปดานหลัง 45 องศา แลวลากเทาหนามาผสม
4. ไมมีขอถูก
81. ใครคือ “Ballarina”
1. Vladimir Vasiliev
2. Margot Fonteyn
3. Mikhail Gabovich
4. Antonio Guerr
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
25
82. เมื่อปฏิบัติ Pirouette ตําแหนงของเทาอยูที่ใด
1. หนาเขา
2. หลังเขา
3. ขางเขาดานใน
4. ขางเขาดานนอก
83. ขอใดไมเกี่ยวของกับละครพูดคําฉันท
1. ตํานานดอกกุหลาบ
2. นายบัว ทองอิน
3. คณะแมเลื่อน
4. ละครเฉลิมกรุง
84. ขอใดไมใชวรรณกรรมพื้นบาน
1. ไกรทอง
2. ศรีธนญชัย
3. พิกุลทอง
4. ปลาบูทอง
85. เพลงหนาพาทยใดใชกับเทวดานางฟาชั้นผูนอย
1. เหาะ
2. พญาเดิน
3. โคมเวียน
4. กลองโยน
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
26
86. การเตน Jazz เกิดขึ้นเมื่อใด
1. ค.ศ. 1210
2. ค.ศ. 1211
3. ค.ศ. 1220
4. ค.ศ. 1222
87. เรื่องใดไมใชในการแสดงบัลเลต
1. Spartacus
2. Coppelie
3. La Bayadere
4. The Flying Dutchman
88. ศิลปะการเชิดหุนเงาของจีน เริ่มกําเนิดขึ้นในสมัยราชวงศใด
1. ฮั่น
2. สุย
3. ถัง
4. หมิง
89. ขอใดไมใชลักษณะของนาฏศิลปอินเดียที่นิยมแสดงเปนเรื่องราว
1. การแสดงใหเห็นปมขัดแยงในใจของตัวละคร
2. การแสดงใหเห็นความพยายามของตัวละคร
3. การแสดงที่ปรากฏความหวัง ความมั่นใจ
4. การแสดงที่ปรากฎความเขาใจหรือสมหวัง
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
27
90. ขอใดไมใชวิธีการชมการแสดงบัลเลต
1. ชมเทคนิคการเตน ลีลา และอารมณ ของผูแสดง
2. ฟงความไพเราะ ชัดเจน ของการบรรเลงดนตรี
3. ชมศิลปะของเครื่องแตงกาย ความประณีตและการออกแบบ
4. ชมความวิจิตร อลังการของฉากไดอยางเสมือนจริง
91. การแสดงชุดใดแสดงถึงภูมิปญญาในการประกอบอาชีพในทองถิ่น
1. ฟอนวี
2. รํามังคละ
3. เซิ้งแพรวา
4. ระบําชนไก
92.
จากภาพ ตัวละครนาจะมีเชื้อชาติใด
1. ไทย
2. พมา
3. มาเลเซีย
4. อินโดนีเชีย
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
28
93. ขอใดไมใชคุณสมบัติของผูกํากับการแสดง
1. สามารถแสดงไดทุกบทบาท รูและเขาใจเรื่องเปนอยางดี
2. ควรเปนผูบังคับบัญชาที่ดี มีทั้งพระเดชและพระคุณตอผูรวมงาน
3. สามารถติชมไดทุกเรื่องตามความตองการของตนเอง
4. ตองมีความรูกวางขวาง เพื่อแกไขขอบกพรองที่เกี่ยวกับการแสดง
94. ขณะที่การแสดงดําเนินอยางตอเนื่อง ตัวละครเอกกําลังตอสูกันแลวเกิดอุบัติเหตุไหลหลุด บุคคลใดมี
อํานาจสั่งการใหยุติการแสดงได
1. ผูอํานวยการแสดง
2. ผูกํากับการแสดง
3. ผูกํากับเวที
4. ผูฝกซอมการแสดง
95. ขอใดไมเกี่ยวของกับนายทรงพลผูรับบทเปน Romeo
1. Bow
2. Toe Shoe
3. Juliet
4. Choreographer
96. หากมนัสนันทบาดเจ็บที่นิ้วเทา (นิ้วชี้) ขางขวา จะไมสามารถปฏิบัติทาใดได
1. Glisada
2. Grand Plie
3. Retires
4. Curtsep
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
29
97. หากจะสรางสรรคระบําพื้นเมืองภาคอีสานขึ้นมาใหม 1 ชุด ทานคิดวาขอใดมีความเหมาะสม
นอยที่สุด
1. นําผาขาวมามาออกแบบตกแตงชุดใหนาสนใจ
2. นําแคนและพิณ มาบรรเลงผสมผสานกับกลองปูจา เพื่อใหไดเสียงที่แปลกนาสนใจ
3. นําทาแมบทอีสาน มาผสมผสานกับทาที่คิดขึ้นมาใหม
4. นําการแสดงที่ไดรับความนิยม มาปรับรูปแบบแถวและเรียบเรียงเสียงประสานใหม
98.
จากภาพ ทานมีความคิดเห็นอยางไร
1. เครื่องแตงกายนาสนใจและสะทอนลักษณะเฉพาะทางเชื้อชาติ
2. เครื่องแตงกายนาสนใจ แตไมสะทอนลักษณะเฉพาะทางเชื้อชาติ
3. ทานาสนใจและสะทอนลักษณะเฉพาะของทางเชื้อชาติ
4. ทานาสนใจ แตไมสะทอนลักษณะเฉพาะทางเชื้อชาติ
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา
วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น.
30
99.
จากภาพ นาจะเปนแรงบันดาลใจใหทําการแสดงใดไดเหมาะสมที่สุด
1. ละครใน เรื่องอิเหนา ตอนชมดง
2. ละครพันทาง เรื่องพระลอ ตอนลงสวน
3. ละครดึกดําบรรพ เรื่อง รามเกียรติ์ ตอนสูรปนขาชมดง
4. ละครนอก เรื่อง สุวรรณหงส ตอนชมสวน
100. การแสดงละครฉากหนึ่งของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 นางเอกของเรื่องปรากฏกายขึ้นบนเวที
พรอมกับการแสดงออกของอารมณดวยความซาบซึ้ง เยือกเย็น สงบนิ่ง ขอใดตรงกับการแสดง
ดังกลาว
1. ทา Arabesque, บทเพลงทอนที่ 1 จาก Symphony No. 9 by Dvorak, เวที ฉากหลังแบบศิลปะ
บรรพกาล
2. ทา Arabesque, บทเพลงทอนที่ 2 จาก Symphony No. 9 by Dvorak, เวทีคลุมดวยไอน้ําแข็งแหง
3. ทา Arabesque, บทเพลงทอนที่ 3 จาก Symphony No. 9 by Dvorak, เวที ฉากหลังแบบ
Surrealism
4. ทา Arabesque, บทเพลงทอนที่ 4 จาก Symphony No. 9 by Dvorak, เวที ฉากหลังแบบ
Romantic

More Related Content

Similar to ศิลปกรรมศาสตร์

Similar to ศิลปกรรมศาสตร์ (20)

Pat4 52
Pat4 52Pat4 52
Pat4 52
 
สถาปัตยกรรมศาสตร์
สถาปัตยกรรมศาสตร์สถาปัตยกรรมศาสตร์
สถาปัตยกรรมศาสตร์
 
Pat4.2552
Pat4.2552Pat4.2552
Pat4.2552
 
Pat4Architec
Pat4ArchitecPat4Architec
Pat4Architec
 
Pat74
Pat74Pat74
Pat74
 
Pat4 2552
Pat4 2552Pat4 2552
Pat4 2552
 
Architec
ArchitecArchitec
Architec
 
ข้อสอบPat4 ครั้งที่1-14-มี.ค.-2552
ข้อสอบPat4 ครั้งที่1-14-มี.ค.-2552ข้อสอบPat4 ครั้งที่1-14-มี.ค.-2552
ข้อสอบPat4 ครั้งที่1-14-มี.ค.-2552
 
Architec
ArchitecArchitec
Architec
 
เทียนแพ
เทียนแพเทียนแพ
เทียนแพ
 
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
Job
JobJob
Job
 
ภาษาไทย 49
ภาษาไทย 49ภาษาไทย 49
ภาษาไทย 49
 
Thai o net
Thai o netThai o net
Thai o net
 
ภาษาไทย 49
ภาษาไทย 49ภาษาไทย 49
ภาษาไทย 49
 
ข้อสอบปี49
ข้อสอบปี49ข้อสอบปี49
ข้อสอบปี49
 
โอเน็ตไทย50
โอเน็ตไทย50โอเน็ตไทย50
โอเน็ตไทย50
 
ภาษาไทย 49
ภาษาไทย 49ภาษาไทย 49
ภาษาไทย 49
 
ภาษาไทย 49
ภาษาไทย 49ภาษาไทย 49
ภาษาไทย 49
 

ศิลปกรรมศาสตร์

  • 1. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) รหัสวิชา 76 วิชา ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6) สอบวันอาทิตย์ที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. ชื่อ-นามสกุล................................................................. เลขที่นั่งสอบ...................................... สถานที่สอบ................................................................. ห้องสอบ............................................ คำอธิบาย 1. ข้อสอบเป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จำนวน 100 ข้อ ( 30 หน้า ) 300 คะแนน 2. ก่อนตอบคำถาม ให้เขียนชื่อ-นามสกุล เลขที่นั่งสอบ สถานที่สอบและห้องสอบ ในข้อสอบ 3. ให้เขียนชื่อ-นามสกุล วิชาที่สอบ สถานที่สอบ ห้องสอบ เลขที่นั่งสอบและรหัสวิชา ที่สอบด้วยปากกาในกระดาษคำตอบ พร้อมทั้งระบายเลขที่นั่งสอบและรหัสวิชา ด้วยดินสอดำเบอร์2B ทับตัวเลขในวงกลม ให้ตรงกับตัวเลขที่เขียน 4. ในการตอบ ให้ใช้ดินสอดำเบอร์ 2B ระบายวงกลมตัวเลือก หรือ ในกระดาษคำตอบให้เต็มวง (ห้ามระบายนอกวง) ในแต่ละข้อมีคำตอบที่ถูกต้องหรือ เหมาะสมที่สุดเพียงคำตอบเดียว ตัวอย่าง ถ้าตัวเลือก เป็นคำตอบที่ถูกต้อง ให้ทำดังนี้ ถ้าต้องการเปลี่ยนตัวเลือกใหม่ ต้องลบรอยระบายในวงกลมตัวเลือกเดิม ให้สะอาด หมดรอยดำเสียก่อน แล้วจึงระบายวงกลมตัวเลือกใหม่ 5. ห้ามนำข้อสอบและกระดาษคำตอบออกจากห้องสอบ 6. ไม่อนุญาตให้ผู้เข้าสอบออกจากห้องสอบ ก่อนหมดเวลาสอบ 2 1 3 4 1 2 3 4
  • 2. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 2 1. ตามภาพที่กําหนดใหโดยใชมุมมองของระดับสายตา จงระบุมุมมองที่ถูกตอง 1. มองตรง 2. มองขึ้น 3. มองลง 4. มองจากการคํานวณ 2. จงเลือกชื่องานศิลปะและศิลปนตอไปนี้ที่บงบอกถึงคุณสมบัติของงานจากยุค Pop Art 1. “เดวิด” ไมเคิลแอนเจลโล 2. “เกาอี้แดง-น้ําเงิน” เกอรริท ริเอทเวลด 3. “ฝน” อองรี มาติสส 4. “มาริลีน มอนโร” แอนดี้ วอรฮอล 3. เทคนิคการวาดภาพบนฝาผนังที่นิยมใชในยุค Renaissance มีกรรมวิธีการลงสีที่เปนเอกลักษณ และมีความหมายสอคคลองกับคําอธิบายในขอใด 1. การใชสีน้ํามันที่ซึมเขากับผิวของผนัง 2. ทักษะการพนสีลงพื้นผนังที่ขรุขระ 3. การลงสีลงบนพื้นผนังปูนที่ยังเปยกอยู 4. การประกอบชิ้นกระจกแกวสีลงบนผิวผนัง
  • 3. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 3 4. เทคนิคการวาดภาพดวยสีน้ํา มีคุณสมบัติอยางไรที่จัดวาเหมาะสมที่สุดในการเขียนภาพแสดงมิติเชน ภาพ Landscape 1. แสดงลายเสนที่ชัดเจน 2. แสดงน้ําหนักความเขมและความออนของลายเสน 3. แสดงน้ําหนักความกลมกลืนของลายเสน 4. แสดงลักษณะรูปทรงของลายเสนที่คลายกับการเขียนแบบ 5. รูปทรงตอไปนี้ แสดงใหเห็นถึงความรูสึกที่เกี่ยวของกับการออกแบบในลักษณะใด 1. ความสอดคลองและสมดุล 2. ความแตกแยกและกาวราว 3. ความขัดแยงและไรทิศทาง 4. ความผสมผสานที่ยังคงเอกลักษณเฉพาะตัว 6. งานศิลปะในรูปแบบสองมิติประเภทงานที่กอใหเกิดมุมมองและความคิดเห็นที่ไมชัดเจนจัดอยูในงาน ประเภทมิติมายาหรือมิติลอง (illusion ) จงเลือกคําตอบที่ไมใชวิธีการตรวจสอบงานสองมิติประเภทนี้ 1. ปริมาณขอบเขตของภาพ 2. ปริมาณบริเวณบวกและลบ 3. ปริมาณและจําพวกของวัสดุ 4. ปริมาณบริเวณวางที่ราบเรียบ
  • 4. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 4 7. จากภาพตอไปนี้จงเลือกคําอธิบายที่แสดงใหเห็นถึงความแตกตางหรือความสัมพันธของรูปทรง ที่เหมาะสมที่สุด 1. ทรงกลมมีความกลมกลืนมากกวาทรงเหลี่ยม 2. น้ําหนักของภาพทั้งสองอยูทางขวาของภาพ 3. พื้นที่บวกและลบของภาพทั้งสองมีปริมาณไมเทากัน 4. ภาพขวามีพื้นที่ลบที่นอยกวาภาพทางดานซาย 8. หลักการออกแบบภาพสามมิติประกอบไปดวยงานในการแสดงผลดานปริมาตรของรูปทรง จงเลือกคําตอบที่มีความสัมพันธนอยที่สุด ในขั้นตอนการออกแบบภาพสามมิติ 1. สรุปตนแบบจากแรงบันดาลใจ 2. เขียนแบบจากภาพราง 3. ออกแบบจากภาพราง 4. สรางตามลักษณะเฉพาะของวัสดุ 9. คุณสมบัติขอใดที่ไมสื่อถึงวิธีการแสดง ภาพหนังใหญ หรือภาพหนังตะลุง 1. มีดนตรีหรือรองประกอบ 2. มีการพากยและบรรยาย 3. แสดงในเวลากลางคืนหรือภายในที่รม 4. มีการแสดงภาพสามมิติบนผนังหรือกําแพง
  • 5. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 5 10. ศิลปะจากทวีปแอฟริกาถูกนํามาเปนประเด็นหลักและองคประกอบในงานศิลปะและการออกแบบ จงเลือกประเด็นหลักและองคประกอบดังกลาวที่นิยมใชในงานศิลปะสากล เชน Cubism หรือ Modern Art 1. รูปทรงเรขาคณิตและอิสระ 2. น้ําหนักและลักษณะผิวของสี 3. วัสดุธรรมชาติกับชิ้นงาน 4. การลงสีที่ไมใชพูกัน 11. งานออกแบบโตะและเกาอี้หวาย มีความผูกพันกับวัฒนธรรมการออกแบบทองถิ่น จงเลือกปจจัยการออกแบบที่มีผลกระทบโดยตรงกับผลิตภัณฑเครื่องเรือนที่ออกแบบดวยหวาย 1.ทัศนะสวนบุคคลของนักออกแบบ 2.ความตองการในการดํารงขีวิต 3.การพัฒนาในระบบการผลิต 4.ความกาวหนาทางวัสดุในการออกแบบ 12. นิยามของระบบการออกแบบจากขอใดที่สนับสนุนการสรางแมพิมพที่นํามาใชในการออกแบบงานหลอ 1. บริเวณวางกับพื้นที่บวกและลบ 2. มวลและปริมาตรของความสมดุล 3. น้ําหนักและคาแตกตางของวัสดุ 4. รูปรางและรูปทรงเรขาคณิต 13. แนวความคิดจากขอใดไมมีสวนเกี่ยวของกับการพัฒนาระบบคอมพิวเตอรเพื่องานศิลปะและ การออกแบบภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง 1. วิธีการประยุกตจากลูกคิดและไมบรรทัดคํานวน 2. ระบบเครือขายทั่วโลก 3. ระบบหนวยความทรงจําแบบความถี่ตํ่า 4. กระบวนการทํางานที่ใชคอมพิวเตอรเปนหลัก
  • 6. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 6 14. คําอธิบายจากขอใดที่มีสวนชวยสรางองคประกอบในลักษณะ asymmetric 1. มีจุดเดนตรงกลางของภาพ 2. มีจุดเดนที่ไมเนนถึงความสมดุล 3. แสดงรูปทรงที่ไมแสดงถึงขนาดที่แตกตาง 4. แสดงการผสมผสานของสีที่กลมกลืนกันเปนเนื้อเดียว 15. นิยามคําศัพทจากขอใดที่กลาวถึงความหมายของจังหวะและลีลาของงานศิลปะและการออกแบบ ในเชิงปฏิบัติ 1. การออกแบบที่ซ้ําหรือจําเจ 2. การออกแบบใหมตามยุคสมัย 3. การออกแบบที่ตัดองคประกอบยอย 4. การออกแบบที่คงที่และอนุรักษวัสดุ 16. จงเลือกคําตอบที่เนนถึงการใชสีในระบบอุตสาหกรรมสําหรับการออกแบบสิ่งพิมพและบรรจุภัณฑ 1. การใชสีประเภท Tempera 2. การใชสีประเภท Off-Set 3. การใชสีประเภท Fresco 4. การใชสีประเภท Airbrush 17. จากคําตอบตอไปนี้สีประเภทใดไมสามารถสื่อถึงภาพลักษณและความรูสึกของคําวา “รุงอรุณ” 1. สี ผสมกากเพชร 2. สี ผสมเกล็ดโลหะ 3. สี ผสมโทนรอน 4. สี ผสมโทนเย็น
  • 7. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 7 18. ตามหลักขององคประกอบของงานศิลปะและการออกแบบ ที่ประกอบดวย บริเวณวาง สี น้ําหนัก ปริมาตร หรือลักษณะผิว จากการเตรียมงานกอนกระบวนการออกแบบจงเลือกองคประกอบที่ เหมาะสมกับบทบาทและการวางรากฐานในการทํางาน 1. วัสดุ 2. ทัศนคติ 3. รูปทรง 4. การตลาด 19. จากคําตอบตอไปนี้ จงเลือกรูปแบบของ “แรงบริเวณวาง” ที่ไมสนับสนุนหรือไมแสดงถึง แนวทางใน การสรางงานใหมีเอกลักษณเฉพาะตัว 1. รูปรางที่แตกตางกัน 2. ลักษณะผิวที่แตกตางกัน 3. เสนหรือสัดสวนที่ขัดแยงกัน 4. สีที่จัดวางดวยจังหวะ 20. ในการทอไหมไทยในรูปแบบของงานหัตถกรรมและระบบอุตสาหกรรม จงเลือกนิยาม ที่สรุปลักษณะ การทอและการผลิตไหมไทยสูงานผลิตภัณฑในยุคปจจุบัน 1. คงความเปนไทยจากวัสดุธรรมชาติที่ผสมกับวัสดุสังเคราะห 2. พัฒนาแนวความคิดของลายจากวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบาน 3. คงไวซึ่งกรรมวิธีการทอและการผลิตบนกี่ทอไหม 4. ลวดลายที่จดจําจากการถายทอดของผูเชี่ยวชาญ 21. รูปทรงและเอกลักษณที่ดูเดนจากคาความแตกตางของแสงและเงา มีหลักการสรางชิ้นงานที่สอดคลอง กับคําอธิบายในขอใด 1. ใชหลักการของแรงโนมถวง 2. ใชหลักการธรรมชาติของแสงตกกระทบ 3. ใชหลักการของการบันทึกจากการคํานวน 4. ใชหลักการจากการเก็บแสงลงในสวนผสมของสี
  • 8. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 8 22. ศิลปนที่จัดอยูในยุค Cubism มีเอกลักษณเฉพาะตัวในชิ้นงานศิลปะที่สรางขึ้น จงเลือกใจความที่ เหมาะสมกับงานประเภทนี้ 1. มีลักษณะที่เหมือนจริง 2. มีการใชสีน้ํามันแตเพียงอยางเดียว 3. ใชสื่อและแรงบันดาลใจจากประเทศในทวีปยุโรป 4. มีการผสมผสานของรูปทรงเรขาคณิต 23. งานหัตถกรรม “ภาพลงรักปดทอง” ใชแรธาตุอะไรเปนสื่อที่แสดงถึงเอกลักษณของงานประเภทนี้ 1. ทองแดง 2. หรดาล 3. ดีบุก 4. ทองคําขาว 24. จากคําตอบตอไปนี้จงเลือกคําอธิบายที่มีความสัมพันธนอยที่สุดกับลักษณะของงานศิลปะประดิษฐ 1. แสดงความงามเดนกวาประโยชน 2. มีลักษณะงานที่เปนโครงสรางหลัก 3. แสดงความวิจิตรบรรจง 4. มีลักษณะเปนงานองคประกอบเสริม 25. จากคําตอบจงเลือกคุณสมบัติที่ไมสามารถใชในการตรวจสอบภาพสองมิติในงานศิลปะ หรืองานออกแบบ 1. ตรวจสอบจากบริเวณผิวหนา 2. ตรวจสอบจากบริเวณบวกและลบ 3. ตรวจสอบจากขอบภาพ 4. ตรวจสอบจากความลึกของชิ้นงาน 26. จงเลือกคําตอบที่ไมใชขอพิจารณาลักษณะของงาน ออกแบบสามมิติ 1. เกณฑมุมมองของระนาบเหลี่ยม 2. เกณฑมุมมองของระนาบโคง 3. เกณฑมุมมองของระนาบเรียบ 4. เกณฑมุมมองของระนาบซับซอน
  • 9. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 9 27. จงเลือกลักษณะชิ้นงานหรือประเภทของโครงสรางจากมุมมองทัศนศิลป 1. ขึ้นรูปแบบวัฒนธรรมทองถิ่น 2. โครงสรางแบบรูปทรงอิสระ 3. โครงสรางแบบทรงเรขาคณิต 4. โครงสรางแบบบรรพกาล 28. รูปแบบนามธรรมมีสวนประกอบเฉพาะตัวที่ยากตอการระบุคําจํากัดความ จงเลือกคําตอบที่ระบุ วิธีการคนหาความหมายหรือคุณสมบัติของรูปแบบนามธรรมสําหรับงานศิลปะและงานออกแบบ 1. ประกอบดวยรูปทรงอิสระและรูปทรงเรขาคณิต 2. ประกอบดวยรูปทรงที่สื่อถึงสภาพแวดลอมโดยตรง 3. ประกอบดวยรูปทรงจากผลของการคํานวณ 4. ประกอบดวยรูปทรงที่แสดงการประสานของวัสดุ 29. งานออกแบบถูกสรางสรรคใหอยูในสังคมและชีวิตประจําวัน จงเลือกลักษณะของงานออกแบบ ที่สามารถใหเหตุผลของวัตถุประดิษฐในกรณีของเกาอี้ชุดสําหรับหองรับประทานอาหาร 1. งานออกแบบเพื่อสนองความงาม 2. งานออกแบบเพื่อการสะสม 3. งานออกแบบเพื่อการอยูอาศัย 4. งานออกแบบเพื่อการรักษาสุขภาพของชีวิต
  • 10. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 10 30. จงเลือกตัวอยางของวัสดุและลักษณะการประกอบที่เหมาะสม สําหรับงานศิลปะหรืองานออกแบบที่มี ลักษณะถาวรแตมีโครงสรางที่เคลื่อนไหว 1. ไมเนื้อออน กับ การหลอคอนกรีต 2. แผนโฟม กับ การผูกหรือพัน 3. แผนโลหะดัด กับ การเชื่อมติดตอ 4. ไมเนื้อแข็ง กับ การตอกดวยหมุด 31. จงเลือกศิลปนและชื่อของผลงานที่จัดอยูในยุคของงานแบบสัจนิยม (Realism) 1. พาโบล ปคาสโซ “คนเลนกีตาร” 2. เฟรนานด เลเจอร “คนเลนไฟ” 3. ฟรานซิสโก เดอโกยา “3 พฤษภาคม 2351” 4. อองรี มาติสส “นักดนตรี” 32. จากภาพงานศิลปะชิ้นนี้ จงเลือกคําตอบที่ระบุถึงลักษณะในทัศนศิลปที่เหมาะสม 1. รูปทรงตามการคํานวณ 2. รูปทรงแบบอุดมคติ 3. รูปทรงแบบบรรพกาล 4. รูปทรงนุมนวล
  • 11. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 11 33. จากภาพตัวอยางนี้ จงเลือกยุคที่เหมาะสมกับรูปแบบของงานศิลปะโดยใหคํานึงถึงเนื้อหา ของภาพเปนหลัก 1. ยุค Pop art 2. ยุค Cubism 3. ยุค Romanticism 4. ยุค Modern art 34. ขอใดเปนความหมายพื้นฐานของดนตรีที่ถูกตองที่สุด 1. ดนตรีเปนเรื่องของทักษะ 2. ดนตรีเปนเรื่องของอารมณ 3. ดนตรีเปนเรื่องของสัญลักษณ 4. ดนตรีเปนเรื่องของเสียง 35. ดนตรีในยุคโรแมนติกตรงกับดนตรีสมัยใดของไทย 1. สมัยกรุงธนบุรี - รัชกาลที่ 3 2. รัชกาลที่ 1 - รัชกาลที่ 4 3. รัชกาลที่ 2 - รัชกาลที่ 5 4. รัชกาลที่ 4 - รัชกาลที่ 7
  • 12. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 12 36. ขอใดเปนคํากลาวที่ถูกตองที่สุดเกี่ยวกับประวัติความเปนมาของดนตรีไทย 1. ดนตรีไทยแยกเปนสองฝาย คือ ฝายที่เกี่ยวกับประเพณีราษฎรมีบานเปนศูนยกลาง ฝายที่ เกี่ยวของกับประเพณีหลวงมีวังเปนศูนยกลาง 2. ดนตรีไทยแยกเปนสองฝาย คือ ฝายที่เกี่ยวกับประเพณีราษฎรมีวัดเปนศูนยกลาง ฝายที่ เกี่ยวของกับประเพณีหลวงมีวังเปนศูนยกลาง 3. ดนตรีไทยแยกเปนสองฝาย คือ ฝายที่เกี่ยวกับประเพณีราษฎรมีวัดเปนศูนยกลาง ฝายที่ เกี่ยวของกับประเพณีหลวงมีกรมศิลปากรเปนศูนยกลาง 4. ดนตรีไทยแยกเปนสองฝาย คือ ฝายที่เกี่ยวกับประเพณีราษฎรมีบานเปนศูนยกลาง ฝายที่ เกี่ยวของกับประเพณีหลวงมีกรมศิลปากรเปนศูนยกลาง 37. เครื่องดนตรีที่เปนหลักของดนตรีไทยคือขอใด 1. เครื่องตี 2. เครื่องดีด 3. เครื่องสี 4. เครื่องเปา 38. รูปพรรณ หรือ texture ในขอใดที่พบไดนอยที่สุดในวัฒนธรรมดนตรีตะวันตก 1. Heterophony 2. Polyphony 3. Monody 4. Monophony 39. Symphony No. 3 ………………., Op. 55 by Beethoven ขอความที่หายไปคือขอใด 1. Eroica 2. in E flat major 3. in Allegro 4. with Orchestra
  • 13. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 13 จากขอความตอไปนี้ ใหตอบขอสอบ ขอ 40, 41 และ 42 ในพิธีมงคลสมรสงานหนึ่ง วงดนตรีไทยที่เจาภาพจัดมาบรรเลง ประกอบดวยเครื่องดีด เครื่องสี เครื่องตี และเครื่องเปา เพลงที่นํามาบรรเลงชวงหนึ่ง มีการรับรองสงรอง และมีอัตราจังหวะลดหลั่นกันไป (1) สวนในชวงทายของการบรรเลง มีการใชเครื่องดนตรีบรรเลงเลียนเสียงรองที่เรียกวา “การวาดอก” 40. วงดนตรีที่บรรเลงในงานครั้งนี้เรียกวาวงอะไร 1. วงปพาทย 2. วงเครื่องสาย 3. วงมโหรี 4. วงเครื่องสายผสม 41. เพลงที่ใชในการบรรเลงชวงดังกลาว (1) เปนเพลงประเภทใด 1. เพลงรอง 2. เพลงเถา 3. เพลงตับ 4. เพลงรับรอง 42. เพลงสุดทายที่บรรเลงเรียกวาอะไร 1. เพลงลา 2. เพลงทยอย 3. เพลงเรื่อง 4. เพลงหนาพาทย 43. ขอใดถูกตองที่สุด 1. เพลงเถาเปนเพลงที่มีอัตราจังหวะลดหลั่นกันไป 2. เพลงตับเปนเพลงที่มีเพลงหลายเพลงเรียงติดตอกัน และตองเปนเพลงประเภทเดียวกัน 3. วงเครื่องสายเครื่องเดี่ยวประกอบดวย ซออู ซอดวง จะเข ขลุยเพียงออ ขลุยหลิบ โทน รํามะนา และฉิ่ง 4. วงปพาทยดึกดําบรรพมีเครื่องดนตรีสําคัญ คือ ปไฉน และกลองแขก
  • 14. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 14 44. วงดนตรีที่มี “กลองสองหนา” เปนเครื่องประกอบจังหวะ เปนวงดนตรีประเภทใด 1. วงขับไม 2. วงปพาทยมอญ 3. วงปพาทยไมนวม 4. วงปพาทยเสภา 45. บทเพลงในขอใดไมจัดอยูในประเภทเพลงรอง 1. Chant 2. Fugue 3. Mass 4. Oratorio 46. ขณะฟงบทเพลงหนึ่งซึ่งเปนเพลงในยุคบาโรก ขอใดที่ไมนาพบในการบรรเลงเพลงดังกลาว 1. Basso continuo 2. Terraced dynamics 3. Sonata form 4. Polyphony 47. ในการบรรเลงเพลงของวงดนตรีประเภทเครื่องเปาทองเหลือง เครื่องดนตรีที่ไมควรพบในวงดนตรีวงนี้ คือขอใด 1. Saxophone 2. French horn 3. Trombone 4. Tuba
  • 15. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 15 48. เครื่องดนตรีในขอใดที่ใชกุญแจ (key) ในการบันทึกโนตแตกตางจากเครื่องดนตรีชนิดอื่น ๆ 1. Clarinet 2. Trumpet 3. Flute 4. Viola 49. ปกติบทเพลงคลาสสิกมีการกําหนดความเร็วจังหวะในการบรรเลงไว เมื่อฟงบทเพลงหนึ่งที่มีลีลา จังหวะเร็วมีชีวิตชีวา คําที่ใชในการกําหนดความเร็วจังหวะของบทเพลงนี้คือขอใด 1. Agitato 2. Vivace 3. Attacca 4. Vivo 50. แตเดิม “วงปพาทยเครื่องหา” ไมมีเครื่องดนตรีอะไรในการผสมวง 1. ป กลอง 2. โทน กลองชาตรี 3. ฆองคู ฉิ่ง 4. ระนาดเอก ระนาดทุม
  • 16. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 16 เลือกชื่อเพลงตอไป ในการตอบคําถามขอ 51 – 53 1. เพลงพระอาทิตยชิงดวง 5. เพลงอาหนู 2. เพลงเชิดจีน 6. เพลงลาวดวงเดือน 3. เพลงนกขมิ้น 7. เพลงจีนแส 4. เพลงอกทะเล 8. เพลงแขกลพบุรี 51. เพลงในขอใดเปนเพลงประเภทที่มีการ “วาดอก” 1. 1 และ 3 2. 1 และ 6 3. 4 และ 6 4. 4 และ 8 52. เพลงในขอใดเปนเพลงประเภท “เพลงทยอย” 1. 1, 2 และ 4 2. 2, 4 และ 5 3. 2, 4 และ 8 4. 4, 5 และ 7 53. เพลงในขอใดเปนเพลงประเภท “เพลงลา” 1. 1, 3, 5 และ 7 2. 1, 3, 4 และ 6 3. 2, 3, 4 และ 6 4. 2, 3, 5 และ 6
  • 17. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 17 54. ศิลปนแหงชาติทานใดที่มีสีชื่อเสียงในเรื่องการขับรองเพลงจาก ละครรอง ไดมากที่สุดในปจจุบัน 1. พลเรือตรี มงคล แสงสวาง 2. อาจารยแจง คลายสีทอง 3. อาจารยเจริญใจ สุนทรวาทิน 4. อาจารยสุดจิตต ดุริยประณีต 55. บทเพลงประเภทใดที่มีวิวัฒนาการยาวนานที่สุด และมีรูปแบบแตกตางจากสมัยแรกอยางมาก 1. Mass 2. Sonata 3. Symphony 4. Chamber music 56. Romeo Juliet และ Don Juan เปนบทเพลงที่นิยมประพันธในสมัยใด และเปนบทเพลงประเภทใด 1. Baroque, Cantata 2. Classic, Oratorio 3. Romantic, Program Music 4. Twentieth Century, Partita 57. ในตอนหนึ่งของโอเปรา ราชินีแหงราตรีกาลเริ่มตนพูดคุยกับพระเอก และเริ่มเลาเรื่องราวความทุกข ระทมของตน เมื่อพระเอกไดฟงแลว จึงรําพึงรําพันกับตนเองวาชางนาสงสาร และตนยินดีจะชวยเหลือ ราชินีแหงราตรีกาลดวยความเต็มใจ การขับรองในชวงนี้สามารถแสดงไดอยางครบถวนในขอใด 1. การขับรองแบบ aria, การขับรองโดยเสียงโซปราโน และการขับรองโดยเสียงเทเนอร 2. การขับรองโดยเสียงโซปราโน, การขับรองแบบ recitative, และการขับรองแบบ aria 3. การขับรองแบบ recitative, การขับรองแบบ aria, และการขับรองโดยเสียงเทเนอร 4. การขับรองโดยเสียงเทเนอร, การขับรองแบบ aria, และการขับรองโดยเสียงโซปราโน
  • 18. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 18 58. Piano Quintet ที่มีชื่อเสียงบทหนึ่ง ประพันธโดย Schubert ที่ทุกคนรูจักกันดี ในชื่อ The Trout Quintet มีการผสมวงที่แปลกกวา piano quintet ทั่ว ๆ ไป ขอใดคือการผสมวงของบทเพลงนี้ 1. Violin, viola, cello, double bass และ piano 2. Violin 1, violin 2, viola, cello และ piano 3. Violin, viola 1, viola 2, cello และ piano 4. Violin 1, violin 2, cello, double bass และ piano 59. Concerto grosso ที่มีชื่อเสียงชุดหนึ่งประพันธในยุคบาโรก คือขอใด 1. Water Music จํานวน 6 บท ประพันธโดย Händel 2. Brandenburg Concerto จํานวน 6 บท ประพันธโดย Bach 3. The Four Seasons จํานวน 4 บท ประพันธโดย Händel 4. Solomon จํานวน 4 บท ประพันธโดย Vivaldi 60. ดนตรีในขอใดมีความซับซอนนอยที่สุด 1. การบรรเลงของวงมโหรีเครื่องคู 2. การขับรองและบรรเลงของวงปพาทยเครื่องคู 3. การขับรองประสานเสียงรวมกับวงออรเคสตรา 4. การแสดงบทเพลงประเภทออราทอริโอ
  • 19. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 19 61. ขอใดเปนภาพแสดงการคิดสรางสรรคทางดนตรีที่ยังคงยึดแนวคิดเดิมอยู 1. 2. 3. 4. 62. ขอใดสื่อแสดงเสียงที่มีรูปแบบทางดนตรีที่แตกตางไปจากนี้ 1. 2. 3. 4. 63. ขอใดนาจะเปนการประพันธเพลงแบบ canon 1. 2. 3. 4.  
  • 20. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 20 บันไดเสียง: pentatonic scale, diatonic scale, major scale, minor scale, chromatic scale, whole tone scale วงดนตรี: ปพาทยไมแข็ง, มโหรี, symphony orchestra, string quartet, chamber orchestra, chorus รูปแบบ: binary form, ternary form, theme and variations, rondo form, sonata form ใชรายละเอียดที่กลาวถึงนี้ ตอบคําถามขอ 64 – 66 64. ถาตองการประพันธบทเพลงที่แสดงถึงชีวิตของชาวอีสาน ที่แสดงความสมบูรณแบบของวัฒนธรรม ซึ่ง เต็มไปดวยความซับซอน ควรเปนการประพันธในขอใด 1. Pentatonic scale, string quartet, chorus, ternary form 2. Whole tone scale, ปพาทยไมแข็ง, binary form 3. Diatonic scale, symphony orchestra, chorus, sonata form 4. Chromatic scale, มโหรี, theme and variations 65. ขอใดเปนองคประกอบที่แสดงถึงวิถีชีวิตของชาวกรุงเทพมหานครไดอยางครบถวนที่สุด 1. Minor scale, chorus, pentatonic scale, ปพาทยไมแข็ง, chamber orchestra, sonata form 2. Whole tone scale, string quartet, major scale, มโหรี, pentatonic scale, ternary form 3. Diatonic scale, มโหรี, chromatic scale, symphony orchestra, chorus, binary form 4. Pentatonic scale, ปพาทยไมแข็ง, diatonic scale, chamber orchestra, whole tone scale, rondo form 66. ถาตองการประพันธบทเพลงที่แสดงชีวิตมนุษยและสังคมที่พัฒนามาในชวงกาลเวลา 2,000 ป ที่ผานมา ขอใดมีลักษณะที่เหมาะสมที่สุด 1. Pentatonic scale, symphony orchestra, chromatic scale, chorus, rondo form 2. Major scale, chamber orchestra, pentatonic scale, symphony orchestra, binary form 3. Diatonic scale, chorus, pentatonic scale, string quartet, sonata form 4. Pentatonic scale, string quartet, whole tone scale, chorus, theme and variations
  • 21. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 21 67. ผูใดไมจัดอยูในฝายอํานวยการ (การแสดง) 1. ผูอํานวยการ 2. ผูออกแบบเครื่องแตงกาย 3. ผูกํากับเวที 4. ผูกํากับการแสดง 68. วรรณกรรมเรื่องใดไดรับการยกยองวาเปนยอดของความเรียง 1. สามกก (บทประพันธของเจาพระยาพระคลัง (หน) 2. ขุนชางขุนแผน 3. หัวใจนักรบ 4. สังขทอง (พระราชนิพนธในรัชกาลที่ 2) 69. “ระบําใหญ ” หมายถึงการแสดงชุดใด 1. แมบทใหญ 2. ระบําดาวดึงส 3. ระบําสี่บท 4. ระบําพรหมมาศ 70. จากภาพ เปนที่มาของการแสดงอะไร 1. ปะเลง 2. กิ่งไมเงินทอง 3. พัดชา 4. โกยมือ
  • 22. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 22 71. ขอใดใชการเขยง (Releve) 1. Sautis 2. Retiris 3. Grand Plie 4. Allegro 72. จากภาพ จัดวาเปนการแสดงประเภทใด 1. Folk Dance 2. Jazz Dance 3. Modern Dance 4. Modern Ballet 73. การเตนคูในบัลเลต เรียกวาอะไร 1. Pas de Chat 2. Pas de Bourrie 3. Pas de Cheval 4. Pas de Deux
  • 23. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 23 74. ขอใดไมใชหลักในการตีบทละคร/บทรํา 1. เลือกความหมายสําคัญมาใชตีบท 2. ควรเลี่ยงทาซ้ําในความหายที่ใกลเคียงกัน 3. การเลือกใชทาตองสัมพันธกับตําแหนง/ทิศทางหาตัวละครอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ 4. ควรตีความหมายอยางนอย 2 ทาในหนึ่งวรรค 75. ขอใดปฏิบัติแตกตางจากขออื่น 1. กดไหล 2. เอียงไหล 3. เยื้องไหล 4. ยักไหล 76. ขอใดไมเกี่ยวของกับการพากยเจรจาโขน 1. อาจารยประพันธ สุคนธะชาติ 2. กระทู 3. รองรับ “เพย” 4. กาพยเห 77. บุคคลใดไมเกี่ยวของกับระบําโบราณคดีชุดศรีวิชัย 1. คุณครูลมูล ยมะคุปต 2. คุณครูมัลลี คงประภัทร 3. หมอมครูตวน ภัทรนาวิก 4. ทานผูหญิงแผว สนิทวงศ เสนี ณ อยุธยา
  • 24. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 24 78. ขอใดเปนการปฏิบัติ Sautes ไมถูกตอง 1. ตองกระโดดเทาคูบนอากาศพรอมกัน 2. ตองตึงเขาและ Point เทาลง 3. ตองเริ่มและจบดวย Deme-Plie เสมอ 4. ตองปฏิบัติควบคูกับการหมุนตัว 79. ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับ Curtsey 1. ปฏิบัติเฉพาะนักแสดงหญิงเทานั้น 2. ปฏิบัติหลังจากการแสดงจบลง 3. ปฏิบัติไดมากกวา 1 ครั้ง 4. ปฏิบัติไดหลากหลายแบบตามชอบ 80. ขอใดคือการปฏิบัติ Glisada 1. เคลื่อนเทาไปดานหนาแลวลากเทาหลังมาผสม 2. เคลื่อนเทาไปดานขางแลวลากเทามาผสม 3. เคลื่อนเทาเฉียงไปดานหลัง 45 องศา แลวลากเทาหนามาผสม 4. ไมมีขอถูก 81. ใครคือ “Ballarina” 1. Vladimir Vasiliev 2. Margot Fonteyn 3. Mikhail Gabovich 4. Antonio Guerr
  • 25. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 25 82. เมื่อปฏิบัติ Pirouette ตําแหนงของเทาอยูที่ใด 1. หนาเขา 2. หลังเขา 3. ขางเขาดานใน 4. ขางเขาดานนอก 83. ขอใดไมเกี่ยวของกับละครพูดคําฉันท 1. ตํานานดอกกุหลาบ 2. นายบัว ทองอิน 3. คณะแมเลื่อน 4. ละครเฉลิมกรุง 84. ขอใดไมใชวรรณกรรมพื้นบาน 1. ไกรทอง 2. ศรีธนญชัย 3. พิกุลทอง 4. ปลาบูทอง 85. เพลงหนาพาทยใดใชกับเทวดานางฟาชั้นผูนอย 1. เหาะ 2. พญาเดิน 3. โคมเวียน 4. กลองโยน
  • 26. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 26 86. การเตน Jazz เกิดขึ้นเมื่อใด 1. ค.ศ. 1210 2. ค.ศ. 1211 3. ค.ศ. 1220 4. ค.ศ. 1222 87. เรื่องใดไมใชในการแสดงบัลเลต 1. Spartacus 2. Coppelie 3. La Bayadere 4. The Flying Dutchman 88. ศิลปะการเชิดหุนเงาของจีน เริ่มกําเนิดขึ้นในสมัยราชวงศใด 1. ฮั่น 2. สุย 3. ถัง 4. หมิง 89. ขอใดไมใชลักษณะของนาฏศิลปอินเดียที่นิยมแสดงเปนเรื่องราว 1. การแสดงใหเห็นปมขัดแยงในใจของตัวละคร 2. การแสดงใหเห็นความพยายามของตัวละคร 3. การแสดงที่ปรากฏความหวัง ความมั่นใจ 4. การแสดงที่ปรากฎความเขาใจหรือสมหวัง
  • 27. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 27 90. ขอใดไมใชวิธีการชมการแสดงบัลเลต 1. ชมเทคนิคการเตน ลีลา และอารมณ ของผูแสดง 2. ฟงความไพเราะ ชัดเจน ของการบรรเลงดนตรี 3. ชมศิลปะของเครื่องแตงกาย ความประณีตและการออกแบบ 4. ชมความวิจิตร อลังการของฉากไดอยางเสมือนจริง 91. การแสดงชุดใดแสดงถึงภูมิปญญาในการประกอบอาชีพในทองถิ่น 1. ฟอนวี 2. รํามังคละ 3. เซิ้งแพรวา 4. ระบําชนไก 92. จากภาพ ตัวละครนาจะมีเชื้อชาติใด 1. ไทย 2. พมา 3. มาเลเซีย 4. อินโดนีเชีย
  • 28. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 28 93. ขอใดไมใชคุณสมบัติของผูกํากับการแสดง 1. สามารถแสดงไดทุกบทบาท รูและเขาใจเรื่องเปนอยางดี 2. ควรเปนผูบังคับบัญชาที่ดี มีทั้งพระเดชและพระคุณตอผูรวมงาน 3. สามารถติชมไดทุกเรื่องตามความตองการของตนเอง 4. ตองมีความรูกวางขวาง เพื่อแกไขขอบกพรองที่เกี่ยวกับการแสดง 94. ขณะที่การแสดงดําเนินอยางตอเนื่อง ตัวละครเอกกําลังตอสูกันแลวเกิดอุบัติเหตุไหลหลุด บุคคลใดมี อํานาจสั่งการใหยุติการแสดงได 1. ผูอํานวยการแสดง 2. ผูกํากับการแสดง 3. ผูกํากับเวที 4. ผูฝกซอมการแสดง 95. ขอใดไมเกี่ยวของกับนายทรงพลผูรับบทเปน Romeo 1. Bow 2. Toe Shoe 3. Juliet 4. Choreographer 96. หากมนัสนันทบาดเจ็บที่นิ้วเทา (นิ้วชี้) ขางขวา จะไมสามารถปฏิบัติทาใดได 1. Glisada 2. Grand Plie 3. Retires 4. Curtsep
  • 29. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 29 97. หากจะสรางสรรคระบําพื้นเมืองภาคอีสานขึ้นมาใหม 1 ชุด ทานคิดวาขอใดมีความเหมาะสม นอยที่สุด 1. นําผาขาวมามาออกแบบตกแตงชุดใหนาสนใจ 2. นําแคนและพิณ มาบรรเลงผสมผสานกับกลองปูจา เพื่อใหไดเสียงที่แปลกนาสนใจ 3. นําทาแมบทอีสาน มาผสมผสานกับทาที่คิดขึ้นมาใหม 4. นําการแสดงที่ไดรับความนิยม มาปรับรูปแบบแถวและเรียบเรียงเสียงประสานใหม 98. จากภาพ ทานมีความคิดเห็นอยางไร 1. เครื่องแตงกายนาสนใจและสะทอนลักษณะเฉพาะทางเชื้อชาติ 2. เครื่องแตงกายนาสนใจ แตไมสะทอนลักษณะเฉพาะทางเชื้อชาติ 3. ทานาสนใจและสะทอนลักษณะเฉพาะของทางเชื้อชาติ 4. ทานาสนใจ แตไมสะทอนลักษณะเฉพาะทางเชื้อชาติ
  • 30. รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร หนา วันอาทิตยที่ 15 มีนาคม 2552 เวลา 09.00 - 12.00 น. 30 99. จากภาพ นาจะเปนแรงบันดาลใจใหทําการแสดงใดไดเหมาะสมที่สุด 1. ละครใน เรื่องอิเหนา ตอนชมดง 2. ละครพันทาง เรื่องพระลอ ตอนลงสวน 3. ละครดึกดําบรรพ เรื่อง รามเกียรติ์ ตอนสูรปนขาชมดง 4. ละครนอก เรื่อง สุวรรณหงส ตอนชมสวน 100. การแสดงละครฉากหนึ่งของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 นางเอกของเรื่องปรากฏกายขึ้นบนเวที พรอมกับการแสดงออกของอารมณดวยความซาบซึ้ง เยือกเย็น สงบนิ่ง ขอใดตรงกับการแสดง ดังกลาว 1. ทา Arabesque, บทเพลงทอนที่ 1 จาก Symphony No. 9 by Dvorak, เวที ฉากหลังแบบศิลปะ บรรพกาล 2. ทา Arabesque, บทเพลงทอนที่ 2 จาก Symphony No. 9 by Dvorak, เวทีคลุมดวยไอน้ําแข็งแหง 3. ทา Arabesque, บทเพลงทอนที่ 3 จาก Symphony No. 9 by Dvorak, เวที ฉากหลังแบบ Surrealism 4. ทา Arabesque, บทเพลงทอนที่ 4 จาก Symphony No. 9 by Dvorak, เวที ฉากหลังแบบ Romantic