SlideShare a Scribd company logo
เรื่อง สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ าจิตรเจริญ
กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
จัดทาโดย..
นายกิตติศักดิ์ นึกชอบ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ าจิตรเจริญ
กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
พระประวัติ
พลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรา
นุวัดติวงศ์ หรือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ
เจ้าฟ้ ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ มีพระนามเดิม พระองค์เจ้าจิตร
เจริญ ต่อมาทรงได้รับพระราชทานสถาปนาเป็นเจ้าฟ้ า
ทรงเป็นต้น ราชสกุล จิตรพงศ์ เป็นพระราชโอรสของ พระบาทสมเด็จ
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ พระสัมพันธวงศ์เธอ
พระองค์เจ้าพรรณราย ประสูติเมื่อวันอังคารเดือน ๖ ขึ้น ๑๑ ค่า ปีกุน
เบญจศก จ.ศ. ๑๒๒๕ ตรงกับวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2406
พระกรณียกิจ
• ด้านราชการ
พระองค์ทรงเป็นเสนาบดีหลายกระทรวงทั้ง กระทรวงโยธาธิการ กระทรวง
พระคลังมหาสมบัติ กระทรวงกลาโหม กระทรวงวังสมัยรัชกาล
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตาแหน่งอภิรัฐมนตรีที่ปรึกษา
ราชการแผ่นดิน อุปนายก ราชบัณฑิตยสภา แผนกศิลปากร หลัง
เปลี่ยนแปลงการปกครอง ทรงได้รับแต่งตั้งเป็น ผู้สาเร็จราชการแทน
พระองค์ ขณะที่ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จต่างประเทศ
ด้านศิลปกรรม
• งานสถาปัตยกรรมที่โปรดทามากคือ แบบพระเมรุ
โดยตรัสว่า "เป็นงานที่ทาขึ้นใช้ชั่วคราวแล้วรื้อทิ้งไป
เป็นโอกาสได้ทดลองใช้
ปัญญาความคิดแผลงได้เต็มที่ จะผิดพลาดไปบ้างก็
ไม่สู้กระไร ระวังเพียงอย่างเดียวคือเรื่องทุนเท่านั้น“
• ในภาพเป็นพระเมรุมาศสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรม
ราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว เป็นพระเมรุมาศแรกที่สมเด็จฯ เจ้าฟ้ ากรม
พระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงออกแบบ
(ศิลปากร,กรม,๒๕๓๙,ศิลปะสถาปัตยกรรมไทย
ในพระเมรุมาศ)
ด้านสถาปัตยกรรม
• คือ การออกแบบก่อสร้างพระอุโบสถ
วัดเบญจมบพิตร
ถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
เมื่อ พ.ศ. 2442
• งานด้านสถาปัตยกรรมเป็นงานที่พระองค์ทรง
พิถีพิถันอย่างมาก เพราะตรัสว่า
"ต้องระวังเพราะสร้างขึ้นก็เพื่อความพอใจ ความ
เพลิดเพลินตา ไม่ใช่สร้างขึ้นเพื่ออยากจะรื้อทิ้ง
ทุนรอนที่เสียไปก็ใช่จะเอาคืนมาได้ ผลที่สุดก็ต้องทิ้งไว้
เป็นอนุสาวรีย์สาหรับขายความอาย"
ด้านภาพจิตรกรรม
• ภาพเขียน
ภาพเขียนสีน้ามันประกอบ
พระราชพงศาวดาร แผ่นดิน
พระเจ้าท้ายสระ ครั้ง กรุงศรี
อยุธยา เป็นภาพช้างทรงพระ
มหาอุปราชแทงช้างพระที่นั่ง
ภาพเขียนรถพระอาทิตย์ที่
เพดานพระที่นั่งภานุมาศ
จารูญ ( พระที่นั่งบรมพิมาน )
• ภาพประกอบ
เรื่องธรรมาธรรมะสงคราม
งานออกแบบ
• ออกแบบตรากระทรวงต่างๆ ,
อนุสาวรีย์ทหารอาสา
สงครามโลกครั้งที่ 1 , องค์พระ
ธรณีบีบมวยผมที่เชิง สะพาน
ผ่านพิภพลีลา พระบรมรูปหล่อ
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ า
จุฬาโลกมหาราช ที่เชิง สะพาน
พระพุทธยอดฟ้ า
ด้านวรรณกรรม
• มีทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง เช่น โคลงประกอบภาพ จิตรกรรม ภาพ พระราชพงศาวดาร ,
โคลงประกอบเรื่องรามเกียรติ์ ทรงนิพนธ์เมื่องานฉลองพระนครครบรอบร้อยปี , ลายพระ
หัตถ์โต้ตอบประทานบุคคลต่างๆ เช่น จดหมายเวรโต้ตอบกับ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ลายพระหัตถ์ประทานความรู้ใน
ลักษณะจดหมายโต้ตอบพระสาร
ประเสริฐและพระยาอนุมานราชธน เรื่องภาษาและประเพณี ลายพระหัตถ์โต้ตอบเหล่านี้
เป็นเหมือนคลังความรู้สาหรับผู้สนใจ
ใฝ่ศึกษาค้นคว้าทั่วไป
ด้านดุริยางคศิลป์ และนาฏศิลป์
• ทรงสนพระทัยทั้ง ดนตรีไทย และ ดนตรีสากล โดยเฉพาะดนตรีไทยนั้นทรงฝึกฝนมาแต่พระเยาว์ ทรง
ถนัดเล่นปี่พาทย์และระนาด
มากกว่าเครื่องดนตรีอื่นๆ
• เพลงพระนิพนธ์
เพลงสรรเสริญพระบารมี
เพลงสรรเสริญพระบารมี เป็นเพลงที่บรรเลงเพื่อสรรเสริญพระบารมีแห่งพระมหากษัตริย์เดิมที เพลง
สรรเสริญพระบารมี ถูกใช้เป็นเพลงประจาชาติ ซึ่งประพันธ์ขึ้นในระหว่างปี พ.ศ. 2431 - 2475 โดยเป็น
เพลงชาติไทยฉบับที่ 3 ของไทย นิพนธ์คาร้องโดย สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุ
วัดติวงศ์ส่วนทานอง แต่งโดย ปโยตร์ สซูโรฟสกี้ (Pyotr Schurovsky) นักประพันธ์เพลงชาว
รัสเซีย ในปัจจุบัน คาร้องของเพลง ได้ถูกดัดแปลงไป ซึ่งในตอนแรก ท่อนสุดท้าย ใช้คาว่า ฉะนี้ แต่
ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเปลี่ยนคาว่า ฉะนี้ ให้เป็น ไชโย
** ข้าวรพุทธเจ้า เอามโนและศิระกราน
นบพระภูมิบาลบุญดิเรก เอกบรมจักริน
พระสยามินทร์ พระยศยิ่งยง
เย็นศิระเพราะพระบริบาล ผลพระคุณ ธ รักษา
ปวงประชาเป็นสุขศานต์ ขอบันดาล ธ ประสงค์ใด
จงสฤษดิ์ดัง หวังวรหฤทัย ดุจถวายชัย ชโย
• ด้านบทละคร
ทรงนิพนธ์บทละครดึกดาบรรพ์
ไว้หลายเรื่อง เช่น
สังข์ทอง ตอนทิ้งพวงมาลัย ตีคลี และตอน
ถอดรูป
คาวี ตอนเผาพระขรรค์ ชุบตัว และตอนหึง
อิเหนา ตอนตัดดอกไม้ฉายกริช ไหว้พระ
และตอนบวงสรวง
รามเกียรติ์ ตอนศูรปนขาตีสีดา
ชีวิตบั้นปลาย
• สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ทรงประชวรด้วย
โรคพระหทัยโตขณะที่ยังทรงรับราชการในตาแหน่งเสนาบดีกระทรวงวัง
จึงกราบถวายบังคมลาออกจากราชการ แต่ยังรับราชการส่วนพระองค์ใน
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และรัชกาล พระบาทสมเด็จ
พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงใช้เวลาส่วนใหญ่กับงานศิลปะและวิทยาการจนพระ
กาลังพระปัญญาเสื่อมลงทุกที ด้วยทรงพระชราด้วยโรคภัยเบียดเบียน คือโรค
พระหทัยโต หลอดลมอักเสบเรื้อรัง และโรคเส้นพระโลหิตแข็ง วันที่ 10 มีนาคม
พ.ศ. 2490 จึงสิ้นพระชนม์โดยสงบ ขณะมีพระชันษาได้ 83 ปี
เกียรติประวัติ
วันที่ 28 เมษายนเป็นวันครบรอบวันประสูติ
ของพระองค์ ทุกปีจะมีงาน
"วันนริศ" ณ ตาหนักปลายเนิน คลองเตย มี
การแสดงละคร การบรรเลง
เพลงพระนิพนธ์ การตั้งแสดงงานฝีพระหัตถ์
บางชิ้น และการมอบ
"ทุนนริศรานุวัดติวงศ์" แก่นักศึกษาใน
สาขาวิชาศิลปะ
องค์การยูเนสโก ยกย่องให้พระองค์เป็น
บุคคลสาคัญของโลก
ประจาปี พ.ศ. 2506
Thank You..

More Related Content

Viewers also liked

พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าพระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
เครื่องปั้นดินเผาของชาวเกาหลี
เครื่องปั้นดินเผาของชาวเกาหลีเครื่องปั้นดินเผาของชาวเกาหลี
เครื่องปั้นดินเผาของชาวเกาหลีSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
จอมพลแปลกพิบูลสงคราม
จอมพลแปลกพิบูลสงครามจอมพลแปลกพิบูลสงคราม
จอมพลแปลกพิบูลสงครามSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิโรรส
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิโรรสสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิโรรส
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิโรรสSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระพุทธทาสภิกขุ
พระพุทธทาสภิกขุพระพุทธทาสภิกขุ
พระพุทธทาสภิกขุ
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
Industrialisation de Drupal : Usines à Sites, retour sur le cas CCI Alsace
Industrialisation de Drupal : Usines à Sites, retour sur le cas CCI AlsaceIndustrialisation de Drupal : Usines à Sites, retour sur le cas CCI Alsace
Industrialisation de Drupal : Usines à Sites, retour sur le cas CCI Alsace
Actency
 

Viewers also liked (14)

ก.ศ.ร กุหลาบ
ก.ศ.ร กุหลาบก.ศ.ร กุหลาบ
ก.ศ.ร กุหลาบ
 
จังหวัดสระแก้ว
จังหวัดสระแก้วจังหวัดสระแก้ว
จังหวัดสระแก้ว
 
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าพระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
 
สมุทรสงคราม
สมุทรสงครามสมุทรสงคราม
สมุทรสงคราม
 
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์
 
พระพุธทาสภิกขุ
พระพุธทาสภิกขุพระพุธทาสภิกขุ
พระพุธทาสภิกขุ
 
เครื่องปั้นดินเผาของชาวเกาหลี
เครื่องปั้นดินเผาของชาวเกาหลีเครื่องปั้นดินเผาของชาวเกาหลี
เครื่องปั้นดินเผาของชาวเกาหลี
 
สุนทรภู่
สุนทรภู่  สุนทรภู่
สุนทรภู่
 
จอมพลแปลกพิบูลสงคราม
จอมพลแปลกพิบูลสงครามจอมพลแปลกพิบูลสงคราม
จอมพลแปลกพิบูลสงคราม
 
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิโรรส
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิโรรสสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิโรรส
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิโรรส
 
พระพุทธทาสภิกขุ
พระพุทธทาสภิกขุพระพุทธทาสภิกขุ
พระพุทธทาสภิกขุ
 
คุณสืบนาคะเสถียร
คุณสืบนาคะเสถียรคุณสืบนาคะเสถียร
คุณสืบนาคะเสถียร
 
ศรีลังกา
ศรีลังกาศรีลังกา
ศรีลังกา
 
Industrialisation de Drupal : Usines à Sites, retour sur le cas CCI Alsace
Industrialisation de Drupal : Usines à Sites, retour sur le cas CCI AlsaceIndustrialisation de Drupal : Usines à Sites, retour sur le cas CCI Alsace
Industrialisation de Drupal : Usines à Sites, retour sur le cas CCI Alsace
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

Is
IsIs
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
คองโก
คองโกคองโก
Is1
Is1Is1
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ

  • 1. เรื่อง สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ จัดทาโดย.. นายกิตติศักดิ์ นึกชอบ
  • 3. พระประวัติ พลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรา นุวัดติวงศ์ หรือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ มีพระนามเดิม พระองค์เจ้าจิตร เจริญ ต่อมาทรงได้รับพระราชทานสถาปนาเป็นเจ้าฟ้ า ทรงเป็นต้น ราชสกุล จิตรพงศ์ เป็นพระราชโอรสของ พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณราย ประสูติเมื่อวันอังคารเดือน ๖ ขึ้น ๑๑ ค่า ปีกุน เบญจศก จ.ศ. ๑๒๒๕ ตรงกับวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2406
  • 5. • ด้านราชการ พระองค์ทรงเป็นเสนาบดีหลายกระทรวงทั้ง กระทรวงโยธาธิการ กระทรวง พระคลังมหาสมบัติ กระทรวงกลาโหม กระทรวงวังสมัยรัชกาล พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตาแหน่งอภิรัฐมนตรีที่ปรึกษา ราชการแผ่นดิน อุปนายก ราชบัณฑิตยสภา แผนกศิลปากร หลัง เปลี่ยนแปลงการปกครอง ทรงได้รับแต่งตั้งเป็น ผู้สาเร็จราชการแทน พระองค์ ขณะที่ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จต่างประเทศ
  • 6. ด้านศิลปกรรม • งานสถาปัตยกรรมที่โปรดทามากคือ แบบพระเมรุ โดยตรัสว่า "เป็นงานที่ทาขึ้นใช้ชั่วคราวแล้วรื้อทิ้งไป เป็นโอกาสได้ทดลองใช้ ปัญญาความคิดแผลงได้เต็มที่ จะผิดพลาดไปบ้างก็ ไม่สู้กระไร ระวังเพียงอย่างเดียวคือเรื่องทุนเท่านั้น“ • ในภาพเป็นพระเมรุมาศสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรม ราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว เป็นพระเมรุมาศแรกที่สมเด็จฯ เจ้าฟ้ ากรม พระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงออกแบบ (ศิลปากร,กรม,๒๕๓๙,ศิลปะสถาปัตยกรรมไทย ในพระเมรุมาศ)
  • 7. ด้านสถาปัตยกรรม • คือ การออกแบบก่อสร้างพระอุโบสถ วัดเบญจมบพิตร ถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2442 • งานด้านสถาปัตยกรรมเป็นงานที่พระองค์ทรง พิถีพิถันอย่างมาก เพราะตรัสว่า "ต้องระวังเพราะสร้างขึ้นก็เพื่อความพอใจ ความ เพลิดเพลินตา ไม่ใช่สร้างขึ้นเพื่ออยากจะรื้อทิ้ง ทุนรอนที่เสียไปก็ใช่จะเอาคืนมาได้ ผลที่สุดก็ต้องทิ้งไว้ เป็นอนุสาวรีย์สาหรับขายความอาย"
  • 8. ด้านภาพจิตรกรรม • ภาพเขียน ภาพเขียนสีน้ามันประกอบ พระราชพงศาวดาร แผ่นดิน พระเจ้าท้ายสระ ครั้ง กรุงศรี อยุธยา เป็นภาพช้างทรงพระ มหาอุปราชแทงช้างพระที่นั่ง ภาพเขียนรถพระอาทิตย์ที่ เพดานพระที่นั่งภานุมาศ จารูญ ( พระที่นั่งบรมพิมาน )
  • 10. งานออกแบบ • ออกแบบตรากระทรวงต่างๆ , อนุสาวรีย์ทหารอาสา สงครามโลกครั้งที่ 1 , องค์พระ ธรณีบีบมวยผมที่เชิง สะพาน ผ่านพิภพลีลา พระบรมรูปหล่อ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ า จุฬาโลกมหาราช ที่เชิง สะพาน พระพุทธยอดฟ้ า
  • 11. ด้านวรรณกรรม • มีทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง เช่น โคลงประกอบภาพ จิตรกรรม ภาพ พระราชพงศาวดาร , โคลงประกอบเรื่องรามเกียรติ์ ทรงนิพนธ์เมื่องานฉลองพระนครครบรอบร้อยปี , ลายพระ หัตถ์โต้ตอบประทานบุคคลต่างๆ เช่น จดหมายเวรโต้ตอบกับ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ลายพระหัตถ์ประทานความรู้ใน ลักษณะจดหมายโต้ตอบพระสาร ประเสริฐและพระยาอนุมานราชธน เรื่องภาษาและประเพณี ลายพระหัตถ์โต้ตอบเหล่านี้ เป็นเหมือนคลังความรู้สาหรับผู้สนใจ ใฝ่ศึกษาค้นคว้าทั่วไป
  • 12. ด้านดุริยางคศิลป์ และนาฏศิลป์ • ทรงสนพระทัยทั้ง ดนตรีไทย และ ดนตรีสากล โดยเฉพาะดนตรีไทยนั้นทรงฝึกฝนมาแต่พระเยาว์ ทรง ถนัดเล่นปี่พาทย์และระนาด มากกว่าเครื่องดนตรีอื่นๆ • เพลงพระนิพนธ์ เพลงสรรเสริญพระบารมี เพลงสรรเสริญพระบารมี เป็นเพลงที่บรรเลงเพื่อสรรเสริญพระบารมีแห่งพระมหากษัตริย์เดิมที เพลง สรรเสริญพระบารมี ถูกใช้เป็นเพลงประจาชาติ ซึ่งประพันธ์ขึ้นในระหว่างปี พ.ศ. 2431 - 2475 โดยเป็น เพลงชาติไทยฉบับที่ 3 ของไทย นิพนธ์คาร้องโดย สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุ วัดติวงศ์ส่วนทานอง แต่งโดย ปโยตร์ สซูโรฟสกี้ (Pyotr Schurovsky) นักประพันธ์เพลงชาว รัสเซีย ในปัจจุบัน คาร้องของเพลง ได้ถูกดัดแปลงไป ซึ่งในตอนแรก ท่อนสุดท้าย ใช้คาว่า ฉะนี้ แต่ ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเปลี่ยนคาว่า ฉะนี้ ให้เป็น ไชโย ** ข้าวรพุทธเจ้า เอามโนและศิระกราน นบพระภูมิบาลบุญดิเรก เอกบรมจักริน พระสยามินทร์ พระยศยิ่งยง เย็นศิระเพราะพระบริบาล ผลพระคุณ ธ รักษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์ ขอบันดาล ธ ประสงค์ใด จงสฤษดิ์ดัง หวังวรหฤทัย ดุจถวายชัย ชโย
  • 13. • ด้านบทละคร ทรงนิพนธ์บทละครดึกดาบรรพ์ ไว้หลายเรื่อง เช่น สังข์ทอง ตอนทิ้งพวงมาลัย ตีคลี และตอน ถอดรูป คาวี ตอนเผาพระขรรค์ ชุบตัว และตอนหึง อิเหนา ตอนตัดดอกไม้ฉายกริช ไหว้พระ และตอนบวงสรวง รามเกียรติ์ ตอนศูรปนขาตีสีดา
  • 14. ชีวิตบั้นปลาย • สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ทรงประชวรด้วย โรคพระหทัยโตขณะที่ยังทรงรับราชการในตาแหน่งเสนาบดีกระทรวงวัง จึงกราบถวายบังคมลาออกจากราชการ แต่ยังรับราชการส่วนพระองค์ใน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และรัชกาล พระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงใช้เวลาส่วนใหญ่กับงานศิลปะและวิทยาการจนพระ กาลังพระปัญญาเสื่อมลงทุกที ด้วยทรงพระชราด้วยโรคภัยเบียดเบียน คือโรค พระหทัยโต หลอดลมอักเสบเรื้อรัง และโรคเส้นพระโลหิตแข็ง วันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2490 จึงสิ้นพระชนม์โดยสงบ ขณะมีพระชันษาได้ 83 ปี
  • 15. เกียรติประวัติ วันที่ 28 เมษายนเป็นวันครบรอบวันประสูติ ของพระองค์ ทุกปีจะมีงาน "วันนริศ" ณ ตาหนักปลายเนิน คลองเตย มี การแสดงละคร การบรรเลง เพลงพระนิพนธ์ การตั้งแสดงงานฝีพระหัตถ์ บางชิ้น และการมอบ "ทุนนริศรานุวัดติวงศ์" แก่นักศึกษาใน สาขาวิชาศิลปะ องค์การยูเนสโก ยกย่องให้พระองค์เป็น บุคคลสาคัญของโลก ประจาปี พ.ศ. 2506