SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
ประวัติเทควันโด
ตำนำนเรื่องควำมเป็นมำของศิลปะกำรต่อสู้ทุกชนิดบนโลกนี้ ย่อมสืบเนื่องมำจำกพื้นฐำนเบื้องต้น
ในเรื่องของควำมอยู่รอด ไม่ว่ำจะเป็นในแง่กำรหำอำหำร กำรต่อสู้กับสัตว์ร้ำย กำรแย่งชิงที่ทำกินควำม
ต้องกำรเป็นผู้นำในกลุ่มของตน พัฒนำต่ำงๆได้มีต่อเนื่องยำวนำนจนเป็นเอกลักษณ์เฉพำะเผ่ำพันธุ์ตำมควำม
ถนัดซึ่งมักจะขึ้นอยู่กับรูปร่ำง พื้นฐำนควำมเป็นอยู่ประจำวัน ภูมิประเทศ ดินฟ้ำอำกำศ จำกกำรต่อสู้ด้วยมือ
เปล่ำ ก็มักจะพัฒนำมำเป็นกำรต่อสู้ด้วยอำวุธซึ่งก็จะมีรูปแบบเฉพำะตัวที่เกี่ยวพันสัมพันธ์กับกำรต่อสู้ด้วย
มือเปล่ำประจำชนชำติของตน เทควันโดมีต้นกำเนิดจำกชนชำติเกำหลีมีประวัติยำวนำนนับพันปี พัฒนำ
ปรับเปลี่ยนมำจำกกำรต่อสู้ยุดโบรำณหลำยรูปแบบจนใช้ชื่อว่ำ เทควันโด เป็นครั้งแรกประมำณ
ปี 1950 แต่มีกำรบันทึกว่ำใช้อย่ำงเป็นทำงกำรเมื่อ ปี 1965 ในกำรก่อตั้งสมำคมเทควันโดเกำหลี
หลังจำกที่เกำหลีสำมำรถเผยแพร่เทควันโดจนเป็นที่ยอมรับเป็นกีฬำไปทั่วโลกจนได้รับกำรบรรจุแข่งขันใน
โอลิมปิคเกมส์ปี2000 ที่ประเทศออสเตรเลียโดยมีองค์กรที่รับผิดชอบคือสหพันธ์เทควันโดโลก เทควัน
โดจึงถือได้ว่ำเป็นกีฬำสำกลอย่ำงเต็มภำคภูมิ แต่เนื้อแท้แล้วชำวเกำหลียังคงภูมิใจในควำมเป็นศิลปะกำร
ต่อสู้ และพยำยำมที่คงไว้ในเรื่องรำกฐำนแห่งศิลปะแขนงนี้ให้มำกที่สุดโดยใช้กำรสอบเลื่อนสำยคำดเอว
เป็นรูปแบบควบคุมมำตรฐำนโดยมีสถำบันกุกกิวอนเป็นผู้รับผิดชอบ มีกำรอบรมผู้ฝึกสอนให้อำจำรย์สำยดำ
ทั่วโลก ให้นักเทควันโดได้ทรำบประวัติ ปรัชญำ แนวคิดของเทควันโดอย่ำงแท้จริง ในเรื่องของประวัติ
ควำมเป็นมำของเทควันโดมีนักวิชำกำรได้เขียนไว้มำกมำยหลำยตำรำในเนื้อหำโดยรวมแล้วก็เป็นไปใน
แนวทำงเดียวกัน แต่ผู้ที่ศึกษำค้นคว้ำเพิ่มเติมก็จะพบรำยละเอียดปลีกย่อยที่น่ำสนใจอีกมำกมำยแฝงอยู่
แม้แต่สถำบันกุกกิวอนเองที่เปิดอบรมผู้ฝึกสอนสำยดำทั่วโลกก็มีกำรค้นคว้ำวิจัยเพิ่มเติมหลำยครั้ง ประวัติ
บำงช่วง หรือชื่อบุคคลบำงท่ำนก็ได้รับกำรเติมใส่ลงมำมำกขึ้น ประวัติควำมเป็นมำและพัฒนำกำรของเท
ควันโดที่นำมำลงในที่นี้เป็นฉบับที่คุณหมอศุภกิตติ ขัมพำนนท์ได้เรียบเรียงไว้ใช้ในครำวที่อบรมผู้ฝึกสอน
สำยดำของสมำคมเทควันโดแห่งประเทศไทยเมื่อ ปี2546 ที่หัวหิน และปี 2547 ที่นครนำยก ขณะนั้น
ท่ำนเป็นประธำนฝ่ำยวิชำกำรและฝึกอบรมและตัวครูเองเป็นประธำนเทคนิค ได้มีโอกำสร่วมงำนจัดกำร
อบรมกับคุณหมอ จึงเป็นประวัติเทควันโดย่อๆฉบับหนึ่งที่มีเนื้อหำครบถ้วนสมบูรณ์ใช้อ้ำงอิงได้อย่ำงดี
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของเทควันโด
เทควันโดเป็นศิลปะกำรต่อสู้ประจำชำติเกำหลีอันมีประวัติควำมเป็นมำยำวนำน จนอำจกล่ำวได้ว่ำ
ประวัติศำสตร์ ของเทควันโด ก็คือประวัติศำสตร์ของชนชำติเกำหลีนั่นเอง เรื่องรำวในอดีตที่เกี่ยวข้องกับ
พัฒนำกำรของเทควันโด แบ่งออกได้เป็น 4 ยุคสมัย ได้แก่ ยุคบรรพกำล ยุคกลำง ยุคใหม่ และยุคปัจจุบัน
1) เทควันโดยุคบรรพกาล
มนุษย์โดยธรรมชำติแล้วย่อมมีสัญชำติญำณในกำรปกป้ องตนเองและเผ่ำพันธุ์ จึงพยำยำมที่จะ
พัฒนำควำมสำมำรถในกำรต่อสู้อยู่ตลอดเวลำ ในสมัยที่ยังไม่มีอำวุธก็ต้องใช้กำรต่อสู้กำรด้วยมือเปล่ำและ
แม้เมื่อมนุษย์สำมำรถประดิษฐ์อำวุธขึ้นใช้แล้วก็ยังอำศัยกำรฝึกฝนกำรต่อสู้ด้วยมือเปล่ำในกำรเสริมสร้ำง
ควำมแข็งแกร่งให้ร่ำงกำย นอกจำกนี้ยังนำมำเป็นกำรแสดงควำมสำมำรถโอ้อวดกันในงำนประเพณีต่ำงๆ
ด้วยเช่นกำรเฉลิมฉลองหลังฤดูกำลเก็บเกี่ยว หรือในที่ชุมนุมชนในโอกำสสำคัญอื่นๆเป็นต้น ชนชำติเกำหลี
สืบเชื้อสำยมำจำกชำวเผ่ำมองโกล ซึ่งอพยพย้ำยถิ่นจำกใจกลำงทวีปเอเชียมำยังคำมสมุทรเกำหลีนำน
กว่ำ 2000 ปี มำแล้วเอกลักษณ์อย่ำงหนึ่งของชำวมองโกลคือ ควำมชำนำญและผูกพันกับกำรขี่ม้ำ ใช้ชีวิต
บนหลังม้ำ รวมถึงกำรต่อสู้บนหลังม้ำ เนื่องจำกต้องเลี้ยงสัตว์และเดินทำงไปในทุ่งหญ้ำและพื้นที่อัน
ทุรกันดำรเป็นระยะทำงไกลๆทำงตอนเหนืออยู่เสมอ ส่วนประชำชนในพื้นที่ทำงตอนใต้อันอุดมสมบูรณ์
มำกกว่ำได้ยึดอำชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก และทิ้งชีวิตบนหลังม้ำไป สิ่งนี้เป็นปัจจัยให้พัฒนำกำรของวิธีกำร
ต่อสู้ของนักรบทำงภำคเหนือและภำคใต้แตกต่ำงกัน ซึ่งจะได้กล่ำวต่อไป ภูมิศำสตร์ของคำบสมุทรเกำหลี
นั้นมีควำมสำคัญยิ่งทำงยุทธศำสตร์เพรำะเป็นสะพำนเชื่อมและอยู่กึ่งกลำงระหว่ำงแผ่นดินจีนทำงตะวันตก
มองโกลทำงทิศเหนือ รัสเซียทำงทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และหมู่เกำะญี่ปุ่นทำงทิศใต้ซึ่งต่ำงก็พยำยำมแผ่
อำนำจและผลัดกันยึดครองดินแดนผืนนี้อยู่เสมอ ประวัติศำสตร์ของเกำหลีจึงเต็มไปด้วยกำรรบพุ่ง ต่อสู้ แย่ง
ชิง และปกป้ องบ้ำนเมืองของตนมำตลอด ในยุคแรกเริ่มของอำรยธรรมเกำหลี (ประมำณ 50 ปีก่อน
คริสตกำล) ปรำกฏว่ำมีกำรแบ่งแยกดินแดนออกเป็น 3 อำณำจักร ได้แก่ โคกุลเยอ ทำงทิศเหนือ เบคเจทำง
ทิศใต้และซิลลำทำงทิศตะวันออกเฉียงใต้อำณำจักรทั้งสำมต่ำงก็พยำยำมชิงควำมเป็นใหญ่แต่ผู้เดียว จึงยำ
ยำมเสริมสร้ำงกำลังกองทัพและฝึกฝนทหำรของตนให้มีควำมเข้มแข็งอยู่เสมอ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง โคกุลเยอ
และซิลลำได้สร้ำงกองทัพนักรบหนุ่มขึ้นเรียกว่ำ “ชูอิโซนิน” และ “ฮวำรังโด” ตำมลำดับซึ่งมีกำรฝึกฝน
กำรต่อสู้ด้วยมือ และเท้ำ รวมถึงกำรต่อสู้ด้วยอำวุธนำนำชนิด กล่ำวถึงอำณำจักรโคกุลเยอทำงเหนือ ที่มีเขต
แดนติดต่อกับจีนจึงต้องพัฒนำกำลังทหำรไว้ป้ องกันประเทศ นักรบในกองกำลัง“ชูอิโซนิน” นี้
เรียกว่ำ “ซอนเบ” ในประวัติศำสตร์กล่ำวว่ำพวกซอนเบนี้จะอยู่รวมกันเป็นหมู่เหล่ำ มีกำรศึกษำ
ประวัติศำสตร์ศิลปะต่ำงๆ นอกเหนือจำกวิชำกำรต่อสู้และยังใช้เวลำในยำมสงบช่วยพัฒนำบ้ำนเมืองด้วยกำร
สร้ำงถนนป้ อมปรำกำรต่ำงๆ วิชำกำรต่อสู้ของพวกซอนเบนี้เรียกว่ำ “เทคเคียน” ซึ่งมีลักษณะเด่นที่กำรใช้
เท้ำเตะ เนื่องจำกกำรขี่ม้ำจะต้องใช้มือควบคุมสำยบังคับม้ำ ถืออำวุธ และธนูจึงเน้นกำรใช้เท้ำที่ว่ำงอยู่ในกำร
ต่อสู้และช่วยในกำรทรงตัวหลักฐำนภำพวำดตำมฝำผนังในสุสำนโบรำณหลำยแห่งแสดงให้เห็นถึงกำรต่อสู้
และทักษะต่ำงๆ ของเทคเคียน ซึ่งนอกจำกจะใช้ในกำรรบแล้วยังเป็นกำรบริหำรร่ำงกำย และเป็นเกมกีฬำที่
นิยมประลองกันในโอกำสต่ำงๆกันด้วย ส่วนอำณำจักรซิลลำทำงตอนใต้ก็ถูกรุกรำนจำกอำณำจักรโคกุลเยอ
ทำงตอนเหนือ และอำณำจักรเบคเจทำงตะวันตก จึงต้องเสริมสร้ำงกองทัพที่เข้มแข็งไว้เช่นกัน โดยเรียกว่ำ
นักรบหนุ่มของตนว่ำ “ฮวำรัง”ซึ่งมีกฎระเบียบกำรปกครองและกำรฝึกฝนคล้ำยคลึงกับซอนเบมำก กำร
คัดเลือกชำยหนุ่มเข้ำเป็นฮวำรังจะต้องมีกำรทดสอบฝีมือกำรต่อสู้ซึ่งได้แก่กำรฟันดำบ มวยปล้ำ ขี่ม้ำ และ
กำรต่อสู้ด้วยมือเปล่ำที่เรียกว่ำ“ซูบัก” ซึ่งเน้นกำรใช้ทักษะของมือเป็นหลัก เนื่องจำกชำวซิลลำมีควำม
ผูกพันกับพุทธศำสนำเป็นอย่ำงมำกวัดโบรำณในเมืองเกียงจูจึงมีรูปปั้นทวำรบำลเป็นยักษ์ (กึมกัง ย็อกซ่ำ)
แสดงท่ำต่อลักษณะท่ำมือที่คล้ำยคลึงกับเทควันโดในปัจจุบันมำก แม้จะมีรำกฐำนควำมเป็นมำแตกต่ำงกัน
แต่ทั้ง เทคเคียน และซูบักก็เริ่มผสมผสำนกลมกลืนกัน โดยเทคเคียนได้เผยแพร่จำกอำณำจักรโคกุลเยอเข้ำ
มำในอำณำจักรซิลลำเมื่อรำวคริสต์ศตวรรษที่4 และได้รับควำมนิยมแพร่หลำยไปสู่สำมัญชนทั่วไป
อำณำจักรซิลลำเริ่มมีควำมเข้มแข็งกว่ำอำณำจักรอื่นๆ โดยมีขุนพลฮวำรังที่มีชื่อเสียงอำทเช่นิคิมยู
ซิน และคิมชุนช ููเป็นกำลังสำคัญในกำรรบเพื่อรวมอำณำจักรในคำบสมุทรเกำหลีเป็นหนึ่งเดียวได้สำเร็จ
ในปี ค.ศ.676 (พ.ศ.1219)และคงควำมเป็นปึกแผ่นไว้ได้นำนเกือบ 300 ปี
2) เทควันโดยุคกลาง
ในสมัยรำชวงศ์คอร์โย ซึ่งปกครองเกำหลีต่อจำกอำณำจักรซิลลำ ในระหว่ำง ค.ศ.918-1392 มี
กำรพัฒนำรูปแบบกำรฝึกเทคเคียนและซูบักอย่ำงเป็นระบบ และใช้ในกำรทดสอบเพื่อคัดเลือกทหำรเข้ำ
ประจำกำรด้วยมีบันทึกทำงประวัติศำสตร์ที่แสดงว่ำวิชำกำรต่อสู้ด้วยมือ และเท้ำเปล่ำนี้ได้พัฒนำถึงขั้นเป็น
อำวุธฆ่ำคนในสงครำมได้จริง ทักษะควำมสำมำรถในกำรต่อสู้ได้กลำยเป็นสิ่งสำคัญในกำรเลื่อนยศและ
ตำแหน่งของทหำร(จึงเป็นที่มำของกำรจัดระดับสำยในเทควันโด คล้ำยกับชั้นยศทหำรในกองทัพ:ผู้เรียบ
เรียง) มีกำรบันทึกถึงระบบกติกำกำรต่อสู้คล้ำยกับกีฬำในปัจจุบัน ในกำรทดสอบพละกำลัง ลียี่หมิน ใช้
กำปั้นข้ำงขวำชกที่เสำและสำมำรถทำให้หลังคำสะเทือนจนกระเบื้องมุงหลังคำหล่นลงมำแตกกระจำย เขำ
สำมำรถชกทะลุกำแพงที่ก่อด้วยดินเหนียว และในกำรประลองเขำชกเข้ำที่กระดูกสันหลังของคู่ต่อสู้ซึ่งทำ
ให้ถึงกับเสียชีวิต จึงถือได้ว่ำผู้ฝึกวิชำต่อสู้ด้วยมือเปล่ำสำมำรถทำกำรต่อสู้เทียบเท่ำกับกำรใช้อำวุธสังหำร
ทีเดียว กษัตริย์ในรำชวงศ์นี้ทรงโปรดกำรประลองต่อสู้เพื่อคัดเลือกทหำรเป็นอย่ำงยิ่ง มีกำรจัดประลองตำม
หัวเมืองต่ำงๆที่เสด็จไปประพำสให้ทอดพระเนตรอยู่เป็นประจำ อย่ำงไรก็ตำมในช่วงท้ำยของรำชวงศ์ได้มี
กำรนำอำวุธปืนเข้ำมำใช้ในกองทัพ ทำให้บทบำทของกำรประลองต่อสู้ด้วยมือเปล่ำลดควำมสำคัญลงไป
มำก
3) เทควันโดยุคใหม่
ในยุคนี้รำชวงศ์โชซันปกครองประเทศเกำหลีในปี ค.ศ.1392-1910 จำกนั้นเกำหลีตกอยู่ใต้กำร
ปกครองของญี่ปุ่นจนถึงปี ค.ศ.1945 รำชวงศ์โชซันปกครองประเทศด้วยลัทธิขงจื๊อ จึงปฏิเสธพิธีกรรม
ทำงศำสนำพุทธ และให้ควำมสำคัญของศิลปะกำรต่อสู้น้อยกว่ำงำนด้ำนวรรณกรรม กำรประลองฝีมือเพื่อ
คัดเลือกทหำรเข้ำประจำกำรก็ยังคงมีอยู่แต่ได้รับควำมสนพระทัยจำกกษัตริย์น้อยลงบ้ำนเมืองจึงเริ่มอ่อนแอ
ลง จนเมื่อเกำหลีถูกรุกรำนจำกญี่ปุ่นในปี ค.ศ.1592 พระเจ้ำเจียงโจ จึงได้รื้อฟื้นศิลปะกำรต่อสู้ขึ้นมำ
ขนำนใหญ่มีกำรจัดทำตำรำมำตรฐำนวิชำกำรต่อสู้เรียกว่ำ “มูเยโดโบ ทองจิ” ซึ่งในเล่มที่ 4 มี
ภำพประกอบและได้กล่ำวอธิบำยถึงกำรเคลื่อนไหวต่อเนื่องซึ่งมีลักษณะคล้ำยกับท่ำรำพูมเซในปัจจุบัน มี
กำรสอนวิชำกำรต่อสู้ให้กับเด็กคล้ำยกับเป็นกีฬำหรือกำรละเล่นชนิดหนึ่ง เมื่อญี่ปุ่นเข้ำยึดครองประเทศ
เกำหลี กำรฝึกวิชำกำรต่อสู้เริ่มเป็นสิ่งต้องห้ำม จึงต้องมีกำรแอบฝึกและมีกำรถ่ำยทอดกันมำอย่ำงลับๆเฉพำะ
ในหมู่ลูกหลำนเท่ำนั้นจนเมื่อญี่ปุ่นแพ้สงครำมโลกครั้งที่ 2 ในปี ค.ศ.1945 ประเทศเกำหลีจึงได้รับ
อิสรภำพอีกครั้ง แต่จำกกำรที่ทำงกำรญี่ปุ่นได้คุมขังและทรมำนนักเทควันโดเป็นจำนวนมำก ทำให้ผู้สืบ
ทอดวิชำกำรต่อสู้เหลือน้อยจนเป็นที่หวั่นเกรงกันว่ำจะสำบสูญไป ทั้งญี่ปุ่นได้พยำยำมกลืนวัฒนธรรมเกำหลี
ด้วยกำรบังคับให้ชำวเกำหลีฝึกคำรำเต้และยูโดแทน
4) เทควันโดยุคปัจจุบัน
ภำยหลังจำกที่ได้รับอิสรภำพจำกญี่ปุ่น ได้มีควำมพยำยำมที่จะฟื้นฟูศิลปะกำรต่อสู้ของเกำหลีขึ้นมำ
ใหม่ปรมำจำรย์ซองดุคคิ ได้แสดงวิชำเทคเคียน ให้ประธำนำธิบดี ลีซึงมำน ชมในงำนฉลองวันเกิด ซึ่ง
แสดงให้เห็นอย่ำงเด่นชัดว่ำมีเอกลักษณ์ที่แตกต่ำงจำกคำรำเต้ในระหว่ำงช่วงเวลำดังกล่ำวได้มีกำรก่อตั้ง
สำนัก(โดจัง) ขึ้นหลำยแห่งแต่ก็อยู่ได้อย่ำงไม่มั่นคงนักจนเมื่อเกิดสงครำมเกำหลี และเกำหลีถูกแบ่งแยก
เป็นสองประเทศ ได้แก่สำธำรณรัฐประชำธิปไตยประชำชนเกำหลี(เกำหลีเหนือ)ซึ่งปกครองโดยระบอบ
คอมมิวนิสต์แบบรัสเซีย และประเทศสำธำรณรัฐเกำหลี (เกำหลีใต้) ซึ่งปกครองโดยระบอบประชำธิปไตย
แบบสหรัฐอเมริกำ สภำพเศรษฐกิจในเกำหลีใต้เริ่มฟื้นตัวบรรดำนักประวัติศำสตร์และปรมำจำรย์เจ้ำสำนัก
ต่ำงๆ โดยกำรนำของนำยพลเชฮองฮี ได้ร่วมกันก่อตั้งสมำคมเทควันโดแห่งสำธำรณรัฐเกำหลีได้สำเร็จในปี
ค.ศ.1954ในช่วงสั้นๆ จำกปี ค.ศ.1961-1965 สมำคมได้เปลี่ยนไปใช้ชื่อสมำคมเทซูโด (มำจำก เท
คเคียน+ซูบัก)แต่ก็ได้เปลี่ยนกลับมำเป็นเทควันโดเช่นเดิมอีก และกีฬำเทควันโดเริ่มเป็นที่นิยมแพร่หลำยอีก
ครั้งมีกำรจัดกำรแข่งขันทั้งในระดับประถมศึกษำ,มัธยมศึกษำ และระดับมหำวิทยำลัย รวมทั้งได้บรรจุใน
กำรฝึกทหำรของกองทัพ ในสงครำมเวียดนำมทหำรเกำหลีได้แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภำพของเทควันโดใน
กำรต่อสู้ระยะประชิดตัว จึงได้รับควำมสนใจจำกนำนำประเทศ รวมทั้งสหรัฐอเมริกำ คุณค่ำของเทควันโด
ได้จึงเป็นที่ประจักษ์ในฐำนะที่สร้ำงชื่อเสียงให้แก่ประเทศเกำหลี วิชำเทควันโดจึงได้รับกำรยกย่องให้เป็น
กีฬำประจำชำติ (คุคคิ เทควันโด) ในปี 1971 (พ.ศ.2514) ซึ่งจุดเด่นของเทควันโดนอกจำกจะเป็นกำร
ฝึกฝนพละ-กำลัง ทั้งร่ำงกำยและจิตใจแล้วยังเป็นกำรเสริมสร้ำงและพัฒนำบุคลิกภำพให้แก่เยำวชนอีกด้วย
ในปี ค.ศ.1972 รัฐบำลเกำหลีได้สถำปนำสำนัก “กุกกิวอน” ขึ้นเพื่อเป็นศูนย์กลำงในกำรสอบขึ้น
ทะเบียนสำยดำและ เผยแพร่เทควันโดไปทั่วโลก โดยมีดร.อุนยองคิมผู้แทนรัฐบำลเป็นประธำน มีกำร
จัดกำรแข่งขันในระดับต่ำงๆ มำกถึง350 ครั้ง ในปีนั้นรวมทั้งกำรแข่งขันเทควันโดชิงแชมป์ โลกด้วย
นอกจำกนั้นเพื่อเป็นกำรพัฒนำของบุคลำกรผู้ฝึกสอนเทควันโด จึงได้มีกำรจัดตั้งวิทยำลัยเทควันโดโลก
ขึ้นมำเป็นมำตรฐำนเดียวกันทั่วโลกเทควันโดได้รับควำมนิยมเผยแพร่ออกไปอย่ำงรวดเร็วทั่วโลกทั้งในหมู่
ทหำร ตำรวจ และนักเรียนนักศึกษำในปี ค.ศ.1977 มีจำนวนสำยดำในประเทศเกำหลี
ถึง 3,620,000 คน และอีก 160,000 คนทั่วโลกทีมนักแสดงเทควันโดสำธิตทีมชำติเกำหลี ได้มี
ส่วนสำคัญในกำรเผยแพร่กีฬำเทควันโดและเกียรติภูมิของประเทศเกำหลีให้เป็นที่รู้จักทั่วไป จนเมื่อ
วันที่ 28 พ.ค.1973 มีกำรประชุมผู้แทนสมำคมเทควันโดจำกประเทศต่ำงๆทั่วโลกจำนวน 50 ประเทศ
และมีมติให้ก่อตั้งสหพันธ์เทควันโดโลกขึ้น โดยมี ดร.อุนยองคิม เป็นประธำนสหพันธ์อีกเช่นเดียวกัน
ปัจจุบันมีประเทศสมำชิกถึง 157 ประเทศ (ข้อมูล พ.ศ.2547) (พ.ศ.2551 มี 184 ประเทศ)และยัง
เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ สหพันธ์มีหน้ำที่ดูแลกำรแข่งขันเทควันโดชิงแชมป์ โลก ซึ่งจัดเป็นประจำทุกๆ 2 ปี และยังมี
กำรจัดตั้งสหพันธ์เทควันโดแห่งเอเชีย และทุกทวีปซึ่งจะจัดกำรแข่งขัน ระดับภูมิภำคทุกๆ 2 ปี สลับปีกับ
กำรแข่งขันชิงแชมป์ โลก นอกจำกนั้นเทควันโดยังได้รับกำรรับรองจำกสถำบันต่ำงๆดังนี้
- ค.ศ.1975 สหพันธ์เทควันโดโลกได้เข้ำเป็นสมำชิกของสมำคมสหพันธ์กีฬำสำกล
(GAISF)
- ค.ศ.1976 เป็นสมำชิกของสภำกีฬำทหำรโลก (CISM)
- ค.ศ.1979 ได้รับกำรรับรองจำกคณะกรรมกำรโอลิมปิคสำกล
- ค.ศ.1982 ได้รับกำรบรรจุเป็นกีฬำสำธิตในโอลิมปิคเกมส์ (แข่งขันที่กรุงโซล 1988)
- ค.ศ.1984 ได้รับกำรบรรจุเป็นกีฬำสำธิตในเอเชียนเกมส์ (แข่งขันที่กรุงโซล 1986)
- ค.ศ.1979 ได้รับกำรบรรจุเป็นกีฬำบังคับในโอลิมปิคเกมส์ (แข่งขันที่ซิดนีย์ 2000)
ซึ่งนับเป็นเกียรติอันยิ่งใหญ่ที่สุดสำหรับกีฬำที่เพิ่งเผยแพร่ไปทั่วโลกได้เพียง30 ปีเท่ำนั้น ใน
ปี 2004ได้มีกำรเปลี่ยนแปลงอันสำคัญได้แก่ตำแหน่งประธำนสหพันธ์เทควันโดโลก และสำนักกุกกิวอน
เนื่องมำจำก ดร. อุน ยองคิม ไม่สำมำรถดำรงตำแหน่งต่อไปได้นับเป็นกำรสิ้นสุดยุคสมัยอันยำวนำนของ
ท่ำน โดยประธำนสหพันธ์เทควันโดโลกคนปัจจุบันได้แก่ นำย ชุงวอนโชว และประธำนสำนักกุกกิวอนคน
ปัจจุบันได้แก่ ปรมำจำรย์อึมวุนเกียว สำยดำดั้ง 10(เลื่อนขึ้นมำจำกรองประธำนสำนักกุกกิวอน)
5) เทควันโดในประเทศไทย
ประเทศไทยเริ่มรู้จักเทควันโดเมื่อประมำณ พ.ศ.2508 โดยคณำจำรย์จำกสำธำรณรัฐเกำหลีใต้
จำนวน 6 ท่ำนเดินทำงมำเปิดสอนที่ วำย เอ็ม ซี เอ , รำชกรีฑำสโมสรกรุงเทพ และในฐำนทัพทหำร
สหรัฐอเมริกำ ที่ อ.ตำคลี จ.นครรำชสีมำ จ.อุดรธำนี จ.อุบลรำชธำนี และ อ.สัตหีบ แต่เมื่อกองทัพ
สหรัฐอเมริกำถอนตัวจำกประเทศไทย อำจำรย์ทั้งหมดก็ย้ำยออกไปด้วย จนกระทั่ง พ.ศ. 2516 อำจำรย์
ซอง คิ ยอง จึงเดิน ทำงมำเปิดสอนที่รำชกรีฑำสโมสร และในปี พ.ศ.2519 ได้ทำกำรเปิดสำนักขึ้นที่
โรงเรียนศิลปะป้ องกันตัวอำภัสสำ โดยกำรสนับสนุนของคุณมัลลิกำ ขัมพำนนท์ ผู้ซึ่งเห็นคุณค่ำของวิชำนี้
ที่มีต่อสุขภำพและสังคม ส่วนรวม กิจกำรได้เจริญก้ำวหน้ำมำตำมลำดับ จนได้รับกำรรับรองจำก
กระทรวงศึกษำธิกำร พ.ศ. 2521มีกำรก่อตั้งสมำคมส่งเสริมศิลปะป้ องกันตัวเทควันโด และได้เป็นสมำคม
เทควันโดแห่งประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ.2528 เข้ำเป็นมำชิกสหพันธ์เทควันโดโลก สหพันธ์เทควันโดแห่ง
เอเชีย สหพันธ์เทควันโดอำเซียนและอยู่ในสังกัดของกำรกีฬำแห่งประเทศไทย และคณะกรรมกำรโอลิมปิค
แห่งประเทศไทย

More Related Content

Viewers also liked

บาสเกตบอล
บาสเกตบอลบาสเกตบอล
บาสเกตบอลnookkiss123
 
Tara chand-walaiti-ram-india
Tara chand-walaiti-ram-indiaTara chand-walaiti-ram-india
Tara chand-walaiti-ram-indiaMr. Yogesh Gupta
 
ประวัติว่ายน้ำสากล
ประวัติว่ายน้ำสากลประวัติว่ายน้ำสากล
ประวัติว่ายน้ำสากลnookkiss123
 
Preifericos de Entrada y Salida
Preifericos de Entrada y SalidaPreifericos de Entrada y Salida
Preifericos de Entrada y Salidanormabp
 
2014 Global Windows Bootcamp - 笑cc讓網站上雲端
2014 Global Windows Bootcamp - 笑cc讓網站上雲端2014 Global Windows Bootcamp - 笑cc讓網站上雲端
2014 Global Windows Bootcamp - 笑cc讓網站上雲端Bruce Chen
 
Republika 29 Maret 2014
Republika 29 Maret 2014Republika 29 Maret 2014
Republika 29 Maret 2014hastapurnama
 
Evaluacion informatica
Evaluacion informaticaEvaluacion informatica
Evaluacion informaticaALEXISLDS
 
OLLWOLL startup
OLLWOLL startupOLLWOLL startup
OLLWOLL startupOLLWOLL
 
Agradecimento especial 2011
Agradecimento especial 2011Agradecimento especial 2011
Agradecimento especial 2011SFMESSIAS
 
PROPUESTAS DE CONDUCCIÓN DEL ESTADO, CONTROL DEL PODER Y SISTEMAS POLÍTICOS
PROPUESTAS DE CONDUCCIÓN DEL ESTADO, CONTROL DEL PODER Y SISTEMAS POLÍTICOSPROPUESTAS DE CONDUCCIÓN DEL ESTADO, CONTROL DEL PODER Y SISTEMAS POLÍTICOS
PROPUESTAS DE CONDUCCIÓN DEL ESTADO, CONTROL DEL PODER Y SISTEMAS POLÍTICOSPaul Anthony Santos Flores
 
Presentación1
Presentación1Presentación1
Presentación1marceyuli
 

Viewers also liked (18)

บาสเกตบอล
บาสเกตบอลบาสเกตบอล
บาสเกตบอล
 
Tara chand-walaiti-ram-india
Tara chand-walaiti-ram-indiaTara chand-walaiti-ram-india
Tara chand-walaiti-ram-india
 
Government and Contractors Working Together
Government and Contractors Working TogetherGovernment and Contractors Working Together
Government and Contractors Working Together
 
ข่าว It
ข่าว Itข่าว It
ข่าว It
 
ประวัติว่ายน้ำสากล
ประวัติว่ายน้ำสากลประวัติว่ายน้ำสากล
ประวัติว่ายน้ำสากล
 
Preifericos de Entrada y Salida
Preifericos de Entrada y SalidaPreifericos de Entrada y Salida
Preifericos de Entrada y Salida
 
2014 Global Windows Bootcamp - 笑cc讓網站上雲端
2014 Global Windows Bootcamp - 笑cc讓網站上雲端2014 Global Windows Bootcamp - 笑cc讓網站上雲端
2014 Global Windows Bootcamp - 笑cc讓網站上雲端
 
Republika 29 Maret 2014
Republika 29 Maret 2014Republika 29 Maret 2014
Republika 29 Maret 2014
 
Evaluacion informatica
Evaluacion informaticaEvaluacion informatica
Evaluacion informatica
 
3 28-2014
3 28-20143 28-2014
3 28-2014
 
OLLWOLL startup
OLLWOLL startupOLLWOLL startup
OLLWOLL startup
 
VCF
VCFVCF
VCF
 
Agradecimento especial 2011
Agradecimento especial 2011Agradecimento especial 2011
Agradecimento especial 2011
 
Robert Owen
Robert OwenRobert Owen
Robert Owen
 
PROPUESTAS DE CONDUCCIÓN DEL ESTADO, CONTROL DEL PODER Y SISTEMAS POLÍTICOS
PROPUESTAS DE CONDUCCIÓN DEL ESTADO, CONTROL DEL PODER Y SISTEMAS POLÍTICOSPROPUESTAS DE CONDUCCIÓN DEL ESTADO, CONTROL DEL PODER Y SISTEMAS POLÍTICOS
PROPUESTAS DE CONDUCCIÓN DEL ESTADO, CONTROL DEL PODER Y SISTEMAS POLÍTICOS
 
Presentación1
Presentación1Presentación1
Presentación1
 
El ambiente
El ambienteEl ambiente
El ambiente
 
Menu
MenuMenu
Menu
 

More from nookkiss123

ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่    2   8ใบงานที่    2   8
ใบงานที่ 2 8nookkiss123
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8nookkiss123
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8nookkiss123
 
ใบงานสำรวจตัวเอง 2
ใบงานสำรวจตัวเอง 2ใบงานสำรวจตัวเอง 2
ใบงานสำรวจตัวเอง 2nookkiss123
 
ใบงานสำรวจตัวเอง
ใบงานสำรวจตัวเองใบงานสำรวจตัวเอง
ใบงานสำรวจตัวเองnookkiss123
 
บาสเกตบอล
บาสเกตบอลบาสเกตบอล
บาสเกตบอลnookkiss123
 
ใบงานสำรวจตัวเอง
ใบงานสำรวจตัวเองใบงานสำรวจตัวเอง
ใบงานสำรวจตัวเองnookkiss123
 
ใบงานสำรวจตัวเอง
ใบงานสำรวจตัวเองใบงานสำรวจตัวเอง
ใบงานสำรวจตัวเองnookkiss123
 
นางสาวภัชธีญา น้อยปุก
นางสาวภัชธีญา น้อยปุกนางสาวภัชธีญา น้อยปุก
นางสาวภัชธีญา น้อยปุกnookkiss123
 

More from nookkiss123 (20)

K17
K17K17
K17
 
K16
K16K16
K16
 
K15
K15K15
K15
 
K14
K14K14
K14
 
K13
K13K13
K13
 
K12
K12K12
K12
 
K11
K11K11
K11
 
K10
K10K10
K10
 
K9
K9K9
K9
 
K9
K9K9
K9
 
K9
K9K9
K9
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่    2   8ใบงานที่    2   8
ใบงานที่ 2 8
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
 
ใบงานสำรวจตัวเอง 2
ใบงานสำรวจตัวเอง 2ใบงานสำรวจตัวเอง 2
ใบงานสำรวจตัวเอง 2
 
ใบงานสำรวจตัวเอง
ใบงานสำรวจตัวเองใบงานสำรวจตัวเอง
ใบงานสำรวจตัวเอง
 
บาสเกตบอล
บาสเกตบอลบาสเกตบอล
บาสเกตบอล
 
ใบงานสำรวจตัวเอง
ใบงานสำรวจตัวเองใบงานสำรวจตัวเอง
ใบงานสำรวจตัวเอง
 
ใบงานสำรวจตัวเอง
ใบงานสำรวจตัวเองใบงานสำรวจตัวเอง
ใบงานสำรวจตัวเอง
 
นางสาวภัชธีญา น้อยปุก
นางสาวภัชธีญา น้อยปุกนางสาวภัชธีญา น้อยปุก
นางสาวภัชธีญา น้อยปุก
 

ประวัติเทควันโด

  • 1. ประวัติเทควันโด ตำนำนเรื่องควำมเป็นมำของศิลปะกำรต่อสู้ทุกชนิดบนโลกนี้ ย่อมสืบเนื่องมำจำกพื้นฐำนเบื้องต้น ในเรื่องของควำมอยู่รอด ไม่ว่ำจะเป็นในแง่กำรหำอำหำร กำรต่อสู้กับสัตว์ร้ำย กำรแย่งชิงที่ทำกินควำม ต้องกำรเป็นผู้นำในกลุ่มของตน พัฒนำต่ำงๆได้มีต่อเนื่องยำวนำนจนเป็นเอกลักษณ์เฉพำะเผ่ำพันธุ์ตำมควำม ถนัดซึ่งมักจะขึ้นอยู่กับรูปร่ำง พื้นฐำนควำมเป็นอยู่ประจำวัน ภูมิประเทศ ดินฟ้ำอำกำศ จำกกำรต่อสู้ด้วยมือ เปล่ำ ก็มักจะพัฒนำมำเป็นกำรต่อสู้ด้วยอำวุธซึ่งก็จะมีรูปแบบเฉพำะตัวที่เกี่ยวพันสัมพันธ์กับกำรต่อสู้ด้วย มือเปล่ำประจำชนชำติของตน เทควันโดมีต้นกำเนิดจำกชนชำติเกำหลีมีประวัติยำวนำนนับพันปี พัฒนำ ปรับเปลี่ยนมำจำกกำรต่อสู้ยุดโบรำณหลำยรูปแบบจนใช้ชื่อว่ำ เทควันโด เป็นครั้งแรกประมำณ ปี 1950 แต่มีกำรบันทึกว่ำใช้อย่ำงเป็นทำงกำรเมื่อ ปี 1965 ในกำรก่อตั้งสมำคมเทควันโดเกำหลี หลังจำกที่เกำหลีสำมำรถเผยแพร่เทควันโดจนเป็นที่ยอมรับเป็นกีฬำไปทั่วโลกจนได้รับกำรบรรจุแข่งขันใน โอลิมปิคเกมส์ปี2000 ที่ประเทศออสเตรเลียโดยมีองค์กรที่รับผิดชอบคือสหพันธ์เทควันโดโลก เทควัน โดจึงถือได้ว่ำเป็นกีฬำสำกลอย่ำงเต็มภำคภูมิ แต่เนื้อแท้แล้วชำวเกำหลียังคงภูมิใจในควำมเป็นศิลปะกำร ต่อสู้ และพยำยำมที่คงไว้ในเรื่องรำกฐำนแห่งศิลปะแขนงนี้ให้มำกที่สุดโดยใช้กำรสอบเลื่อนสำยคำดเอว เป็นรูปแบบควบคุมมำตรฐำนโดยมีสถำบันกุกกิวอนเป็นผู้รับผิดชอบ มีกำรอบรมผู้ฝึกสอนให้อำจำรย์สำยดำ ทั่วโลก ให้นักเทควันโดได้ทรำบประวัติ ปรัชญำ แนวคิดของเทควันโดอย่ำงแท้จริง ในเรื่องของประวัติ ควำมเป็นมำของเทควันโดมีนักวิชำกำรได้เขียนไว้มำกมำยหลำยตำรำในเนื้อหำโดยรวมแล้วก็เป็นไปใน แนวทำงเดียวกัน แต่ผู้ที่ศึกษำค้นคว้ำเพิ่มเติมก็จะพบรำยละเอียดปลีกย่อยที่น่ำสนใจอีกมำกมำยแฝงอยู่ แม้แต่สถำบันกุกกิวอนเองที่เปิดอบรมผู้ฝึกสอนสำยดำทั่วโลกก็มีกำรค้นคว้ำวิจัยเพิ่มเติมหลำยครั้ง ประวัติ บำงช่วง หรือชื่อบุคคลบำงท่ำนก็ได้รับกำรเติมใส่ลงมำมำกขึ้น ประวัติควำมเป็นมำและพัฒนำกำรของเท ควันโดที่นำมำลงในที่นี้เป็นฉบับที่คุณหมอศุภกิตติ ขัมพำนนท์ได้เรียบเรียงไว้ใช้ในครำวที่อบรมผู้ฝึกสอน สำยดำของสมำคมเทควันโดแห่งประเทศไทยเมื่อ ปี2546 ที่หัวหิน และปี 2547 ที่นครนำยก ขณะนั้น
  • 2. ท่ำนเป็นประธำนฝ่ำยวิชำกำรและฝึกอบรมและตัวครูเองเป็นประธำนเทคนิค ได้มีโอกำสร่วมงำนจัดกำร อบรมกับคุณหมอ จึงเป็นประวัติเทควันโดย่อๆฉบับหนึ่งที่มีเนื้อหำครบถ้วนสมบูรณ์ใช้อ้ำงอิงได้อย่ำงดี ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของเทควันโด เทควันโดเป็นศิลปะกำรต่อสู้ประจำชำติเกำหลีอันมีประวัติควำมเป็นมำยำวนำน จนอำจกล่ำวได้ว่ำ ประวัติศำสตร์ ของเทควันโด ก็คือประวัติศำสตร์ของชนชำติเกำหลีนั่นเอง เรื่องรำวในอดีตที่เกี่ยวข้องกับ พัฒนำกำรของเทควันโด แบ่งออกได้เป็น 4 ยุคสมัย ได้แก่ ยุคบรรพกำล ยุคกลำง ยุคใหม่ และยุคปัจจุบัน 1) เทควันโดยุคบรรพกาล มนุษย์โดยธรรมชำติแล้วย่อมมีสัญชำติญำณในกำรปกป้ องตนเองและเผ่ำพันธุ์ จึงพยำยำมที่จะ พัฒนำควำมสำมำรถในกำรต่อสู้อยู่ตลอดเวลำ ในสมัยที่ยังไม่มีอำวุธก็ต้องใช้กำรต่อสู้กำรด้วยมือเปล่ำและ แม้เมื่อมนุษย์สำมำรถประดิษฐ์อำวุธขึ้นใช้แล้วก็ยังอำศัยกำรฝึกฝนกำรต่อสู้ด้วยมือเปล่ำในกำรเสริมสร้ำง ควำมแข็งแกร่งให้ร่ำงกำย นอกจำกนี้ยังนำมำเป็นกำรแสดงควำมสำมำรถโอ้อวดกันในงำนประเพณีต่ำงๆ ด้วยเช่นกำรเฉลิมฉลองหลังฤดูกำลเก็บเกี่ยว หรือในที่ชุมนุมชนในโอกำสสำคัญอื่นๆเป็นต้น ชนชำติเกำหลี สืบเชื้อสำยมำจำกชำวเผ่ำมองโกล ซึ่งอพยพย้ำยถิ่นจำกใจกลำงทวีปเอเชียมำยังคำมสมุทรเกำหลีนำน กว่ำ 2000 ปี มำแล้วเอกลักษณ์อย่ำงหนึ่งของชำวมองโกลคือ ควำมชำนำญและผูกพันกับกำรขี่ม้ำ ใช้ชีวิต บนหลังม้ำ รวมถึงกำรต่อสู้บนหลังม้ำ เนื่องจำกต้องเลี้ยงสัตว์และเดินทำงไปในทุ่งหญ้ำและพื้นที่อัน ทุรกันดำรเป็นระยะทำงไกลๆทำงตอนเหนืออยู่เสมอ ส่วนประชำชนในพื้นที่ทำงตอนใต้อันอุดมสมบูรณ์ มำกกว่ำได้ยึดอำชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก และทิ้งชีวิตบนหลังม้ำไป สิ่งนี้เป็นปัจจัยให้พัฒนำกำรของวิธีกำร ต่อสู้ของนักรบทำงภำคเหนือและภำคใต้แตกต่ำงกัน ซึ่งจะได้กล่ำวต่อไป ภูมิศำสตร์ของคำบสมุทรเกำหลี นั้นมีควำมสำคัญยิ่งทำงยุทธศำสตร์เพรำะเป็นสะพำนเชื่อมและอยู่กึ่งกลำงระหว่ำงแผ่นดินจีนทำงตะวันตก มองโกลทำงทิศเหนือ รัสเซียทำงทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และหมู่เกำะญี่ปุ่นทำงทิศใต้ซึ่งต่ำงก็พยำยำมแผ่ อำนำจและผลัดกันยึดครองดินแดนผืนนี้อยู่เสมอ ประวัติศำสตร์ของเกำหลีจึงเต็มไปด้วยกำรรบพุ่ง ต่อสู้ แย่ง ชิง และปกป้ องบ้ำนเมืองของตนมำตลอด ในยุคแรกเริ่มของอำรยธรรมเกำหลี (ประมำณ 50 ปีก่อน คริสตกำล) ปรำกฏว่ำมีกำรแบ่งแยกดินแดนออกเป็น 3 อำณำจักร ได้แก่ โคกุลเยอ ทำงทิศเหนือ เบคเจทำง ทิศใต้และซิลลำทำงทิศตะวันออกเฉียงใต้อำณำจักรทั้งสำมต่ำงก็พยำยำมชิงควำมเป็นใหญ่แต่ผู้เดียว จึงยำ ยำมเสริมสร้ำงกำลังกองทัพและฝึกฝนทหำรของตนให้มีควำมเข้มแข็งอยู่เสมอ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง โคกุลเยอ และซิลลำได้สร้ำงกองทัพนักรบหนุ่มขึ้นเรียกว่ำ “ชูอิโซนิน” และ “ฮวำรังโด” ตำมลำดับซึ่งมีกำรฝึกฝน กำรต่อสู้ด้วยมือ และเท้ำ รวมถึงกำรต่อสู้ด้วยอำวุธนำนำชนิด กล่ำวถึงอำณำจักรโคกุลเยอทำงเหนือ ที่มีเขต แดนติดต่อกับจีนจึงต้องพัฒนำกำลังทหำรไว้ป้ องกันประเทศ นักรบในกองกำลัง“ชูอิโซนิน” นี้ เรียกว่ำ “ซอนเบ” ในประวัติศำสตร์กล่ำวว่ำพวกซอนเบนี้จะอยู่รวมกันเป็นหมู่เหล่ำ มีกำรศึกษำ ประวัติศำสตร์ศิลปะต่ำงๆ นอกเหนือจำกวิชำกำรต่อสู้และยังใช้เวลำในยำมสงบช่วยพัฒนำบ้ำนเมืองด้วยกำร
  • 3. สร้ำงถนนป้ อมปรำกำรต่ำงๆ วิชำกำรต่อสู้ของพวกซอนเบนี้เรียกว่ำ “เทคเคียน” ซึ่งมีลักษณะเด่นที่กำรใช้ เท้ำเตะ เนื่องจำกกำรขี่ม้ำจะต้องใช้มือควบคุมสำยบังคับม้ำ ถืออำวุธ และธนูจึงเน้นกำรใช้เท้ำที่ว่ำงอยู่ในกำร ต่อสู้และช่วยในกำรทรงตัวหลักฐำนภำพวำดตำมฝำผนังในสุสำนโบรำณหลำยแห่งแสดงให้เห็นถึงกำรต่อสู้ และทักษะต่ำงๆ ของเทคเคียน ซึ่งนอกจำกจะใช้ในกำรรบแล้วยังเป็นกำรบริหำรร่ำงกำย และเป็นเกมกีฬำที่ นิยมประลองกันในโอกำสต่ำงๆกันด้วย ส่วนอำณำจักรซิลลำทำงตอนใต้ก็ถูกรุกรำนจำกอำณำจักรโคกุลเยอ ทำงตอนเหนือ และอำณำจักรเบคเจทำงตะวันตก จึงต้องเสริมสร้ำงกองทัพที่เข้มแข็งไว้เช่นกัน โดยเรียกว่ำ นักรบหนุ่มของตนว่ำ “ฮวำรัง”ซึ่งมีกฎระเบียบกำรปกครองและกำรฝึกฝนคล้ำยคลึงกับซอนเบมำก กำร คัดเลือกชำยหนุ่มเข้ำเป็นฮวำรังจะต้องมีกำรทดสอบฝีมือกำรต่อสู้ซึ่งได้แก่กำรฟันดำบ มวยปล้ำ ขี่ม้ำ และ กำรต่อสู้ด้วยมือเปล่ำที่เรียกว่ำ“ซูบัก” ซึ่งเน้นกำรใช้ทักษะของมือเป็นหลัก เนื่องจำกชำวซิลลำมีควำม ผูกพันกับพุทธศำสนำเป็นอย่ำงมำกวัดโบรำณในเมืองเกียงจูจึงมีรูปปั้นทวำรบำลเป็นยักษ์ (กึมกัง ย็อกซ่ำ) แสดงท่ำต่อลักษณะท่ำมือที่คล้ำยคลึงกับเทควันโดในปัจจุบันมำก แม้จะมีรำกฐำนควำมเป็นมำแตกต่ำงกัน แต่ทั้ง เทคเคียน และซูบักก็เริ่มผสมผสำนกลมกลืนกัน โดยเทคเคียนได้เผยแพร่จำกอำณำจักรโคกุลเยอเข้ำ มำในอำณำจักรซิลลำเมื่อรำวคริสต์ศตวรรษที่4 และได้รับควำมนิยมแพร่หลำยไปสู่สำมัญชนทั่วไป อำณำจักรซิลลำเริ่มมีควำมเข้มแข็งกว่ำอำณำจักรอื่นๆ โดยมีขุนพลฮวำรังที่มีชื่อเสียงอำทเช่นิคิมยู ซิน และคิมชุนช ููเป็นกำลังสำคัญในกำรรบเพื่อรวมอำณำจักรในคำบสมุทรเกำหลีเป็นหนึ่งเดียวได้สำเร็จ ในปี ค.ศ.676 (พ.ศ.1219)และคงควำมเป็นปึกแผ่นไว้ได้นำนเกือบ 300 ปี 2) เทควันโดยุคกลาง ในสมัยรำชวงศ์คอร์โย ซึ่งปกครองเกำหลีต่อจำกอำณำจักรซิลลำ ในระหว่ำง ค.ศ.918-1392 มี กำรพัฒนำรูปแบบกำรฝึกเทคเคียนและซูบักอย่ำงเป็นระบบ และใช้ในกำรทดสอบเพื่อคัดเลือกทหำรเข้ำ ประจำกำรด้วยมีบันทึกทำงประวัติศำสตร์ที่แสดงว่ำวิชำกำรต่อสู้ด้วยมือ และเท้ำเปล่ำนี้ได้พัฒนำถึงขั้นเป็น อำวุธฆ่ำคนในสงครำมได้จริง ทักษะควำมสำมำรถในกำรต่อสู้ได้กลำยเป็นสิ่งสำคัญในกำรเลื่อนยศและ ตำแหน่งของทหำร(จึงเป็นที่มำของกำรจัดระดับสำยในเทควันโด คล้ำยกับชั้นยศทหำรในกองทัพ:ผู้เรียบ เรียง) มีกำรบันทึกถึงระบบกติกำกำรต่อสู้คล้ำยกับกีฬำในปัจจุบัน ในกำรทดสอบพละกำลัง ลียี่หมิน ใช้ กำปั้นข้ำงขวำชกที่เสำและสำมำรถทำให้หลังคำสะเทือนจนกระเบื้องมุงหลังคำหล่นลงมำแตกกระจำย เขำ สำมำรถชกทะลุกำแพงที่ก่อด้วยดินเหนียว และในกำรประลองเขำชกเข้ำที่กระดูกสันหลังของคู่ต่อสู้ซึ่งทำ ให้ถึงกับเสียชีวิต จึงถือได้ว่ำผู้ฝึกวิชำต่อสู้ด้วยมือเปล่ำสำมำรถทำกำรต่อสู้เทียบเท่ำกับกำรใช้อำวุธสังหำร ทีเดียว กษัตริย์ในรำชวงศ์นี้ทรงโปรดกำรประลองต่อสู้เพื่อคัดเลือกทหำรเป็นอย่ำงยิ่ง มีกำรจัดประลองตำม หัวเมืองต่ำงๆที่เสด็จไปประพำสให้ทอดพระเนตรอยู่เป็นประจำ อย่ำงไรก็ตำมในช่วงท้ำยของรำชวงศ์ได้มี กำรนำอำวุธปืนเข้ำมำใช้ในกองทัพ ทำให้บทบำทของกำรประลองต่อสู้ด้วยมือเปล่ำลดควำมสำคัญลงไป มำก
  • 4. 3) เทควันโดยุคใหม่ ในยุคนี้รำชวงศ์โชซันปกครองประเทศเกำหลีในปี ค.ศ.1392-1910 จำกนั้นเกำหลีตกอยู่ใต้กำร ปกครองของญี่ปุ่นจนถึงปี ค.ศ.1945 รำชวงศ์โชซันปกครองประเทศด้วยลัทธิขงจื๊อ จึงปฏิเสธพิธีกรรม ทำงศำสนำพุทธ และให้ควำมสำคัญของศิลปะกำรต่อสู้น้อยกว่ำงำนด้ำนวรรณกรรม กำรประลองฝีมือเพื่อ คัดเลือกทหำรเข้ำประจำกำรก็ยังคงมีอยู่แต่ได้รับควำมสนพระทัยจำกกษัตริย์น้อยลงบ้ำนเมืองจึงเริ่มอ่อนแอ ลง จนเมื่อเกำหลีถูกรุกรำนจำกญี่ปุ่นในปี ค.ศ.1592 พระเจ้ำเจียงโจ จึงได้รื้อฟื้นศิลปะกำรต่อสู้ขึ้นมำ ขนำนใหญ่มีกำรจัดทำตำรำมำตรฐำนวิชำกำรต่อสู้เรียกว่ำ “มูเยโดโบ ทองจิ” ซึ่งในเล่มที่ 4 มี ภำพประกอบและได้กล่ำวอธิบำยถึงกำรเคลื่อนไหวต่อเนื่องซึ่งมีลักษณะคล้ำยกับท่ำรำพูมเซในปัจจุบัน มี กำรสอนวิชำกำรต่อสู้ให้กับเด็กคล้ำยกับเป็นกีฬำหรือกำรละเล่นชนิดหนึ่ง เมื่อญี่ปุ่นเข้ำยึดครองประเทศ เกำหลี กำรฝึกวิชำกำรต่อสู้เริ่มเป็นสิ่งต้องห้ำม จึงต้องมีกำรแอบฝึกและมีกำรถ่ำยทอดกันมำอย่ำงลับๆเฉพำะ ในหมู่ลูกหลำนเท่ำนั้นจนเมื่อญี่ปุ่นแพ้สงครำมโลกครั้งที่ 2 ในปี ค.ศ.1945 ประเทศเกำหลีจึงได้รับ อิสรภำพอีกครั้ง แต่จำกกำรที่ทำงกำรญี่ปุ่นได้คุมขังและทรมำนนักเทควันโดเป็นจำนวนมำก ทำให้ผู้สืบ ทอดวิชำกำรต่อสู้เหลือน้อยจนเป็นที่หวั่นเกรงกันว่ำจะสำบสูญไป ทั้งญี่ปุ่นได้พยำยำมกลืนวัฒนธรรมเกำหลี ด้วยกำรบังคับให้ชำวเกำหลีฝึกคำรำเต้และยูโดแทน 4) เทควันโดยุคปัจจุบัน ภำยหลังจำกที่ได้รับอิสรภำพจำกญี่ปุ่น ได้มีควำมพยำยำมที่จะฟื้นฟูศิลปะกำรต่อสู้ของเกำหลีขึ้นมำ ใหม่ปรมำจำรย์ซองดุคคิ ได้แสดงวิชำเทคเคียน ให้ประธำนำธิบดี ลีซึงมำน ชมในงำนฉลองวันเกิด ซึ่ง แสดงให้เห็นอย่ำงเด่นชัดว่ำมีเอกลักษณ์ที่แตกต่ำงจำกคำรำเต้ในระหว่ำงช่วงเวลำดังกล่ำวได้มีกำรก่อตั้ง สำนัก(โดจัง) ขึ้นหลำยแห่งแต่ก็อยู่ได้อย่ำงไม่มั่นคงนักจนเมื่อเกิดสงครำมเกำหลี และเกำหลีถูกแบ่งแยก เป็นสองประเทศ ได้แก่สำธำรณรัฐประชำธิปไตยประชำชนเกำหลี(เกำหลีเหนือ)ซึ่งปกครองโดยระบอบ คอมมิวนิสต์แบบรัสเซีย และประเทศสำธำรณรัฐเกำหลี (เกำหลีใต้) ซึ่งปกครองโดยระบอบประชำธิปไตย แบบสหรัฐอเมริกำ สภำพเศรษฐกิจในเกำหลีใต้เริ่มฟื้นตัวบรรดำนักประวัติศำสตร์และปรมำจำรย์เจ้ำสำนัก ต่ำงๆ โดยกำรนำของนำยพลเชฮองฮี ได้ร่วมกันก่อตั้งสมำคมเทควันโดแห่งสำธำรณรัฐเกำหลีได้สำเร็จในปี ค.ศ.1954ในช่วงสั้นๆ จำกปี ค.ศ.1961-1965 สมำคมได้เปลี่ยนไปใช้ชื่อสมำคมเทซูโด (มำจำก เท คเคียน+ซูบัก)แต่ก็ได้เปลี่ยนกลับมำเป็นเทควันโดเช่นเดิมอีก และกีฬำเทควันโดเริ่มเป็นที่นิยมแพร่หลำยอีก ครั้งมีกำรจัดกำรแข่งขันทั้งในระดับประถมศึกษำ,มัธยมศึกษำ และระดับมหำวิทยำลัย รวมทั้งได้บรรจุใน กำรฝึกทหำรของกองทัพ ในสงครำมเวียดนำมทหำรเกำหลีได้แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภำพของเทควันโดใน กำรต่อสู้ระยะประชิดตัว จึงได้รับควำมสนใจจำกนำนำประเทศ รวมทั้งสหรัฐอเมริกำ คุณค่ำของเทควันโด ได้จึงเป็นที่ประจักษ์ในฐำนะที่สร้ำงชื่อเสียงให้แก่ประเทศเกำหลี วิชำเทควันโดจึงได้รับกำรยกย่องให้เป็น กีฬำประจำชำติ (คุคคิ เทควันโด) ในปี 1971 (พ.ศ.2514) ซึ่งจุดเด่นของเทควันโดนอกจำกจะเป็นกำร ฝึกฝนพละ-กำลัง ทั้งร่ำงกำยและจิตใจแล้วยังเป็นกำรเสริมสร้ำงและพัฒนำบุคลิกภำพให้แก่เยำวชนอีกด้วย
  • 5. ในปี ค.ศ.1972 รัฐบำลเกำหลีได้สถำปนำสำนัก “กุกกิวอน” ขึ้นเพื่อเป็นศูนย์กลำงในกำรสอบขึ้น ทะเบียนสำยดำและ เผยแพร่เทควันโดไปทั่วโลก โดยมีดร.อุนยองคิมผู้แทนรัฐบำลเป็นประธำน มีกำร จัดกำรแข่งขันในระดับต่ำงๆ มำกถึง350 ครั้ง ในปีนั้นรวมทั้งกำรแข่งขันเทควันโดชิงแชมป์ โลกด้วย นอกจำกนั้นเพื่อเป็นกำรพัฒนำของบุคลำกรผู้ฝึกสอนเทควันโด จึงได้มีกำรจัดตั้งวิทยำลัยเทควันโดโลก ขึ้นมำเป็นมำตรฐำนเดียวกันทั่วโลกเทควันโดได้รับควำมนิยมเผยแพร่ออกไปอย่ำงรวดเร็วทั่วโลกทั้งในหมู่ ทหำร ตำรวจ และนักเรียนนักศึกษำในปี ค.ศ.1977 มีจำนวนสำยดำในประเทศเกำหลี ถึง 3,620,000 คน และอีก 160,000 คนทั่วโลกทีมนักแสดงเทควันโดสำธิตทีมชำติเกำหลี ได้มี ส่วนสำคัญในกำรเผยแพร่กีฬำเทควันโดและเกียรติภูมิของประเทศเกำหลีให้เป็นที่รู้จักทั่วไป จนเมื่อ วันที่ 28 พ.ค.1973 มีกำรประชุมผู้แทนสมำคมเทควันโดจำกประเทศต่ำงๆทั่วโลกจำนวน 50 ประเทศ และมีมติให้ก่อตั้งสหพันธ์เทควันโดโลกขึ้น โดยมี ดร.อุนยองคิม เป็นประธำนสหพันธ์อีกเช่นเดียวกัน ปัจจุบันมีประเทศสมำชิกถึง 157 ประเทศ (ข้อมูล พ.ศ.2547) (พ.ศ.2551 มี 184 ประเทศ)และยัง เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ สหพันธ์มีหน้ำที่ดูแลกำรแข่งขันเทควันโดชิงแชมป์ โลก ซึ่งจัดเป็นประจำทุกๆ 2 ปี และยังมี กำรจัดตั้งสหพันธ์เทควันโดแห่งเอเชีย และทุกทวีปซึ่งจะจัดกำรแข่งขัน ระดับภูมิภำคทุกๆ 2 ปี สลับปีกับ กำรแข่งขันชิงแชมป์ โลก นอกจำกนั้นเทควันโดยังได้รับกำรรับรองจำกสถำบันต่ำงๆดังนี้ - ค.ศ.1975 สหพันธ์เทควันโดโลกได้เข้ำเป็นสมำชิกของสมำคมสหพันธ์กีฬำสำกล (GAISF) - ค.ศ.1976 เป็นสมำชิกของสภำกีฬำทหำรโลก (CISM) - ค.ศ.1979 ได้รับกำรรับรองจำกคณะกรรมกำรโอลิมปิคสำกล - ค.ศ.1982 ได้รับกำรบรรจุเป็นกีฬำสำธิตในโอลิมปิคเกมส์ (แข่งขันที่กรุงโซล 1988) - ค.ศ.1984 ได้รับกำรบรรจุเป็นกีฬำสำธิตในเอเชียนเกมส์ (แข่งขันที่กรุงโซล 1986) - ค.ศ.1979 ได้รับกำรบรรจุเป็นกีฬำบังคับในโอลิมปิคเกมส์ (แข่งขันที่ซิดนีย์ 2000) ซึ่งนับเป็นเกียรติอันยิ่งใหญ่ที่สุดสำหรับกีฬำที่เพิ่งเผยแพร่ไปทั่วโลกได้เพียง30 ปีเท่ำนั้น ใน ปี 2004ได้มีกำรเปลี่ยนแปลงอันสำคัญได้แก่ตำแหน่งประธำนสหพันธ์เทควันโดโลก และสำนักกุกกิวอน เนื่องมำจำก ดร. อุน ยองคิม ไม่สำมำรถดำรงตำแหน่งต่อไปได้นับเป็นกำรสิ้นสุดยุคสมัยอันยำวนำนของ ท่ำน โดยประธำนสหพันธ์เทควันโดโลกคนปัจจุบันได้แก่ นำย ชุงวอนโชว และประธำนสำนักกุกกิวอนคน ปัจจุบันได้แก่ ปรมำจำรย์อึมวุนเกียว สำยดำดั้ง 10(เลื่อนขึ้นมำจำกรองประธำนสำนักกุกกิวอน) 5) เทควันโดในประเทศไทย
  • 6. ประเทศไทยเริ่มรู้จักเทควันโดเมื่อประมำณ พ.ศ.2508 โดยคณำจำรย์จำกสำธำรณรัฐเกำหลีใต้ จำนวน 6 ท่ำนเดินทำงมำเปิดสอนที่ วำย เอ็ม ซี เอ , รำชกรีฑำสโมสรกรุงเทพ และในฐำนทัพทหำร สหรัฐอเมริกำ ที่ อ.ตำคลี จ.นครรำชสีมำ จ.อุดรธำนี จ.อุบลรำชธำนี และ อ.สัตหีบ แต่เมื่อกองทัพ สหรัฐอเมริกำถอนตัวจำกประเทศไทย อำจำรย์ทั้งหมดก็ย้ำยออกไปด้วย จนกระทั่ง พ.ศ. 2516 อำจำรย์ ซอง คิ ยอง จึงเดิน ทำงมำเปิดสอนที่รำชกรีฑำสโมสร และในปี พ.ศ.2519 ได้ทำกำรเปิดสำนักขึ้นที่ โรงเรียนศิลปะป้ องกันตัวอำภัสสำ โดยกำรสนับสนุนของคุณมัลลิกำ ขัมพำนนท์ ผู้ซึ่งเห็นคุณค่ำของวิชำนี้ ที่มีต่อสุขภำพและสังคม ส่วนรวม กิจกำรได้เจริญก้ำวหน้ำมำตำมลำดับ จนได้รับกำรรับรองจำก กระทรวงศึกษำธิกำร พ.ศ. 2521มีกำรก่อตั้งสมำคมส่งเสริมศิลปะป้ องกันตัวเทควันโด และได้เป็นสมำคม เทควันโดแห่งประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ.2528 เข้ำเป็นมำชิกสหพันธ์เทควันโดโลก สหพันธ์เทควันโดแห่ง เอเชีย สหพันธ์เทควันโดอำเซียนและอยู่ในสังกัดของกำรกีฬำแห่งประเทศไทย และคณะกรรมกำรโอลิมปิค แห่งประเทศไทย