SlideShare a Scribd company logo
ภาวะโลกร้อน
  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศ
เปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเรา
ในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ
สาเหตุหลักของปัญหานี้ มาจาก ก๊าซเรือนกระจก ค่ะ
(Greenhouse gases)
 ปรากฏการณ์เรือนกระจก มีความสำาคัญกับโลก เพราะก๊าซ
จำาพวก คาร์บอนไดออกไซด์ หรือ มีเทน จะกักเก็บความร้อน
บางส่วนไว้ในในโลก ไม่ให้สะท้อนกลับสู่บรรยากาศทั้งหมด มิ
ฉะนั้น โลกจะกลายเป็นแบบดวงจันทร์ ที่ตอนกลางคืนหนาวจัด
(และ ตอนกลางวันร้อนจัด เพราะไม่มีบรรยากาศ กรองพลังงาน
จาก ดวงอาทิตย์) ซึ่งการทำาให้โลกอุ่นขึ้นเช่นนี้ คล้ายกับหลัก
การของ เรือนกระจก (ที่ใช้ปลูกพืช) จึงเรียกว่า ปรากฏการณ์
เรือนกระจก (Greenhouse Effect) ค่ะ
 แต่การเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของ CO2 ที่ออกมาจาก โรงงาน
อุตสาหกรรม รถยนต์ หรือการกระทำาใดๆที่เผา เชื้อเพลิง
ฟอสซิล (เช่น ถ่านหิน นำ้ามัน ก๊าซธรรมชาติ หรือ สารประกอบ
 ซึ่ง คาร์บอนไดออกไซด์ ที่มากขึ้นนี้ ได้เพิ่มการกักเก็บ
ความร้อนไว้ในโลกของเรามากขึ้นเรื่อยๆ จนเกิดเป็น
ภาวะโลกร้อน ดังเช่นปัจจุบัน
 ภาวะโลกร้อนภายในช่วง 10 ปีนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 มา
นี้ ได้มีการบันทึกถึงปีที่มีอากาศร้อนที่สุดถึง 3 ปีคือ ปี
พ.ศ. 2533, พ.ศ.2538 และปี พ.ศ. 2540 แม้ว่าพยากรณ์
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ยังมีความไม่แน่นอน
หลายประการ แต่การถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์ได้เปลี่ยน
หัวข้อจากคำาถามที่ว่า "โลกกำาลังร้อนขึ้นจริงหรือ" เป็น "
ผลกระทบจากการที่โลกร้อนขึ้นจะส่งผลร้ายแรง และต่อ
เนื่องต่อสิ่งที่มีชีวิตในโลกอย่างไร" ดังนั้น ยิ่งเราประวิง
เวลาลงมือกระทำาการแก้ไขออกไปเพียงใด ผลกระทบที่
เกิดขึ้นก็จะยิ่งร้ายแรงมากขึ้นเท่านั้น และบุคคลที่จะได้
รับผลกระทบมากที่สุดก็คือ ลูกหลานของพวกเราเอง
 สาเหตุุ
 ภาวะโลกร้อนเป็นภัยพิบัติที่มาถึง โดยที่เราทุกคนต่าง
ทราบถึงสาเหตุของการเกิดเป็นอย่างดี นั่นคือ การที่
มนุษย์เผาผลาญเชื้อเพลิงฟอซซิล เช่น ถ่านหิน นำ้ามัน
และก๊าซธรรมชาติ เพื่อผลิตพลังงาน เราต่างทราบดีถึง
ผลกระทบบางอย่างของภาวะโลกร้อน เช่น การละลาย
ของนำ้าแข็งในขั้วโลก ระดับนำ้าทะเลที่สูงขึ้น ความแห้ง
แล้งอย่างรุนแรง การแพร่ระบาดของโรคร้ายต่างๆ
อุทกภัย ปะการังเปลี่ยนสีและการเกิดพายุรุนแรงฉับพลัน
โดยผู้ที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด ได้แก่ ประเทศตามแนว
ชายฝั่ง ประเทศที่เป็นเกาะ และภูมิภาคที่กำาลังพัฒนา
อย่างเอเชียอาคเนย์
 จากการทำางานของคณะกรรมการของรัฐบาลนานาชาติ
ว่าด้วยเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีองค์การ
วิทยาศาสตร์ ได้ร่วมมือกับองค์การสหประชาชาติ เฝ้า
สังเกตผลกระทบต่างๆ และได้พบหลักฐานใหม่ที่แน่ชัดว่า
 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศไม่ได้เปลี่ยนแปลงไปที
ละเล็กทีละน้อย แต่เป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงซึ่ง
เกิดขึ้นบ่อยครั้ง และมีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ
ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดได้แก่ ความแห้งแล้งอย่างรุนแรง
วาตภัย อุทกภัย พายุฝนฟ้าคะนอง พายุทอร์นาโด แผ่น
ดินถล่ม และการเกิดพายุรุนแรงฉับพลัน จากภาวะ
อันตรายเหล่านี้พบว่า ผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่ที่เสี่ยงกับ
การเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว ซึ่งได้รับผลกระทบมากกว่า
พื้นที่ส่วนอื่นๆ ยังไม่ได้รับการเอาใจใส่และช่วยเหลือเท่า
ที่ควร นอกจากนี้ ยังมีการคาดการณ์ว่า การที่อุณหภูมิ
ของโลกสูงขึ้น เป็นเหตุให้ปริมาณผลผลิตเพื่อการบริโภค
โดยรวมลดลง ซึ่งทำาให้จำานวนผู้อดอยากหิวโหยเพิ่มขึ้น
อีก 60-350 ล้านคน
 ในประเทศไทยและฟิลิปปินส์ มีโครงการพลังงานต่างๆ ที่
จัดตั้งขึ้น และการดำาเนินงานของโครงการเหล่านี้ ได้ส่ง
ผลกระทบต่อระบบนิเวศน์วิทยาอย่างเห็นได้ชัด ตัวอย่าง
เช่น การเปลี่ยนแปลงของฝนที่ไม่ตกตามฤดูกาล และ
ปริมาณนำ้าฝนที่ตกในแต่ละช่วงได้เปลี่ยนแปลงไป การ
บุกรุกและทำาลายป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ การสูงขึ้นของ
ระดับนำ้าทะเลและอุณหภูมิของนำ้าทะเล ซึ่งส่งผลกระทบ
อย่างมากต่อระบบนิเวศน์วิทยาตามแนวชายฝั่ง และจาก
การที่อุณหภูมิของนำ้าทะเลสูงขึ้นนี้ ได้ส่งผลกระทบต่อ
การเปลี่ยนสีของนำ้าทะเล ดังนั้น แนวปะการังต่างๆ จึงได้
รับผลกระทบและถูกทำาลายเช่นกัน
 ประเทศไทยเป็นตัวอย่างของประเทศที่มีชายฝั่งทะเล ที่มี
ความยาวประมาณ 2,490 กิโลเมตร และเป็นแหล่งที่มี
ความสำาคัญอย่างมากต่อเศรษฐกิจของประเทศ โดย
เฉพาะอย่างยิ่ง การประมง การเพาะเลี้ยงสัตว์นำ้า และ
ความไม่แน่นอนของฤดูการที่ส่งผลกระทบต่อการทำา
เกษตรกรรม มีการคาดการณ์ว่า หากระดับนำ้าทะเลสูง
ขึ้นอีกอย่างน้อย 1 เมตรภายในทศวรรษหน้า หาดทราย
และพื้นที่ชายฝั่งในประเทศไทยจะลดน้อยลง สถานที่
ตากอากาศชายทะเล รวมถึงอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
ในสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ เช่น พัทยา และ ระยองจะได้
รับผลกระทบโดยตรง แม้แต่กรุงเทพมหานคร ก็ไม่
สามารถหลีกเลี่ยงจากผลกระทบของระดับนำ้าทะเลที่สูง
ขึ้นนี้เช่นกัน
 ปัญหาด้านสุขภาพ ก็เป็นเรื่องสำาคัญอีกเรื่องหนึ่งที่ได้รับ
ผลกระทบอย่างรุนแรง จากสภาพภูมิอากาศที่
เปลี่ยนแปลงนี้ด้วย เนื่องจากอุณหภูมิและความชื้นที่สูง
ขึ้น ส่งผลให้มีการเพิ่มขึ้นของยุ่งมากขึ้น ซึ่งนำามาสู่การ
แพร่ระบาดของไข้มาเลเรียและไข้ส่า นอกจากนี้โรคที่
เกี่ยวข้องกับนำ้า เช่น อหิวาห์ตกโรค ซึ่งจัดว่าเป็นโรคที่
แพร่ระบาดได้อย่างรวดเร็วโรคหนึ่งในภูมิภาคนี้ คาดว่า
จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง จากอุณหภูมิและ
ความชื้นที่สูงขึ้น คนยากจนเป็นกลุ่มคนที่มีความเสี่ยงสูง
ต่อผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงนี้ ประกอบกับการให้
ความรู้ในด้านการดูแลรักษาสุขภาพที่ดี ยังมีไม่เพียงพอ
 ปัจจุบันนี้สัญญาณเบื้องต้นของสภาพภูมิอากาศที่
เปลี่ยนแปลงไป ได้ปรากฏขึ้นอย่างแจ้งชัด ดังนั้น
สมควรหรือไม่ที่จะรอจนกว่าจะค้นพบข้อมูลมากขึ้น หรือ
มีความรู้ในการแก้ไขมากขึ้น ซึ่ง ณ เวลานั้นก็อาจสาย
กลไกของสภาวะโลกร้อน
 ในสภาวะปกติ โลกเราจะได้รับพลังงานประมาณ
99.95 % จากดวงอาทิตย์ ในรูปแบบของ
การแผ่รังสี พลังงานที่เหลือมาจากความร้อนใต้ภิ
ภพซึ่งหลงเหลือจากการก่อตัวของโลกจากฝุ่นธุลี
ในอวกาศ และการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีที่มี
อยู่ในโลก
 ตั้งแต่ดึกดำาบรรพ์มาโลกเราสามารถรักษาสมดุลย์
ของพลังงานที่ได้รับอย่างดีเยี่ยม โดยมีการสะท้อน
ความร้อนและการแผ่รังสีจากโลกจนพลังงานสุทธิ
ที่ได้รับในแต่ละวันเท่ากับศูนย์ ทำาให้โลกมีสภาพ
อากาศเหมาะสมต่อสิ่งมีชีวิตหลากหลาย
 กลไกหนึ่งที่ทำาให้โลกเรารักษาพลังงานความร้อน
ไว้ได้ คือ "ปรากฏการณ์เรือนกระจก"
(greenhouse effect) โดยโลกจะมีชั้นบาง ๆ ของ
แก๊สกลุ่มหนึ่งเรียกว่า "แก๊สเรือนกระจก"
(greenhouse gas) ที่ทำาหน้าที่ดักและสะท้อน
ความร้อนที่โลกแผ่กลับออกไปในอวกาศให้กลับ
เข้าไปในโลกอีก หากไม่มีแก๊สกลุ่มนี้ โลกจะไม่
สามารถเก็บพลังงานไว้ได้ และจะมีอุณหภูมิ
แปรปรวนในแต่ละวัน แก๊สกลุ่มนี้จึงทำาหน้าที่
เสมือนผ้าห่มบาง ๆ ที่คลุมโลกที่หนาวเย็น
 การณ์กลับกลายเป็นว่าในช่วงระยะเวลาหลายสิบปี
ที่ผ่านมา โลกเราได้มีการสะสมแก๊สเรือนกระจกใน
ชั้นบรรยากาศมากขึ้น เนื่องจากการเผาไหม้เชื้อ
เพลิงต่าง ๆ ที่ใช้ในกิจกรรมประจำาวัน โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งการเผาไหม้นำ้ามันเชื้อเพลิงที่ขุดขึ้นมาจาก
ใต้ดิน การเพิ่มขึ้นของแก๊สเรือนกระจกทำาให้โลก
ไม่สามารถแผ่ความร้อนออกไปได้อย่างที่เคย ส่ง
ผลให้อุณหภูมิของโลกเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง
เสมือนกับโลกเรามีผ้าห่มที่หนาขึ้นนั่นเอง
 ปรากฏการณ์เรือน
กระจก
 "ปรากฏการณ์เรือนกระจก" (greenhouse effect)
คือ ปรากฏการณ์ที่โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้นเนื่องจาก
พลังงานแสงอาทิตย์ ์์ในช่วงความยาวคลื่นอินฟ
ราเรทที่สะท้อนกลับถูกดูดกลืนโดยโมเลกุลของ ไอ
นำ้า คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) มีเทน (CH4)
และ CFCsไนตรัสออกไซด์ (N2O)ในบรรยากาศ
ทำาให้โมเลกุลเหล่านี้มีพลังงานสูงขึ้นมีการถ่ายเท
พลังงานซึ่งกันและกันทำาให้อุณหภูมิในชั้น
บรรยากาศสูงขึ้นการถ่ายเทพลังงานและ
ความยาวคลื่นของโมเลกุลเหล่านี้ต่อๆกันไป ใน
บรรยากาศทำาให้โมเลกุลเกิดการสั่นการ
เคลื่อนไหว ตลอดเวลาและมาชนถูกผิวหนังของ
เรือนกระจก
 ในประเทศในเขตหนาวมีการเพาะปลูกพืชโดยอาศัยการ
ควบคุมอุณหภูมิความร้อนโดยใช้หลักการที่พลังงาน
 ความร้อนจากแสงอาทิตย์ส่องผ่านกระจก แต่ความร้อน
ที่อยู่ภายในเรือนกระจกไม่สามารถสะท้อนกลับออกมา
 ทำาให้อุณหภุมิภายในสูงขึ้นเหมาะแก่การเพาะปลูกของ
พืช จึงมีการเปรียบเทียบปรากฏการณ์ที่อุณหภูมิของ
โลกสูงขึ้นนี้ว่าภาวะ เรือนกระจก(greenhouse effect)
 ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็นก๊าซที่สะสม
พลังงานความร้อนในบรรยากาศโลกไว้มากที่สุดและมี
ผลทำาให้ อุณหภูมิของโลกสูงขึ้นมากที่สุดในบรรดาก๊าซ
เรือนกระจกชนิดอื่นๆ CO2ส่วนมากเกิดจากการกระทำา
ของมนุษย์เช่น
 - การเผาไหม้เชื้อเพลิง
 - การผลิตซีเมนต์
 - การเผาไม้ทำาลายป่า
ก๊าซที่ก่อให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เกิดจากการเผาไหม้
ต่าง ๆ
  มีเทน ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากการสลายตัวของ
อินทรีย์วัตถุ เช่น ขยะมูลฝอยย่อยสลายได้ ของ
เสีย อุจจาระ CFC เป็นสารประกอบสำาหรับ
ทำาความเย็น พบในเครื่องทำาความเย็นต่างๆ เป็น
สิ่งที่อยู่ร่วมกับฟรีออน และยังพบได้ในสเปรย์ต่าง
 ๆ อีกด้วย Nitrous Oxide (N2O) เป็นก๊าซมีพิษที่
เกิดจากเครื่องยนต์ การเผาถ่านหิน และใช้
ประกอบในรถยนต์เพื่อเพิ่มกำาลังเครื่อง
 ก๊าซเหล่านี้เช่น CFC จะทำาปฏิกิริยากับรังสี
อัลตราไวโอเลตและแตกตัวออกเป็นโมเลกุลคลอ
ลีนและโมเลกุลต่างๆอีกหลายชนิด ซึ่งโมเลกุล
เหล่านี้จะเป็นตัวทำาลายโมเลกุลของออกซิเจนชนิด
พิเศษหรือ O3 บนชั้นบรรยากาศโอโซน ทำาให้รังสี
อัลตราไวโอเลต และอินฟาเรดส่องผ่านลงมายังพื้น
โลกมากขึ้น ในขณะเดียวกันก๊าซเหล่านี้ก็กันรังสี
ไม่ให้ออกไปจากบรรยากาศโลก ด้วยว่าที่รังสี
เหล่านี้เป็นพลังงาน พวกมันจึงทำาให้โลกร้อนขึ้น
 ผลกระทบจากสภาวะโลก
ร้อน แม้ว่าโดยเฉลี่ยแล้วอุณหภูมิของโลกจะเพิ่มขึ้นไม่มากนัก
แต่ผลกระทบที่เกิดขึ้นจะส่งผลต่อเป็นทอด ๆ และจะมี
ผลกระทบกับโลกในที่สุด ขณะนี้ผลกระทบดังกล่าวเริ่ม
ปรากฏให้เห็นแล้วทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย ตัวอย่าง
ที่เห็นได้ชัด คือ การละลายของนำ้าแข็งทั่วโลก ทั้งที่เป็น
ธารนำ้าแข็ง (glaciers) แหล่งนำ้าแข็งบริเวณขั้วโลก และ
ในกรีนแลนด์ซึ่งจัดว่าเป็นแหล่งนำ้าแข็งที่ใหญ่ที่สุดใน
โลก นำ้าแข็งที่ละลายนี้จะไปเพิ่มปริมาณนำ้าในมหาสมุทร
เมื่อประกอบกับอุณหภูมิเฉลี่ยของนำ้าสูงขึ้น นำ้าก็จะมีการ
ขยายตัวร่วมด้วย ทำาให้ปริมาณนำ้าในมหาสมุทรทั่วโลก
เพิ่มมากขึ้นเป็นทวีคูณ ทำาให้ระดับนำ้าทะเลสูงขึ้นมาก ส่ง
ผลให้เมืองสำาคัญ ๆ ที่อยู่ริมมหาสมุทรตกอยู่ใต้ระดับนำ้า
ทะเลทันที
 มีการคาดการณ์ว่า หากนำ้าแข็งดังกล่าวละลายหมด จะ
ทำาให้ระดับนำ้าทะเลสูงขึ้น 6-8 เมตรทีเดียว
 ผลกระทบที่เริ่มเห็นได้อีกประการหนึ่งคือ การเกิดพายุ
หมุนที่มีความถี่มากขึ้น และมีความรุนแรงมากขึ้นด้วย
ดังเราจะเห็นได้จากข่าวพายุเฮอริเคนที่พัดเข้าถล่มสหรัฐ
หลายลูกในช่วงสองสามปีที่ผ่านมา แต่ละลูกก็สร้าง
ความเสียหายในระดับหายนะทั้งสิ้น สาเหตุอาจอธิบาย
ได้ในแง่พลังงาน กล่าวคือ เมื่อมหาสมุทรมีอุณหภูมิสูง
ขึ้น พลังงานที่พายุได้รับก็มากขึ้นไปด้วย ส่งผลให้พายุมี
ความรุนแรงกว่าที่เคย
 นอกจากนั้น สภาวะโลกร้อนยังส่งผลให้บาง
บริเวณในโลกประสบกับสภาวะแห้งแล้งอย่างอย่าง
ไม่เคยมีมาก่อน เช่น ขณะนี้ได้เกิดสภาวะโลกร้อน
รุนแรงขึ้นอีกเนื่องจากต้นไม้ในป่าที่เคยทำาหน้าที่
ดูดกลืนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ได้ล้มตายลง
เนื่องจากขาดนำ้า นอกจากจะไม่ดูดกลืนแก๊สต่อไป
แล้ว ยังปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาจาก
กระบวนการย่อยสลายด้วย และยังมีสัญญาณเตือน
จากภัยธรรมชาติอื่น ๆ อีกมา ซึ่งหากเราสังเกตดี ๆ
จะพบว่าเป็นผลจากสภาวะนี้ไม่น้อย
 ได้มีผู้แนะนำาวิธีการช่วยป้องกันสภาวะโลกร้อน
ไว้ดังนี้  
1. การลดระยะทาง
                      2. ปิดเครื่องปรับอากาศ
                      3. ลดระดับการใช้งานของ
เครื่องใช้ไฟฟ้า
                      4. Reuse
5. การรักษาป่าไม้
                      6. ลดการใช้นำ้ามัน
การแก้ปัญหาโลกร้อน
 เป็นเรื่องที่น่าเป็นห่วงว่าเราคงไม่อาจหยุดยั้ง
สภาวะโลกร้อนที่กำาลังจะเกิดขึ้นในอนาคตได้ ถึง
แม้ว่าเราจะหยุดผลิตแก๊สเรือนกระจกโดยสิ้นเชิง
ตั้งแต่บัดนี้ เพราะโลกเปรียบเสมือนเครื่องจักร
ขนาดใหญ่ที่มีกลไกเล็ก ๆ จำานวนมากทำางาน
ประสานกัน การตอบสนองที่มีต่อการกระตุ้นต่าง ๆ
จะต้องใช้เวลานานกว่าจะกลับเข้าสู่สภาวะสมดุล
และแน่นอนว่า สภาวะสมดุลอันใหม่ที่จะเกิดขึ้น
ย่อมจะแตกต่างจากสภาวะปัจจุบันอย่างมาก
 แต่เราก็ยังสามารถบรรเทาผลอันร้ายแรงที่อาจจะ
เกิดขึ้นในอนาคตเพื่อให้ความรุนแรงลดลงอยู่ใน
ระดับที่พอจะรับมือได้ และอาจจะชะลอ
ปรากฏการณ์โลกร้อนให้ช้าลง กินเวลานานขึ้น
สิ่งที่เราพอจะทำาได้ตอนนี้คือพยายามลดการผลิต
แก๊สเรือนกระจกลง และเนื่องจากเราทราบว่าแก๊ส
ดังกล่าวมาจากกระบวนการใช้พลังงาน การะ
ประหยัดพลังงานจึงเป็นแนวทางหนึ่งในการลด
อัตราการเกิดสภาวะโลกร้อนไปในตัว
พลังงานทดแทนใหม่กับการ
แก้ปัญหาโลกร้อน
 พลังงาน กับ การแก้ปัญหาสภาวะเรือนกระจกซึ่ง
ทำาให้โลกร้อน
 ตลอดเวลาที่ผ่านมา เราทั้งหลายใช้พลังงานความ
ร้อนกันเป็นอันมากซึ่งมีผลกระทบต่อโลกในทางที่
เลวร้าย และยิ่งทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ยากที่จะ
แก้ไขแล้วในขณะนี้
 ถ้าพวกเราชาวมนุษย์โลก ไม่หยุดการใช้พลังงาน
ความร้อนซะตั่งแต่ตอนนี้ ก๊าซคาบอนไดออกไซด์
ซึ่งลอยอยู่ในชั้นบรรยากาศในสภาพเรือนกระจก
นั้น จะมีอายุยืนอยู่ถึง 100 ปี ลูกหลานของเราจะ
เป็นผู้รับมรดกอันเลวร้ายน้ จากพวกเราซึ่งเป็นผู้
กระทำา
วิธีแก้ไขอย่างได้ผล
 เราต้องหยุดการใช้พลังงานความร้อนจากนำ้ามัน
และพลังงานทุกชนิดที่ปล่อยก๊าซ คาบอนได
ออกไซด์ออกสู่ชั้นบรรยากาศโลก
 ถ้าไม่ใช้พลังงานความร้อนแล้วจะใช้พลังงานอะไร
กัน
 คำาตอบคือ
 ณ ตอนนี้ ได้มีผู้ทำาการวิจัยพลังงานทดแทนใหม่
ขึ้นมาเพื่อแก้ไขปัญหาใหญ่ ที่โลกกำาลังเผชิญอยู่
ในขณะนี้ พลังงานทดแทนใหม่นี้คือ เครื่องจักรกล
 พลังงานความเย็น ทุกคนจะเคยได้ยินแต่
เครื่องจักรกลพลังงานความร้อนกัน ใช่ไหมครับ
แต่นี้กลับกลายเป็น เครื่องจักลกลพลังงานความ
 ครับ เชื่อเพลิงนั้นอยู่ในรูปแบบของของเหลว ซึ่งจะต้อง
ดูดและแยกออกมาจากอากาศ และถูกนำามาใช้กับ
เครื่องจักรกลแนวใหม่ ซึ่งเครื่องจักรกลชนิดนี้จะดึงดูด
เอาพลังงานความร้อนจากอากาศเข้ามาและแปลเปลี่ยน
ไปเป็นพลังงานกล จากนั้นก็ใช้ก๊าซในอากาศที่ถูกกลั่น
ให้เป็นของเหลวเข้ามาทำาปฏิกิริยากันภายในเครื่องจักร
 นั้น เครื่องจักรจะให้พลังงานกล และปลดปล่อยความ
เย็นออกมาทิ้งสู่ชั้นบรรยากาศโลกที่อุณหภูมิ ลบ 50
องศาC ซึ่งแน่นอนที่สุดครับ เครื่องจักรพลังงานความ
เย็น พลังงานทดแทนใหม่นี้จะช่วยแก้ไขปัญหาใหญ่ๆ
ของโลกได้ถึง 2 ปัญหาเลยที่เดียว
 1 สามารถแก้ไขปัญหาการขาดแคลนพลังงานเชื้อเพลิง
ได้ และเราจะมีพลังงานทดแทนให้ใช้กันอย่างเกินพอ
ครับ
 2 สามารถแก้ไขปัญหาสภาวะเรือนกระจกได้
โดยสิ้นเชิง ซึ่งจะทำาให้โลกเย็นลงได้อย่าง
รวดเร็ว โดยที่ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ยัง
คงค้างอยู่ในชั้นบรรยากาศนั้นจะไม่เป็นผลอีก
ต่อไป
 ผู้วิจัยกล่าวว่า โครงการนี้ ปัจจุบันยังอยู่ในขั้น
ตอนการวิจัย และกำาลังรอการจดสิทธิบัตรอยู่
ครับ
อ้างอิง
 http://www.thaigoodview.com/library/tea
chershow/lopburi/usa_s/global_warming
/sec04p03.html
 http://www.thaigoodview.com/library/tea
chershow/lopburi/usa_s/global_warming
/sec01p01.html

More Related Content

Similar to งานปืน

Global warmin-t
Global warmin-tGlobal warmin-t
Global warmin-t
Jatupon Panjoi
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลพัน พัน
 
Global warming
Global warmingGlobal warming
Global warming
Punyaponpanjun
 
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศการวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
UNDP
 
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2sudsanguan
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศdnavaroj
 
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืนกลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
freelance
 
ภาวะโลกร้อนคืออะไร
ภาวะโลกร้อนคืออะไรภาวะโลกร้อนคืออะไร
ภาวะโลกร้อนคืออะไร
Nipitapon Khantharot
 
งานนำเสนอ10000000000000000000000000000000000000000000000000000000
งานนำเสนอ10000000000000000000000000000000000000000000000000000000งานนำเสนอ10000000000000000000000000000000000000000000000000000000
งานนำเสนอ10000000000000000000000000000000000000000000000000000000nalinee2535
 

Similar to งานปืน (10)

Global warmin-t
Global warmin-tGlobal warmin-t
Global warmin-t
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิล
 
Global warming
Global warmingGlobal warming
Global warming
 
Ddddd
DddddDdddd
Ddddd
 
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศการวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
 
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
 
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืนกลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
 
ภาวะโลกร้อนคืออะไร
ภาวะโลกร้อนคืออะไรภาวะโลกร้อนคืออะไร
ภาวะโลกร้อนคืออะไร
 
งานนำเสนอ10000000000000000000000000000000000000000000000000000000
งานนำเสนอ10000000000000000000000000000000000000000000000000000000งานนำเสนอ10000000000000000000000000000000000000000000000000000000
งานนำเสนอ10000000000000000000000000000000000000000000000000000000
 

งานปืน

  • 1.
  • 2. ภาวะโลกร้อน   ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศ เปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเรา ในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ สาเหตุหลักของปัญหานี้ มาจาก ก๊าซเรือนกระจก ค่ะ (Greenhouse gases)  ปรากฏการณ์เรือนกระจก มีความสำาคัญกับโลก เพราะก๊าซ จำาพวก คาร์บอนไดออกไซด์ หรือ มีเทน จะกักเก็บความร้อน บางส่วนไว้ในในโลก ไม่ให้สะท้อนกลับสู่บรรยากาศทั้งหมด มิ ฉะนั้น โลกจะกลายเป็นแบบดวงจันทร์ ที่ตอนกลางคืนหนาวจัด (และ ตอนกลางวันร้อนจัด เพราะไม่มีบรรยากาศ กรองพลังงาน จาก ดวงอาทิตย์) ซึ่งการทำาให้โลกอุ่นขึ้นเช่นนี้ คล้ายกับหลัก การของ เรือนกระจก (ที่ใช้ปลูกพืช) จึงเรียกว่า ปรากฏการณ์ เรือนกระจก (Greenhouse Effect) ค่ะ  แต่การเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของ CO2 ที่ออกมาจาก โรงงาน อุตสาหกรรม รถยนต์ หรือการกระทำาใดๆที่เผา เชื้อเพลิง ฟอสซิล (เช่น ถ่านหิน นำ้ามัน ก๊าซธรรมชาติ หรือ สารประกอบ
  • 3.  ซึ่ง คาร์บอนไดออกไซด์ ที่มากขึ้นนี้ ได้เพิ่มการกักเก็บ ความร้อนไว้ในโลกของเรามากขึ้นเรื่อยๆ จนเกิดเป็น ภาวะโลกร้อน ดังเช่นปัจจุบัน  ภาวะโลกร้อนภายในช่วง 10 ปีนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 มา นี้ ได้มีการบันทึกถึงปีที่มีอากาศร้อนที่สุดถึง 3 ปีคือ ปี พ.ศ. 2533, พ.ศ.2538 และปี พ.ศ. 2540 แม้ว่าพยากรณ์ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ยังมีความไม่แน่นอน หลายประการ แต่การถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์ได้เปลี่ยน หัวข้อจากคำาถามที่ว่า "โลกกำาลังร้อนขึ้นจริงหรือ" เป็น " ผลกระทบจากการที่โลกร้อนขึ้นจะส่งผลร้ายแรง และต่อ เนื่องต่อสิ่งที่มีชีวิตในโลกอย่างไร" ดังนั้น ยิ่งเราประวิง เวลาลงมือกระทำาการแก้ไขออกไปเพียงใด ผลกระทบที่ เกิดขึ้นก็จะยิ่งร้ายแรงมากขึ้นเท่านั้น และบุคคลที่จะได้ รับผลกระทบมากที่สุดก็คือ ลูกหลานของพวกเราเอง
  • 4.  สาเหตุุ  ภาวะโลกร้อนเป็นภัยพิบัติที่มาถึง โดยที่เราทุกคนต่าง ทราบถึงสาเหตุของการเกิดเป็นอย่างดี นั่นคือ การที่ มนุษย์เผาผลาญเชื้อเพลิงฟอซซิล เช่น ถ่านหิน นำ้ามัน และก๊าซธรรมชาติ เพื่อผลิตพลังงาน เราต่างทราบดีถึง ผลกระทบบางอย่างของภาวะโลกร้อน เช่น การละลาย ของนำ้าแข็งในขั้วโลก ระดับนำ้าทะเลที่สูงขึ้น ความแห้ง แล้งอย่างรุนแรง การแพร่ระบาดของโรคร้ายต่างๆ อุทกภัย ปะการังเปลี่ยนสีและการเกิดพายุรุนแรงฉับพลัน โดยผู้ที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด ได้แก่ ประเทศตามแนว ชายฝั่ง ประเทศที่เป็นเกาะ และภูมิภาคที่กำาลังพัฒนา อย่างเอเชียอาคเนย์  จากการทำางานของคณะกรรมการของรัฐบาลนานาชาติ ว่าด้วยเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีองค์การ วิทยาศาสตร์ ได้ร่วมมือกับองค์การสหประชาชาติ เฝ้า สังเกตผลกระทบต่างๆ และได้พบหลักฐานใหม่ที่แน่ชัดว่า
  • 5.  การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศไม่ได้เปลี่ยนแปลงไปที ละเล็กทีละน้อย แต่เป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงซึ่ง เกิดขึ้นบ่อยครั้ง และมีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดได้แก่ ความแห้งแล้งอย่างรุนแรง วาตภัย อุทกภัย พายุฝนฟ้าคะนอง พายุทอร์นาโด แผ่น ดินถล่ม และการเกิดพายุรุนแรงฉับพลัน จากภาวะ อันตรายเหล่านี้พบว่า ผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่ที่เสี่ยงกับ การเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว ซึ่งได้รับผลกระทบมากกว่า พื้นที่ส่วนอื่นๆ ยังไม่ได้รับการเอาใจใส่และช่วยเหลือเท่า ที่ควร นอกจากนี้ ยังมีการคาดการณ์ว่า การที่อุณหภูมิ ของโลกสูงขึ้น เป็นเหตุให้ปริมาณผลผลิตเพื่อการบริโภค โดยรวมลดลง ซึ่งทำาให้จำานวนผู้อดอยากหิวโหยเพิ่มขึ้น อีก 60-350 ล้านคน
  • 6.  ในประเทศไทยและฟิลิปปินส์ มีโครงการพลังงานต่างๆ ที่ จัดตั้งขึ้น และการดำาเนินงานของโครงการเหล่านี้ ได้ส่ง ผลกระทบต่อระบบนิเวศน์วิทยาอย่างเห็นได้ชัด ตัวอย่าง เช่น การเปลี่ยนแปลงของฝนที่ไม่ตกตามฤดูกาล และ ปริมาณนำ้าฝนที่ตกในแต่ละช่วงได้เปลี่ยนแปลงไป การ บุกรุกและทำาลายป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ การสูงขึ้นของ ระดับนำ้าทะเลและอุณหภูมิของนำ้าทะเล ซึ่งส่งผลกระทบ อย่างมากต่อระบบนิเวศน์วิทยาตามแนวชายฝั่ง และจาก การที่อุณหภูมิของนำ้าทะเลสูงขึ้นนี้ ได้ส่งผลกระทบต่อ การเปลี่ยนสีของนำ้าทะเล ดังนั้น แนวปะการังต่างๆ จึงได้ รับผลกระทบและถูกทำาลายเช่นกัน
  • 7.  ประเทศไทยเป็นตัวอย่างของประเทศที่มีชายฝั่งทะเล ที่มี ความยาวประมาณ 2,490 กิโลเมตร และเป็นแหล่งที่มี ความสำาคัญอย่างมากต่อเศรษฐกิจของประเทศ โดย เฉพาะอย่างยิ่ง การประมง การเพาะเลี้ยงสัตว์นำ้า และ ความไม่แน่นอนของฤดูการที่ส่งผลกระทบต่อการทำา เกษตรกรรม มีการคาดการณ์ว่า หากระดับนำ้าทะเลสูง ขึ้นอีกอย่างน้อย 1 เมตรภายในทศวรรษหน้า หาดทราย และพื้นที่ชายฝั่งในประเทศไทยจะลดน้อยลง สถานที่ ตากอากาศชายทะเล รวมถึงอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ในสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ เช่น พัทยา และ ระยองจะได้ รับผลกระทบโดยตรง แม้แต่กรุงเทพมหานคร ก็ไม่ สามารถหลีกเลี่ยงจากผลกระทบของระดับนำ้าทะเลที่สูง ขึ้นนี้เช่นกัน
  • 8.  ปัญหาด้านสุขภาพ ก็เป็นเรื่องสำาคัญอีกเรื่องหนึ่งที่ได้รับ ผลกระทบอย่างรุนแรง จากสภาพภูมิอากาศที่ เปลี่ยนแปลงนี้ด้วย เนื่องจากอุณหภูมิและความชื้นที่สูง ขึ้น ส่งผลให้มีการเพิ่มขึ้นของยุ่งมากขึ้น ซึ่งนำามาสู่การ แพร่ระบาดของไข้มาเลเรียและไข้ส่า นอกจากนี้โรคที่ เกี่ยวข้องกับนำ้า เช่น อหิวาห์ตกโรค ซึ่งจัดว่าเป็นโรคที่ แพร่ระบาดได้อย่างรวดเร็วโรคหนึ่งในภูมิภาคนี้ คาดว่า จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง จากอุณหภูมิและ ความชื้นที่สูงขึ้น คนยากจนเป็นกลุ่มคนที่มีความเสี่ยงสูง ต่อผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงนี้ ประกอบกับการให้ ความรู้ในด้านการดูแลรักษาสุขภาพที่ดี ยังมีไม่เพียงพอ  ปัจจุบันนี้สัญญาณเบื้องต้นของสภาพภูมิอากาศที่ เปลี่ยนแปลงไป ได้ปรากฏขึ้นอย่างแจ้งชัด ดังนั้น สมควรหรือไม่ที่จะรอจนกว่าจะค้นพบข้อมูลมากขึ้น หรือ มีความรู้ในการแก้ไขมากขึ้น ซึ่ง ณ เวลานั้นก็อาจสาย
  • 9. กลไกของสภาวะโลกร้อน  ในสภาวะปกติ โลกเราจะได้รับพลังงานประมาณ 99.95 % จากดวงอาทิตย์ ในรูปแบบของ การแผ่รังสี พลังงานที่เหลือมาจากความร้อนใต้ภิ ภพซึ่งหลงเหลือจากการก่อตัวของโลกจากฝุ่นธุลี ในอวกาศ และการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีที่มี อยู่ในโลก  ตั้งแต่ดึกดำาบรรพ์มาโลกเราสามารถรักษาสมดุลย์ ของพลังงานที่ได้รับอย่างดีเยี่ยม โดยมีการสะท้อน ความร้อนและการแผ่รังสีจากโลกจนพลังงานสุทธิ ที่ได้รับในแต่ละวันเท่ากับศูนย์ ทำาให้โลกมีสภาพ อากาศเหมาะสมต่อสิ่งมีชีวิตหลากหลาย
  • 10.  กลไกหนึ่งที่ทำาให้โลกเรารักษาพลังงานความร้อน ไว้ได้ คือ "ปรากฏการณ์เรือนกระจก" (greenhouse effect) โดยโลกจะมีชั้นบาง ๆ ของ แก๊สกลุ่มหนึ่งเรียกว่า "แก๊สเรือนกระจก" (greenhouse gas) ที่ทำาหน้าที่ดักและสะท้อน ความร้อนที่โลกแผ่กลับออกไปในอวกาศให้กลับ เข้าไปในโลกอีก หากไม่มีแก๊สกลุ่มนี้ โลกจะไม่ สามารถเก็บพลังงานไว้ได้ และจะมีอุณหภูมิ แปรปรวนในแต่ละวัน แก๊สกลุ่มนี้จึงทำาหน้าที่ เสมือนผ้าห่มบาง ๆ ที่คลุมโลกที่หนาวเย็น
  • 11.  การณ์กลับกลายเป็นว่าในช่วงระยะเวลาหลายสิบปี ที่ผ่านมา โลกเราได้มีการสะสมแก๊สเรือนกระจกใน ชั้นบรรยากาศมากขึ้น เนื่องจากการเผาไหม้เชื้อ เพลิงต่าง ๆ ที่ใช้ในกิจกรรมประจำาวัน โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการเผาไหม้นำ้ามันเชื้อเพลิงที่ขุดขึ้นมาจาก ใต้ดิน การเพิ่มขึ้นของแก๊สเรือนกระจกทำาให้โลก ไม่สามารถแผ่ความร้อนออกไปได้อย่างที่เคย ส่ง ผลให้อุณหภูมิของโลกเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง เสมือนกับโลกเรามีผ้าห่มที่หนาขึ้นนั่นเอง
  • 12.  ปรากฏการณ์เรือน กระจก  "ปรากฏการณ์เรือนกระจก" (greenhouse effect) คือ ปรากฏการณ์ที่โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้นเนื่องจาก พลังงานแสงอาทิตย์ ์์ในช่วงความยาวคลื่นอินฟ ราเรทที่สะท้อนกลับถูกดูดกลืนโดยโมเลกุลของ ไอ นำ้า คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) มีเทน (CH4) และ CFCsไนตรัสออกไซด์ (N2O)ในบรรยากาศ ทำาให้โมเลกุลเหล่านี้มีพลังงานสูงขึ้นมีการถ่ายเท พลังงานซึ่งกันและกันทำาให้อุณหภูมิในชั้น บรรยากาศสูงขึ้นการถ่ายเทพลังงานและ ความยาวคลื่นของโมเลกุลเหล่านี้ต่อๆกันไป ใน บรรยากาศทำาให้โมเลกุลเกิดการสั่นการ เคลื่อนไหว ตลอดเวลาและมาชนถูกผิวหนังของ
  • 13. เรือนกระจก  ในประเทศในเขตหนาวมีการเพาะปลูกพืชโดยอาศัยการ ควบคุมอุณหภูมิความร้อนโดยใช้หลักการที่พลังงาน  ความร้อนจากแสงอาทิตย์ส่องผ่านกระจก แต่ความร้อน ที่อยู่ภายในเรือนกระจกไม่สามารถสะท้อนกลับออกมา  ทำาให้อุณหภุมิภายในสูงขึ้นเหมาะแก่การเพาะปลูกของ พืช จึงมีการเปรียบเทียบปรากฏการณ์ที่อุณหภูมิของ โลกสูงขึ้นนี้ว่าภาวะ เรือนกระจก(greenhouse effect)
  • 14.  ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็นก๊าซที่สะสม พลังงานความร้อนในบรรยากาศโลกไว้มากที่สุดและมี ผลทำาให้ อุณหภูมิของโลกสูงขึ้นมากที่สุดในบรรดาก๊าซ เรือนกระจกชนิดอื่นๆ CO2ส่วนมากเกิดจากการกระทำา ของมนุษย์เช่น  - การเผาไหม้เชื้อเพลิง  - การผลิตซีเมนต์  - การเผาไม้ทำาลายป่า
  • 15. ก๊าซที่ก่อให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เกิดจากการเผาไหม้ ต่าง ๆ   มีเทน ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากการสลายตัวของ อินทรีย์วัตถุ เช่น ขยะมูลฝอยย่อยสลายได้ ของ เสีย อุจจาระ CFC เป็นสารประกอบสำาหรับ ทำาความเย็น พบในเครื่องทำาความเย็นต่างๆ เป็น สิ่งที่อยู่ร่วมกับฟรีออน และยังพบได้ในสเปรย์ต่าง  ๆ อีกด้วย Nitrous Oxide (N2O) เป็นก๊าซมีพิษที่ เกิดจากเครื่องยนต์ การเผาถ่านหิน และใช้ ประกอบในรถยนต์เพื่อเพิ่มกำาลังเครื่อง
  • 16.  ก๊าซเหล่านี้เช่น CFC จะทำาปฏิกิริยากับรังสี อัลตราไวโอเลตและแตกตัวออกเป็นโมเลกุลคลอ ลีนและโมเลกุลต่างๆอีกหลายชนิด ซึ่งโมเลกุล เหล่านี้จะเป็นตัวทำาลายโมเลกุลของออกซิเจนชนิด พิเศษหรือ O3 บนชั้นบรรยากาศโอโซน ทำาให้รังสี อัลตราไวโอเลต และอินฟาเรดส่องผ่านลงมายังพื้น โลกมากขึ้น ในขณะเดียวกันก๊าซเหล่านี้ก็กันรังสี ไม่ให้ออกไปจากบรรยากาศโลก ด้วยว่าที่รังสี เหล่านี้เป็นพลังงาน พวกมันจึงทำาให้โลกร้อนขึ้น
  • 17.  ผลกระทบจากสภาวะโลก ร้อน แม้ว่าโดยเฉลี่ยแล้วอุณหภูมิของโลกจะเพิ่มขึ้นไม่มากนัก แต่ผลกระทบที่เกิดขึ้นจะส่งผลต่อเป็นทอด ๆ และจะมี ผลกระทบกับโลกในที่สุด ขณะนี้ผลกระทบดังกล่าวเริ่ม ปรากฏให้เห็นแล้วทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย ตัวอย่าง ที่เห็นได้ชัด คือ การละลายของนำ้าแข็งทั่วโลก ทั้งที่เป็น ธารนำ้าแข็ง (glaciers) แหล่งนำ้าแข็งบริเวณขั้วโลก และ ในกรีนแลนด์ซึ่งจัดว่าเป็นแหล่งนำ้าแข็งที่ใหญ่ที่สุดใน โลก นำ้าแข็งที่ละลายนี้จะไปเพิ่มปริมาณนำ้าในมหาสมุทร เมื่อประกอบกับอุณหภูมิเฉลี่ยของนำ้าสูงขึ้น นำ้าก็จะมีการ ขยายตัวร่วมด้วย ทำาให้ปริมาณนำ้าในมหาสมุทรทั่วโลก เพิ่มมากขึ้นเป็นทวีคูณ ทำาให้ระดับนำ้าทะเลสูงขึ้นมาก ส่ง ผลให้เมืองสำาคัญ ๆ ที่อยู่ริมมหาสมุทรตกอยู่ใต้ระดับนำ้า ทะเลทันที
  • 18.  มีการคาดการณ์ว่า หากนำ้าแข็งดังกล่าวละลายหมด จะ ทำาให้ระดับนำ้าทะเลสูงขึ้น 6-8 เมตรทีเดียว  ผลกระทบที่เริ่มเห็นได้อีกประการหนึ่งคือ การเกิดพายุ หมุนที่มีความถี่มากขึ้น และมีความรุนแรงมากขึ้นด้วย ดังเราจะเห็นได้จากข่าวพายุเฮอริเคนที่พัดเข้าถล่มสหรัฐ หลายลูกในช่วงสองสามปีที่ผ่านมา แต่ละลูกก็สร้าง ความเสียหายในระดับหายนะทั้งสิ้น สาเหตุอาจอธิบาย ได้ในแง่พลังงาน กล่าวคือ เมื่อมหาสมุทรมีอุณหภูมิสูง ขึ้น พลังงานที่พายุได้รับก็มากขึ้นไปด้วย ส่งผลให้พายุมี ความรุนแรงกว่าที่เคย
  • 19.  นอกจากนั้น สภาวะโลกร้อนยังส่งผลให้บาง บริเวณในโลกประสบกับสภาวะแห้งแล้งอย่างอย่าง ไม่เคยมีมาก่อน เช่น ขณะนี้ได้เกิดสภาวะโลกร้อน รุนแรงขึ้นอีกเนื่องจากต้นไม้ในป่าที่เคยทำาหน้าที่ ดูดกลืนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ได้ล้มตายลง เนื่องจากขาดนำ้า นอกจากจะไม่ดูดกลืนแก๊สต่อไป แล้ว ยังปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาจาก กระบวนการย่อยสลายด้วย และยังมีสัญญาณเตือน จากภัยธรรมชาติอื่น ๆ อีกมา ซึ่งหากเราสังเกตดี ๆ จะพบว่าเป็นผลจากสภาวะนี้ไม่น้อย
  • 20.  ได้มีผู้แนะนำาวิธีการช่วยป้องกันสภาวะโลกร้อน ไว้ดังนี้   1. การลดระยะทาง                       2. ปิดเครื่องปรับอากาศ                       3. ลดระดับการใช้งานของ เครื่องใช้ไฟฟ้า                       4. Reuse 5. การรักษาป่าไม้                       6. ลดการใช้นำ้ามัน
  • 21. การแก้ปัญหาโลกร้อน  เป็นเรื่องที่น่าเป็นห่วงว่าเราคงไม่อาจหยุดยั้ง สภาวะโลกร้อนที่กำาลังจะเกิดขึ้นในอนาคตได้ ถึง แม้ว่าเราจะหยุดผลิตแก๊สเรือนกระจกโดยสิ้นเชิง ตั้งแต่บัดนี้ เพราะโลกเปรียบเสมือนเครื่องจักร ขนาดใหญ่ที่มีกลไกเล็ก ๆ จำานวนมากทำางาน ประสานกัน การตอบสนองที่มีต่อการกระตุ้นต่าง ๆ จะต้องใช้เวลานานกว่าจะกลับเข้าสู่สภาวะสมดุล และแน่นอนว่า สภาวะสมดุลอันใหม่ที่จะเกิดขึ้น ย่อมจะแตกต่างจากสภาวะปัจจุบันอย่างมาก
  • 22.  แต่เราก็ยังสามารถบรรเทาผลอันร้ายแรงที่อาจจะ เกิดขึ้นในอนาคตเพื่อให้ความรุนแรงลดลงอยู่ใน ระดับที่พอจะรับมือได้ และอาจจะชะลอ ปรากฏการณ์โลกร้อนให้ช้าลง กินเวลานานขึ้น สิ่งที่เราพอจะทำาได้ตอนนี้คือพยายามลดการผลิต แก๊สเรือนกระจกลง และเนื่องจากเราทราบว่าแก๊ส ดังกล่าวมาจากกระบวนการใช้พลังงาน การะ ประหยัดพลังงานจึงเป็นแนวทางหนึ่งในการลด อัตราการเกิดสภาวะโลกร้อนไปในตัว
  • 23. พลังงานทดแทนใหม่กับการ แก้ปัญหาโลกร้อน  พลังงาน กับ การแก้ปัญหาสภาวะเรือนกระจกซึ่ง ทำาให้โลกร้อน  ตลอดเวลาที่ผ่านมา เราทั้งหลายใช้พลังงานความ ร้อนกันเป็นอันมากซึ่งมีผลกระทบต่อโลกในทางที่ เลวร้าย และยิ่งทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ยากที่จะ แก้ไขแล้วในขณะนี้  ถ้าพวกเราชาวมนุษย์โลก ไม่หยุดการใช้พลังงาน ความร้อนซะตั่งแต่ตอนนี้ ก๊าซคาบอนไดออกไซด์ ซึ่งลอยอยู่ในชั้นบรรยากาศในสภาพเรือนกระจก นั้น จะมีอายุยืนอยู่ถึง 100 ปี ลูกหลานของเราจะ เป็นผู้รับมรดกอันเลวร้ายน้ จากพวกเราซึ่งเป็นผู้ กระทำา
  • 24. วิธีแก้ไขอย่างได้ผล  เราต้องหยุดการใช้พลังงานความร้อนจากนำ้ามัน และพลังงานทุกชนิดที่ปล่อยก๊าซ คาบอนได ออกไซด์ออกสู่ชั้นบรรยากาศโลก  ถ้าไม่ใช้พลังงานความร้อนแล้วจะใช้พลังงานอะไร กัน  คำาตอบคือ  ณ ตอนนี้ ได้มีผู้ทำาการวิจัยพลังงานทดแทนใหม่ ขึ้นมาเพื่อแก้ไขปัญหาใหญ่ ที่โลกกำาลังเผชิญอยู่ ในขณะนี้ พลังงานทดแทนใหม่นี้คือ เครื่องจักรกล  พลังงานความเย็น ทุกคนจะเคยได้ยินแต่ เครื่องจักรกลพลังงานความร้อนกัน ใช่ไหมครับ แต่นี้กลับกลายเป็น เครื่องจักลกลพลังงานความ
  • 25.  ครับ เชื่อเพลิงนั้นอยู่ในรูปแบบของของเหลว ซึ่งจะต้อง ดูดและแยกออกมาจากอากาศ และถูกนำามาใช้กับ เครื่องจักรกลแนวใหม่ ซึ่งเครื่องจักรกลชนิดนี้จะดึงดูด เอาพลังงานความร้อนจากอากาศเข้ามาและแปลเปลี่ยน ไปเป็นพลังงานกล จากนั้นก็ใช้ก๊าซในอากาศที่ถูกกลั่น ให้เป็นของเหลวเข้ามาทำาปฏิกิริยากันภายในเครื่องจักร  นั้น เครื่องจักรจะให้พลังงานกล และปลดปล่อยความ เย็นออกมาทิ้งสู่ชั้นบรรยากาศโลกที่อุณหภูมิ ลบ 50 องศาC ซึ่งแน่นอนที่สุดครับ เครื่องจักรพลังงานความ เย็น พลังงานทดแทนใหม่นี้จะช่วยแก้ไขปัญหาใหญ่ๆ ของโลกได้ถึง 2 ปัญหาเลยที่เดียว  1 สามารถแก้ไขปัญหาการขาดแคลนพลังงานเชื้อเพลิง ได้ และเราจะมีพลังงานทดแทนให้ใช้กันอย่างเกินพอ ครับ
  • 26.  2 สามารถแก้ไขปัญหาสภาวะเรือนกระจกได้ โดยสิ้นเชิง ซึ่งจะทำาให้โลกเย็นลงได้อย่าง รวดเร็ว โดยที่ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ยัง คงค้างอยู่ในชั้นบรรยากาศนั้นจะไม่เป็นผลอีก ต่อไป  ผู้วิจัยกล่าวว่า โครงการนี้ ปัจจุบันยังอยู่ในขั้น ตอนการวิจัย และกำาลังรอการจดสิทธิบัตรอยู่ ครับ