SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง
(Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก
อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ สาเหตุหลักของปัญหานี้ มาจาก ก๊าซเรือน
กระจก ค่ะ (Greenhouse gases)
ปรากฏการณ์เรือนกระจก มีความสาคัญกับโลก เพราะก๊าซจาพวก
คาร์บอนไดออกไซด์ หรือ มีเทน จะกักเก็บความร้อนบางส่วนไว้ในในโลก ไม่ให้
สะท้อนกลับสู่บรรยากาศทั้งหมด มิฉะนั้น โลกจะกลายเป็นแบบดวงจันทร์ ที่
ตอนกลางคืนหนาวจัด (และ ตอนกลางวันร้อนจัด เพราะไม่มีบรรยากาศ กรอง
พลังงาน จาก ดวงอาทิตย์) ซึ่งการทาให้โลกอุ่นขึ้นเช่นนี้ คล้ายกับหลักการของ
เรือนกระจก (ที่ใช้ปลูกพืช) จึงเรียกว่า ปรากฏการณ์เรือนกระจก
(Greenhouse Effect) ค่ะ
ซึ่ง คาร์บอนไดออกไซด์ ที่มากขึ้นนี้ ได้เพิ่มการกักเก็บความร้อนไว้ในโลกของเรามากขึ้นเรื่อยๆ จน
เกิดเป็น ภาวะโลกร้อน ดังเช่นปัจจุบัน
ภาวะโลกร้อนภายในช่วง 10 ปีนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 มานี้ ได้มีการบันทึกถึงปีที่มีอากาศร้อนที่สุด
ถึง 3 ปีคือ ปี พ.ศ. 2533, พ.ศ.2538 และปี พ.ศ. 2540 แม้ว่าพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ยัง
มีความไม่แน่นอนหลายประการ แต่การถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์ได้เปลี่ยนหัวข้อจากคาถามที่ว่า "โลกกาลังร้อน
ขึ้นจริงหรือ" เป็น "ผลกระทบจากการที่โลกร้อนขึ้นจะส่งผลร้ายแรง และต่อเนื่องต่อสิ่งที่มีชีวิตในโลกอย่างไร"
ดังนั้น ยิ่งเราประวิงเวลาลงมือกระทาการแก้ไขออกไปเพียงใด ผลกระทบที่เกิดขึ้นก็จะยิ่งร้ายแรงมากขึ้นเท่านั้น
และบุคคลที่จะได้รับผลกระทบมากที่สุดก็คือ ลูกหลานของพวกเราเอง
ภาวะโลกร้อนเป็นภัยพิบัติที่มาถึง โดยที่เราทุกคนต่างทราบถึงสาเหตุของการเกิดเป็นอย่างดี นั่นคือ การที่มนุษย์
เผาผลาญเชื้อเพลิงฟอซซิล เช่น ถ่านหิน น้ามัน และก๊าซธรรมชาติ เพื่อผลิตพลังงาน เราต่างทราบดีถึงผลกระทบบางอย่าง
ของภาวะโลกร้อน เช่น การละลายของน้าแข็งในขั้วโลก ระดับน้าทะเลที่สูงขึ้น ความแห้งแล้งอย่างรุนแรง การแพร่ระบาดของ
โรคร้ายต่างๆ อุทกภัย ปะการังเปลี่ยนสีและการเกิดพายุรุนแรงฉับพลัน โดยผู้ที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด ได้แก่ ประเทศตาม
แนวชายฝั่ง ประเทศที่เป็นเกาะ และภูมิภาคที่กาลังพัฒนาอย่างเอเชียอาคเนย์
จากการทางานของคณะกรรมการของรัฐบาลนานาชาติ ว่าด้วยเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีองค์การ
วิทยาศาสตร์ ได้ร่วมมือกับองค์การสหประชาชาติ เฝ้ าสังเกตผลกระทบต่างๆ และได้พบหลักฐานใหม่ที่แน่ชัดว่า จากการที่
ภาวะโลกร้อนขึ้นในช่วง 50 กว่าปีมานี้ ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการกระทาของมนุษย์ ซึ่งส่งผลกระทบอย่างต่อเนื่องให้
อุณหภูมิของโลกเพิ่มขึ้นในทุกหนทุกแห่ง ประมาณ 1.4-5.8 องศาเซลเซียส
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศไม่ได้เปลี่ยนแปลงไปทีละเล็กทีละน้อย แต่เป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงซึ่ง
เกิดขึ้นบ่อยครั้ง และมีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดได้แก่ ความแห้งแล้งอย่างรุนแรง วาตภัย อุทกภัย พายุ
ฝนฟ้ าคะนอง พายุทอร์นาโด แผ่นดินถล่ม และการเกิดพายุรุนแรงฉับพลัน จากภาวะอันตรายเหล่านี้พบว่า ผู้ที่อาศัยอยู่ในเขต
พื้นที่ที่เสี่ยงกับการเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว ซึ่งได้รับผลกระทบมากกว่าพื้นที่ส่วนอื่นๆ ยังไม่ได้รับการเอาใจใส่และช่วยเหลือ
เท่าที่ควร นอกจากนี้ ยังมีการคาดการณ์ว่า การที่อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น เป็นเหตุให้ปริมาณผลผลิตเพื่อการบริโภคโดยรวม
ลดลง ซึ่งทาให้จานวนผู้อดอยากหิวโหยเพิ่มขึ้นอีก 60-350 ล้านคน
กลไกหนึ่งที่ทาให้โลกเรารักษาพลังงานความร้อนไว้ได้
คือ "ปรากฏการณ์เรือนกระจก" (greenhouse effect) โดย
โลกจะมีชั้นบาง ๆ ของแก๊สกลุ่มหนึ่งเรียกว่า "แก๊สเรือนกระจก"
(greenhouse gas) ที่ทาหน้าที่ดักและสะท้อนความร้อนที่โลก
แผ่กลับออกไปในอวกาศให้กลับเข้าไปในโลกอีก หากไม่มีแก๊สกลุ่ม
นี้ โลกจะไม่สามารถเก็บพลังงานไว้ได้ และจะมีอุณหภูมิแปรปรวน
ในแต่ละวัน แก๊สกลุ่มนี้จึงทาหน้าที่เสมือนผ้าห่มบาง ๆ ที่คลุมโลก
ที่หนาวเย็น
การณ์กลับกลายเป็นว่าในช่วงระยะเวลาหลายสิบปีที่
ผ่านมา โลกเราได้มีการสะสมแก๊สเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ
มากขึ้น เนื่องจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงต่าง ๆ ที่ใช้ในกิจกรรม
ประจาวัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเผาไหม้น้ามันเชื้อเพลิงที่ขุด
ขึ้นมาจากใต้ดิน การเพิ่มขึ้นของแก๊สเรือนกระจกทาให้โลกไม่
สามารถแผ่ความร้อนออกไปได้อย่างที่เคย ส่งผลให้อุณหภูมิของ
โลกเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง เสมือนกับโลกเรามีผ้าห่มที่หนาขึ้น
นั่นเอง
ก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gas) เป็นก๊าซที่มีคุณสมบัติในการดูด
ซับคลื่นรังสีความร้อน หรือรังสีอินฟาเรดได้ดี ก๊าซเหล่านี้มีความจาเป็นต่อ
การรักษาอุณหภูมิในบรรยากาศของโลกให้คงที่ ซึ่งหากบรรยากาศโลกไม่มี
ก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ ดังเช่นดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ ในระบบสุริยะ
แล้ว จะทาให้อุณหภูมิในตอนกลางวันนั้นร้อนจัด และในตอนกลางคืนนั้นหนาว
จัด เนื่องจากก๊าซเหล่านี้ดูดคลื่นรังสีความร้อนไว้ในเวลากลางวัน แล้วค่อยๆ
แผ่รังสีความร้อนออกมาในเวลากลางคืน ทาให้อุณหภูมิในบรรยากาศโลกไม่
เปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน
ก๊าซเรือนกระจกในธรรมชาตินั้นประกอบด้วยก๊าซหลายชนิด แต่ก๊าซ
เรือนกระจกที่ถูกควบคุมโดยพิธีสารเกียวโต มีเพียง 6 ชนิด โดยจะต้องเป็น
ก๊าซที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์เท่านั้น ได้แก่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
(CO2) ก๊าซมีเทน (CH4) ก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N20) ก๊าซไฮโดรฟลูออโร
คาร์บอน (HFC) ก๊าซเพอร์ฟลูออโรคาร์บอน (PFC) และก๊าซซัลเฟอร์เฮกซะ
ฟลูออไรด์ (SF6) ทั้งนี้ ยังมีก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ที่
สาคัญอีกชนิดหนึ่ง คือ สารซีเอฟซี (CFC )
ระดับน้าทะเลเพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากธาร
น้าแข็งที่กาลังละลาย และอุณหภูมิทั่ว
โลกที่กาลังสูงขึ้นจากการขยายตัวทาง
ความร้อนของน้าในมหาสมุทร
มีความเสี่ยงมากขึ้นที่จะ
เกิดสภาพอากาศรุนแรง
เช่น คลื่นความร้อน ความ
แห้งแล้ง และ น้าท่วม
สัตว์สายพันธุ์ต่างๆ เสี่ยงต่อ
การสูญพันธุ์มากขึ้น และเกิด
ความสูญเสียด้านความ
หลากหลายทางชีวภาพ
ผลกระทบที่รุนแรงกว่าจะตก
อยู่กับประเทศยากจน การ
แพร่กระจายของเชื้อโรค และ
ผลผลิตภาคเกษตรที่ต่าลง
ก๊าซเรือนกระจกที่ถูกปล่อย
ออกมามหาศาลจากชั้นดิน
เยือกแข็ง และป่ าที่กาลังตาย
ผลกระทบรุนแรงในระดับภูมิภาค
ตัวอย่างเช่น ในยุโรป ตามพื้นที่ชาย
ฝั่งจะเสี่ยงต่อน้าท่วม การสูญเสีย
พื้นที่ในทะเลเพิ่มขึ้นอย่างมาก
หายนะจากการปล่อยก๊าซมีเทนอย่าง
มหาศาลจากมหาสมุทร ซึ่งทาให้ก๊าซ
มีเทนในบรรยากาศเพิ่มขึ้นอย่าง
รวดเร็ว และส่งผลให้โลกร้อนขึ้น
กระแสน้าอุ่นในมหาสมุทรแอตแลนติก
ที่ไหลช้าลง เปลี่ยนทิศทาง หรือ หยุด
ไหล ซึ่งส่งผลกระทบอย่างสูงในยุโรป
และทาให้ระบบการไหลเวียนของมหา
สมุทรผิดปกติ
เปลี่ยนหลอดไฟ การเปลี่ยน
หลอดไปจากหลอดไส้เป็นฟลูออ
เรสเซนต์หนึ่งดวง จะช่วยลด
คาร์บอนไดออกไซด์ได้150 ปอนด์
ต่อปี
ขับรถให้น้อยลงหากเป็น
ระยะทางใกล้ๆ สามารถเดินหรือขี่
จักรยานแทนได้การขับรถยนต์เป็น
ระยะทาง 1 ไมล์จะปล่อย
คาร์บอนไดออกไซด์1 ปอนด์
รีไซเคิลให้มากขึ้น ลดขยะ
ของบ้านคุณให้ได้ครึ่งนึงจะช่วยลด
คาร์บอนไดออกไซด์ได้ถึง 2400
ปอนด์ต่อปี
เช็คลมยาง การขับรถโดยที่ยางมีลมน้อย
อาจทาให้เปลืองน้ามันขึ้นได้ถึง 3% จากปกติ
น้ามันๆทุกๆแกลลอนที่ประหยัดได้
ใช้น้าร้อนให้น้อยลง ในการทาน้าร้อน
ใช้พลังงานในการต้มสูงมากปรับให้มีอุณหภูมิ
และแรงน้าให้น้อยลง
หลีกเลี่ยง ผลิตภัณฑ์ที่มีบรรจุภัณฑ์เยอะ
เพียงแค่ลดขยะของคุณเอง10 % จะลด
คาร์บอนไดออกไซด์ได้1200 ปอนด์ต่อปี
บอกกล่าวบอกเพื่อนๆของคุณเกี่ยวกับวิธี
เหล่านี้ พลังงานทดแทนใหม่กับการแก้ปัญหา
โลกร้อน
ปรับอุณหภูมิ ห้องของคุณ ในฤดูหนาว
ปรับอุณหภูมิของheater ให้ต่าลง 2 องศา และ
ในฤดูร้อน ปรับให้สูงขึ้น 2 องศา จะลด
คาร์บอนไดออกไซด์ได้2000 ปอนด์ต่อปี
ปลูกต้นไม้ การปลูกต้นไม้หนึ่งต้นจะดูด
ซับคาร์บอนไดออกไซด์ได้1 ตัน ตลอดอายุ
ของมัน
ปิด เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ไม่ใช้ปิดทีวี
คอมพิวเตอร์ เครื่องเสียง และเครื่องใช้ไฟฟ้า
ต่างๆ เมื่อไม่ใช้จะลดคาร์บอนไดออกไซด์ได้
นับพันปอนด์ต่อปี
มารู้จักกับ “ภาวะโลกร้อน” กัน
วิดีโอ
คณะผู้จัดทา
นางสาวจุฑารัตน์ พวงชื่น เลขที่ 16
นางสาวพรนัชชา เดชสุภา เลขที่ 25
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
เสนอ
ครูอนพัทย์ หรีรักษ์
โรงเรียนประจันตราษฎร์บารุง

More Related Content

Similar to Global warming 2

งานนำเสนอ10000000000000000000000000000000000000000000000000000000
งานนำเสนอ10000000000000000000000000000000000000000000000000000000งานนำเสนอ10000000000000000000000000000000000000000000000000000000
งานนำเสนอ10000000000000000000000000000000000000000000000000000000nalinee2535
 
โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อนsudsanguan
 
ภาวะโลกร้อนคืออะไร
ภาวะโลกร้อนคืออะไรภาวะโลกร้อนคืออะไร
ภาวะโลกร้อนคืออะไรNipitapon Khantharot
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกdnavaroj
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลพัน พัน
 
การลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนการลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนjzuzu2536
 
โลกเยาว์วัยห่างไกลโลกร้อน
โลกเยาว์วัยห่างไกลโลกร้อนโลกเยาว์วัยห่างไกลโลกร้อน
โลกเยาว์วัยห่างไกลโลกร้อนPreyaporn Wisetsing
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม Aungkana Na Na
 
ให้นักเรียนหาผลกระทบทางเทคโนโลยีที่ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก 1 อย่าง พร้อมทั้งบ...
ให้นักเรียนหาผลกระทบทางเทคโนโลยีที่ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก 1 อย่าง พร้อมทั้งบ...ให้นักเรียนหาผลกระทบทางเทคโนโลยีที่ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก 1 อย่าง พร้อมทั้งบ...
ให้นักเรียนหาผลกระทบทางเทคโนโลยีที่ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก 1 อย่าง พร้อมทั้งบ...ดิศร ดาตาล
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนpapassara
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนorrenee jongrak
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนtaveena
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนVilaiwun Bunya
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนonjiranaja
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนguidena
 

Similar to Global warming 2 (19)

งานนำเสนอ10000000000000000000000000000000000000000000000000000000
งานนำเสนอ10000000000000000000000000000000000000000000000000000000งานนำเสนอ10000000000000000000000000000000000000000000000000000000
งานนำเสนอ10000000000000000000000000000000000000000000000000000000
 
Climate change2009
Climate change2009Climate change2009
Climate change2009
 
โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อน
 
ภาวะโลกร้อนคืออะไร
ภาวะโลกร้อนคืออะไรภาวะโลกร้อนคืออะไร
ภาวะโลกร้อนคืออะไร
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิล
 
การลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนการลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อน
 
โลกเยาว์วัยห่างไกลโลกร้อน
โลกเยาว์วัยห่างไกลโลกร้อนโลกเยาว์วัยห่างไกลโลกร้อน
โลกเยาว์วัยห่างไกลโลกร้อน
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม
 
Global warmin-t
Global warmin-tGlobal warmin-t
Global warmin-t
 
ให้นักเรียนหาผลกระทบทางเทคโนโลยีที่ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก 1 อย่าง พร้อมทั้งบ...
ให้นักเรียนหาผลกระทบทางเทคโนโลยีที่ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก 1 อย่าง พร้อมทั้งบ...ให้นักเรียนหาผลกระทบทางเทคโนโลยีที่ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก 1 อย่าง พร้อมทั้งบ...
ให้นักเรียนหาผลกระทบทางเทคโนโลยีที่ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก 1 อย่าง พร้อมทั้งบ...
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
----------(2)
 ----------(2) ----------(2)
----------(2)
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 

Global warming 2

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4. ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ สาเหตุหลักของปัญหานี้ มาจาก ก๊าซเรือน กระจก ค่ะ (Greenhouse gases) ปรากฏการณ์เรือนกระจก มีความสาคัญกับโลก เพราะก๊าซจาพวก คาร์บอนไดออกไซด์ หรือ มีเทน จะกักเก็บความร้อนบางส่วนไว้ในในโลก ไม่ให้ สะท้อนกลับสู่บรรยากาศทั้งหมด มิฉะนั้น โลกจะกลายเป็นแบบดวงจันทร์ ที่ ตอนกลางคืนหนาวจัด (และ ตอนกลางวันร้อนจัด เพราะไม่มีบรรยากาศ กรอง พลังงาน จาก ดวงอาทิตย์) ซึ่งการทาให้โลกอุ่นขึ้นเช่นนี้ คล้ายกับหลักการของ เรือนกระจก (ที่ใช้ปลูกพืช) จึงเรียกว่า ปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effect) ค่ะ
  • 5. ซึ่ง คาร์บอนไดออกไซด์ ที่มากขึ้นนี้ ได้เพิ่มการกักเก็บความร้อนไว้ในโลกของเรามากขึ้นเรื่อยๆ จน เกิดเป็น ภาวะโลกร้อน ดังเช่นปัจจุบัน ภาวะโลกร้อนภายในช่วง 10 ปีนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 มานี้ ได้มีการบันทึกถึงปีที่มีอากาศร้อนที่สุด ถึง 3 ปีคือ ปี พ.ศ. 2533, พ.ศ.2538 และปี พ.ศ. 2540 แม้ว่าพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ยัง มีความไม่แน่นอนหลายประการ แต่การถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์ได้เปลี่ยนหัวข้อจากคาถามที่ว่า "โลกกาลังร้อน ขึ้นจริงหรือ" เป็น "ผลกระทบจากการที่โลกร้อนขึ้นจะส่งผลร้ายแรง และต่อเนื่องต่อสิ่งที่มีชีวิตในโลกอย่างไร" ดังนั้น ยิ่งเราประวิงเวลาลงมือกระทาการแก้ไขออกไปเพียงใด ผลกระทบที่เกิดขึ้นก็จะยิ่งร้ายแรงมากขึ้นเท่านั้น และบุคคลที่จะได้รับผลกระทบมากที่สุดก็คือ ลูกหลานของพวกเราเอง
  • 6. ภาวะโลกร้อนเป็นภัยพิบัติที่มาถึง โดยที่เราทุกคนต่างทราบถึงสาเหตุของการเกิดเป็นอย่างดี นั่นคือ การที่มนุษย์ เผาผลาญเชื้อเพลิงฟอซซิล เช่น ถ่านหิน น้ามัน และก๊าซธรรมชาติ เพื่อผลิตพลังงาน เราต่างทราบดีถึงผลกระทบบางอย่าง ของภาวะโลกร้อน เช่น การละลายของน้าแข็งในขั้วโลก ระดับน้าทะเลที่สูงขึ้น ความแห้งแล้งอย่างรุนแรง การแพร่ระบาดของ โรคร้ายต่างๆ อุทกภัย ปะการังเปลี่ยนสีและการเกิดพายุรุนแรงฉับพลัน โดยผู้ที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด ได้แก่ ประเทศตาม แนวชายฝั่ง ประเทศที่เป็นเกาะ และภูมิภาคที่กาลังพัฒนาอย่างเอเชียอาคเนย์ จากการทางานของคณะกรรมการของรัฐบาลนานาชาติ ว่าด้วยเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีองค์การ วิทยาศาสตร์ ได้ร่วมมือกับองค์การสหประชาชาติ เฝ้ าสังเกตผลกระทบต่างๆ และได้พบหลักฐานใหม่ที่แน่ชัดว่า จากการที่ ภาวะโลกร้อนขึ้นในช่วง 50 กว่าปีมานี้ ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการกระทาของมนุษย์ ซึ่งส่งผลกระทบอย่างต่อเนื่องให้ อุณหภูมิของโลกเพิ่มขึ้นในทุกหนทุกแห่ง ประมาณ 1.4-5.8 องศาเซลเซียส การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศไม่ได้เปลี่ยนแปลงไปทีละเล็กทีละน้อย แต่เป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงซึ่ง เกิดขึ้นบ่อยครั้ง และมีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดได้แก่ ความแห้งแล้งอย่างรุนแรง วาตภัย อุทกภัย พายุ ฝนฟ้ าคะนอง พายุทอร์นาโด แผ่นดินถล่ม และการเกิดพายุรุนแรงฉับพลัน จากภาวะอันตรายเหล่านี้พบว่า ผู้ที่อาศัยอยู่ในเขต พื้นที่ที่เสี่ยงกับการเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว ซึ่งได้รับผลกระทบมากกว่าพื้นที่ส่วนอื่นๆ ยังไม่ได้รับการเอาใจใส่และช่วยเหลือ เท่าที่ควร นอกจากนี้ ยังมีการคาดการณ์ว่า การที่อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น เป็นเหตุให้ปริมาณผลผลิตเพื่อการบริโภคโดยรวม ลดลง ซึ่งทาให้จานวนผู้อดอยากหิวโหยเพิ่มขึ้นอีก 60-350 ล้านคน
  • 7.
  • 8. กลไกหนึ่งที่ทาให้โลกเรารักษาพลังงานความร้อนไว้ได้ คือ "ปรากฏการณ์เรือนกระจก" (greenhouse effect) โดย โลกจะมีชั้นบาง ๆ ของแก๊สกลุ่มหนึ่งเรียกว่า "แก๊สเรือนกระจก" (greenhouse gas) ที่ทาหน้าที่ดักและสะท้อนความร้อนที่โลก แผ่กลับออกไปในอวกาศให้กลับเข้าไปในโลกอีก หากไม่มีแก๊สกลุ่ม นี้ โลกจะไม่สามารถเก็บพลังงานไว้ได้ และจะมีอุณหภูมิแปรปรวน ในแต่ละวัน แก๊สกลุ่มนี้จึงทาหน้าที่เสมือนผ้าห่มบาง ๆ ที่คลุมโลก ที่หนาวเย็น การณ์กลับกลายเป็นว่าในช่วงระยะเวลาหลายสิบปีที่ ผ่านมา โลกเราได้มีการสะสมแก๊สเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ มากขึ้น เนื่องจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงต่าง ๆ ที่ใช้ในกิจกรรม ประจาวัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเผาไหม้น้ามันเชื้อเพลิงที่ขุด ขึ้นมาจากใต้ดิน การเพิ่มขึ้นของแก๊สเรือนกระจกทาให้โลกไม่ สามารถแผ่ความร้อนออกไปได้อย่างที่เคย ส่งผลให้อุณหภูมิของ โลกเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง เสมือนกับโลกเรามีผ้าห่มที่หนาขึ้น นั่นเอง
  • 9. ก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gas) เป็นก๊าซที่มีคุณสมบัติในการดูด ซับคลื่นรังสีความร้อน หรือรังสีอินฟาเรดได้ดี ก๊าซเหล่านี้มีความจาเป็นต่อ การรักษาอุณหภูมิในบรรยากาศของโลกให้คงที่ ซึ่งหากบรรยากาศโลกไม่มี ก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ ดังเช่นดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ ในระบบสุริยะ แล้ว จะทาให้อุณหภูมิในตอนกลางวันนั้นร้อนจัด และในตอนกลางคืนนั้นหนาว จัด เนื่องจากก๊าซเหล่านี้ดูดคลื่นรังสีความร้อนไว้ในเวลากลางวัน แล้วค่อยๆ แผ่รังสีความร้อนออกมาในเวลากลางคืน ทาให้อุณหภูมิในบรรยากาศโลกไม่ เปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน ก๊าซเรือนกระจกในธรรมชาตินั้นประกอบด้วยก๊าซหลายชนิด แต่ก๊าซ เรือนกระจกที่ถูกควบคุมโดยพิธีสารเกียวโต มีเพียง 6 ชนิด โดยจะต้องเป็น ก๊าซที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์เท่านั้น ได้แก่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ก๊าซมีเทน (CH4) ก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N20) ก๊าซไฮโดรฟลูออโร คาร์บอน (HFC) ก๊าซเพอร์ฟลูออโรคาร์บอน (PFC) และก๊าซซัลเฟอร์เฮกซะ ฟลูออไรด์ (SF6) ทั้งนี้ ยังมีก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ที่ สาคัญอีกชนิดหนึ่ง คือ สารซีเอฟซี (CFC )
  • 10. ระดับน้าทะเลเพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากธาร น้าแข็งที่กาลังละลาย และอุณหภูมิทั่ว โลกที่กาลังสูงขึ้นจากการขยายตัวทาง ความร้อนของน้าในมหาสมุทร มีความเสี่ยงมากขึ้นที่จะ เกิดสภาพอากาศรุนแรง เช่น คลื่นความร้อน ความ แห้งแล้ง และ น้าท่วม สัตว์สายพันธุ์ต่างๆ เสี่ยงต่อ การสูญพันธุ์มากขึ้น และเกิด ความสูญเสียด้านความ หลากหลายทางชีวภาพ ผลกระทบที่รุนแรงกว่าจะตก อยู่กับประเทศยากจน การ แพร่กระจายของเชื้อโรค และ ผลผลิตภาคเกษตรที่ต่าลง
  • 11. ก๊าซเรือนกระจกที่ถูกปล่อย ออกมามหาศาลจากชั้นดิน เยือกแข็ง และป่ าที่กาลังตาย ผลกระทบรุนแรงในระดับภูมิภาค ตัวอย่างเช่น ในยุโรป ตามพื้นที่ชาย ฝั่งจะเสี่ยงต่อน้าท่วม การสูญเสีย พื้นที่ในทะเลเพิ่มขึ้นอย่างมาก หายนะจากการปล่อยก๊าซมีเทนอย่าง มหาศาลจากมหาสมุทร ซึ่งทาให้ก๊าซ มีเทนในบรรยากาศเพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็ว และส่งผลให้โลกร้อนขึ้น กระแสน้าอุ่นในมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ไหลช้าลง เปลี่ยนทิศทาง หรือ หยุด ไหล ซึ่งส่งผลกระทบอย่างสูงในยุโรป และทาให้ระบบการไหลเวียนของมหา สมุทรผิดปกติ
  • 12. เปลี่ยนหลอดไฟ การเปลี่ยน หลอดไปจากหลอดไส้เป็นฟลูออ เรสเซนต์หนึ่งดวง จะช่วยลด คาร์บอนไดออกไซด์ได้150 ปอนด์ ต่อปี ขับรถให้น้อยลงหากเป็น ระยะทางใกล้ๆ สามารถเดินหรือขี่ จักรยานแทนได้การขับรถยนต์เป็น ระยะทาง 1 ไมล์จะปล่อย คาร์บอนไดออกไซด์1 ปอนด์ รีไซเคิลให้มากขึ้น ลดขยะ ของบ้านคุณให้ได้ครึ่งนึงจะช่วยลด คาร์บอนไดออกไซด์ได้ถึง 2400 ปอนด์ต่อปี
  • 13. เช็คลมยาง การขับรถโดยที่ยางมีลมน้อย อาจทาให้เปลืองน้ามันขึ้นได้ถึง 3% จากปกติ น้ามันๆทุกๆแกลลอนที่ประหยัดได้ ใช้น้าร้อนให้น้อยลง ในการทาน้าร้อน ใช้พลังงานในการต้มสูงมากปรับให้มีอุณหภูมิ และแรงน้าให้น้อยลง หลีกเลี่ยง ผลิตภัณฑ์ที่มีบรรจุภัณฑ์เยอะ เพียงแค่ลดขยะของคุณเอง10 % จะลด คาร์บอนไดออกไซด์ได้1200 ปอนด์ต่อปี บอกกล่าวบอกเพื่อนๆของคุณเกี่ยวกับวิธี เหล่านี้ พลังงานทดแทนใหม่กับการแก้ปัญหา โลกร้อน
  • 14. ปรับอุณหภูมิ ห้องของคุณ ในฤดูหนาว ปรับอุณหภูมิของheater ให้ต่าลง 2 องศา และ ในฤดูร้อน ปรับให้สูงขึ้น 2 องศา จะลด คาร์บอนไดออกไซด์ได้2000 ปอนด์ต่อปี ปลูกต้นไม้ การปลูกต้นไม้หนึ่งต้นจะดูด ซับคาร์บอนไดออกไซด์ได้1 ตัน ตลอดอายุ ของมัน ปิด เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ไม่ใช้ปิดทีวี คอมพิวเตอร์ เครื่องเสียง และเครื่องใช้ไฟฟ้า ต่างๆ เมื่อไม่ใช้จะลดคาร์บอนไดออกไซด์ได้ นับพันปอนด์ต่อปี
  • 16. คณะผู้จัดทา นางสาวจุฑารัตน์ พวงชื่น เลขที่ 16 นางสาวพรนัชชา เดชสุภา เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 เสนอ ครูอนพัทย์ หรีรักษ์ โรงเรียนประจันตราษฎร์บารุง