SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
สามเหลี่ยมเบอร์มิวดา (Bermuda Triangle) เป็นบริเวณสมมติในมหาสมุทรแอตแลนติก
มีเนื้อที่ประมาณ 1.2 ตร.กม. อยู่ระหว่างจุด 3 จุดที่ไม่เป็นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า
ได้แก่ เปอร์โตริโก ปลายสุดของมลรัฐฟลอริดาในสหรัฐอเมริกา และเกาะเบอร์มิวดาซึ่ง
เป็นดินแดนในปกครองของสหราชอาณาจักรสามเหลี่ยมเบอร์มิวดาเป็นที่รู้จักทาง
สื่อมวลชนอย่าแพร่หลาย หลังจากที่ค้นพบว่าคุณสมบัติทางฟิสิกส์ต่างๆ ไม่เป็นไปตามกฎ
พื้นฐาน
      สามเหลี่ยมเบอร์มิวดา เริ่มเป็นที่รู้จักในปี ี พ.ศ. 2494 (ค.ศ. 1951) หลังจาก
ที่มีเรือขนาดใหญ่หายสาบสูญภายในบริเวณสามเหลี่ยม รวมถึงเครื่องบินและเรือขนาด
เล็กอื่นๆ จนได้รับขนานนามว่า "สามเหลี่ยมปีศาจ " (The Devil's Triangle)
ที่มา
             ศัพท์คาว่า "สามเหลี่ยมเบอร์มิวดา" หรือ "Bermuda Triangle" นี้ มีที่มาจาก
บทความนิตยสารอาร์กอสซี่ เจ้าของบทความชื่อ Vincent H. Gaddis ได้นาเสนอเรื่องราวของ
เรือและเครื่องบินทีสาบสูญไปอย่างลึกลับโดยปราศจากคาอธิบายในนิตยสารดังกล่าว เมื่อปี
                   ่
ค.ศ. 1964 แต่ แกดดิส ไม่ได้เป็นคนแรกที่สงเกตเรื่องนี้ ก่อนหน้าในปี ค.ศ. 1952
                                               ั
นาย George X. Sands เสนอเรื่องทานองนี้เช่นกันในนิตยสาร Fate เนื้อหากล่าวถึงปริมาณของ
เรือและเครื่องบินทีสาบสูญไปอย่างผิดปกติในบริเวณน่านน้าดังกล่าว ซึ่งยอดสูญหายนี้มัน
                     ่
มากเกินไปกว่าที่จะสันนิษฐานว่าเป็นอุบัติเหตุ
ต่อมาถัดมาในปี ค.ศ. 1969 นายวอลเลซ สเปนเซอร์ ได้เขียนหนังสือว่าด้วยสามเหลี่ยม
ปริศนานี้โดยเฉพาะออกจาหน่ายในชื่อว่า "Limbo of the Lost" ถัดจากนั้นก็มีหนังสือ
ออกจาหน่ายตามมาอีกมากมายเกี่ยวกับความลึกลับของสามเหลี่ยมเบอร์มิวดา ซึ่งก็มียอด
จาหน่ายดีแทบทุกเล่ม ที่มีชื่อเสียงเป็นพิเศษคือบทความทีมีชื่อว่า "The Devil's Triangle" ตีพิมพ์
                                                        ่
ในปี ค.ศ. 1974 ซึ่งเนื้อหาสาหรับเป็นที่ชื่นชอบความลึกลับเกี่ยวกับสามเหลี่ยเบอร์มิวดา
เป็นอันมาก เป็นทีน่าสังเกตคือ หนังสือแทบทุกเล่มมุ่งประเด็นไปยังมุมมองที่ว่า เบื้องหลังของ
                    ่
การสูญหายนี้ มาจากเทคโนโลยีของสิงทรงภูมิปัญญามากกว่าประเด็นอื่น เช่นมาจากมนุษย์ต่าง
                                      ่
ดาว หรือมนุษย์ที่อาศัยอยู่ใต้มหาสมุทรบริเวณนั้น ต่างก็หาหลักฐานและทฤษฎีมาถกเถียงกัน
และบริเวณสามเหลี่ยมเบอร์มิวดามีอาณาบริเวณที่กว้างมากจาก ฟลอริด้า-เปอร์โต ริโก-เกาะ
เบอร์มิวดา กินพื้นที่ประมาณ ห้าแสนตารางไมล์ เพราะฉะนั้นการจะค้นหาอะไรๆจาก
สามเหลี่ยมเบอร์มิวดาจึงไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ก็มีองค์กรของรัฐ เอกชน ต่างให้ความสนใจในการ
สารวจ โดยหวังว่าจะเจอหลักฐานอะไรก็ตามที่นามาใช้ไขปริศนาของดินแดนบริเวณนี้ได้ .
และมีนักบินขีเ่ ครื่องบินสามลาแล้วหายไปในสามเหลี่ยมเบอร์มิวดา
มีนักวิทยาศาสตร์ นักวิชาการ นักสมุทรวิทยา และอีกหลายอาชีพ ให้ความเห็นและทฤษฎีเกี่ยวกับ
สามเหลี่ยมเบอร์มิวดา มาดังนี้
1.ทฤษฎีที่ว่า อาจจะเป็นไปได้ที่บริเวณสามเหลี่ยมเบอร์มิวดานั้น ตั้งอยู่ในจุดสมดุลของสนามแม่เหล็ก
ไฟฟ้า กับพลังของสนามแห่งแรงโน้มถ่วงพอดี ซึงทาให้เกิดช่องว่างของอีกมิติหนึ่งในห้วงเวลาอวกาศ
                                                   ่
และเมื่อเรือหรือเครื่องบินแล่นเข้าสู่ช่องว่างแห่งนี้ ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางมิติหายลับไปทันที แต่
เนื่องจากว่าวิทยาการทางเทคนิคของเราในปัจจุบันนี้ยังไม่มีความรู้พอที่จะแก้ไขสถานการณ์อันนี้ได้ การ
หายสาบสูญของพวกเรา ก็เป็นไปในทานอง เดินทางเดียว เท่านั้น คือเมื่อมิติถูกเปลี่ยนไปแล้ว ก็ไม่
อาจจะทาให้กลับคืนสู่มิติเดิมได้ ส่วนสิ่งมีชีวิตปัญญาสูงจากนอกโลกที่มาจากจานบิน คงจะทราบและ
เข้าใจในกฎเกณฑ์อันนี้เป็นอย่างดีจงได้ใช้ช่องว่างที่เกิดจากสมดุลอันนี้ เป็น ประตู ทางเข้าออกในการ
                                   ึ
เปลี่ยนแปลงทางมิติเพื่อเข้าสู่โลก ด้วยเหตุจึงมีผู้พบเห็นจานบินบ่อยๆ (สามเหลี่ยมเบอร์มิวดาเป็น
สถานที่ซงมีผู้พบเห็นจานบินบ่อยทีสดและมากที่สุดในโลก) และมันจะหายตัวไปแบบฉับพลัน ซึ่งตอน
           ึ่                        ่ ุ
นั้นเองที่จานบินเปิดประตูมิติ เรือหรือเครื่องบินผ่านมาบริเวณนั้นพอดี ก็เลยแล่นเข้าสู่ประตูมิติ
2.ทฤษฎีที่ว่า บริเวณใต้สามเหลี่ยมเบอร์มิวดานั้นเป็นจุดที่ อาณาจักรแอตแลนติสจมลง ซึ่งเป็นที่รู้กันดีว่า
ชาวแอตแลนติสมีความเจริญรุ่งเรืองมาก ต้องมีพลังงานอะไรบางอย่างที่ชาวแอตแลนติสสร้างเอาไว้ ทา
ให้เรือและเครื่องบินบริเวณนั้นหายสาบสูญแบบไร้ร่องรอย
3.ทฤษฎีที่ว่า บริเวณสามเหลี่ยมเบอร์มิวดา เป็นเหมือนสถานีที่สิ่งมีชีวิตที่ทรงปัญญากว่ามาสร้างเอาไว้
เพราะหลายต่อหลายครั้งที่มีผคนพบเห็นแสงไฟจากใต้น้าบ้าง จานบินใต้น้าบ้างและก็มีผู้พบเห็นจานบิน
                             ู้
โผล่ขึ้นมาจากน้า ดาดิ่งลงไปในน้า ความเร็ว 150 นอตต่อชั่วโมงเท่ากับเฮลิคอปเตอร์ และในปัจจุบนก็   ั
ยังไม่มีเรือดาน้าให้ทาความเร็วได้ขนาดนั้น บริเวณสามเหลี่ยมเบอร์มิวดาเป็นจุดที่พบเห็นจานบินบ่อย
และมากที่สุดในโลก เพราะบริเวณสามเหลี่ยมเบอร์มิวดาเป็นจุดบอดของสนามแม่เหล็กจึงสามารถทาให้
สามารถนายานลงจอดซึ่งมีไม่กี่แห่งบนโลก
4.ทฤษฎีที่ว่า มีสิ่งมีชีวิตที่มีภูมิปัญญาอยู่ใต้ท้องมหาสมุทร ตามหลักของชีววิทยา สิ่งมีชีวิตจะเริ่มต้น
มาจากทะเลก่อน และเนื่องมากจากท้องทะเลมีอาณาเขตมากกว่าพื้นดินถึงสองเท่า มนุษย์ใต้มหาสมุทร
เหล่านี้จึงมีเนื้อทีสาหรับ การแพร่ขยายพันธุ์มากกว่าเรา และจากเหตุที่พวกนี้ได้เกิดขึนก่อนมนุษย์เรา
                     ่                                                             ้
ดังนั้น การพัฒนาทางเทคนิคของพวก เขาก็คงล้าหน้าไปกว่าเรามากทีเดียว เท่าที่ผ่านมาเป็นเวลานาน
มนุษย์ใต้สมุทรเหล่านี้จะไม่ติดต่อเกี่ยวข้องอันใดกับพวกเรา ถือว่าต่างคนต่างอยู่ แต่จากความก้าวหน้า
ทางเทคนิคของพวกเราในปัจจุบัน อาจจะทาให้เกิดอันตรายต่อสภาพแวดล้อมของพวกเขาได้ พวกนี้จึง
เปลี่ยน นโยบายที่วาต่างคนต่างอยู่ ออกมาสังเกตความเป็นไปของชาวเรา ทีอยู่บนพื้นโลกอย่างลับๆ
                       ่                                                ่
และเงียบสงบ ซึงบางทีบริเวณสามเหลี่ยมเบอร์มิวดา อาจเป็นบริเวณทีสะดวกที่สุดที่พวกเขาจะออกมา
                   ่                                                ่
สารวจโลกเบื้องบน
5.ทฤษฎีที่ว่า เป็นจุดที่มีแรงดึงดูดของโลกมากที่สุด เนื่องจากแรงดึงดูดของบริเวณนี้สงกว่า
                                                                                  ู
บริเวณอื่น จะทาให้เครื่องบิน หรือเรือ จมลงทะเล
6.ทฤษฎีที่ว่า เป็นบริเวณที่สนามแม่เหล็กมีความเข้มข้นสูงที่สุด ซึ่งจะทาให้เครื่องบิน หรือเรือที่
ใช้เครื่องยนต์ โดนสนามแม่เหล็กทาให้เครื่องยนต์เสียหาย และจมลงในที่สด   ุ
7.ทฤษฏีที่ว่า เป็นบริเวณของประตูเวลาที่เกิดขึ้นโดยตัวเรายังคงอยู่ที่เดิมในขณะที่กาลเวลา
เปลี่ยนแปลงไป หรือที่เรารู้จักมักคุ้นกันในนามของไทม์แมชชีนนั่นเองซึ่งหลังจากที่ประตูเวลาปิด
ตัวลง
เมื่อนั้นเวลาจะคืนกลับเป็นปัจจุบันเราจึงไม่สามารถหาสถานที่แห่งนั้นได้
www.wikipedia.com
www.google.co.th
www.dek-d.com/writer

More Related Content

Viewers also liked

ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์krunimsocial
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้krunimsocial
 
เนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาเนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาkrunimsocial
 
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์krunimsocial
 
แผนย่อ ส 23104
แผนย่อ ส 23104แผนย่อ ส 23104
แผนย่อ ส 23104krunimsocial
 

Viewers also liked (9)

North america
North americaNorth america
North america
 
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
 
เนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาเนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกา
 
South america
South americaSouth america
South america
 
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
 
แผนย่อ ส 23104
แผนย่อ ส 23104แผนย่อ ส 23104
แผนย่อ ส 23104
 
แผนการเรียนรู้ฉบับย่อ ปี 56
แผนการเรียนรู้ฉบับย่อ ปี 56แผนการเรียนรู้ฉบับย่อ ปี 56
แผนการเรียนรู้ฉบับย่อ ปี 56
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 

Similar to เบอร์มิวด้า

สามเหลี่ยมเบอร์มิวด้า
สามเหลี่ยมเบอร์มิวด้าสามเหลี่ยมเบอร์มิวด้า
สามเหลี่ยมเบอร์มิวด้าwattanaandtam
 
สามเหลี่ยมเบอร์มิวด้า
สามเหลี่ยมเบอร์มิวด้าสามเหลี่ยมเบอร์มิวด้า
สามเหลี่ยมเบอร์มิวด้าwattanaandtam
 

Similar to เบอร์มิวด้า (6)

ภาพประกอบ
ภาพประกอบภาพประกอบ
ภาพประกอบ
 
สามเหลี่ยมเบอร์มิวด้า
สามเหลี่ยมเบอร์มิวด้าสามเหลี่ยมเบอร์มิวด้า
สามเหลี่ยมเบอร์มิวด้า
 
สามเหลี่ยมเบอร์มิวด้า
สามเหลี่ยมเบอร์มิวด้าสามเหลี่ยมเบอร์มิวด้า
สามเหลี่ยมเบอร์มิวด้า
 
110
110110
110
 
1101
11011101
1101
 
11
1111
11
 

More from krunimsocial

กิจกรรมที่ 6
กิจกรรมที่ 6กิจกรรมที่ 6
กิจกรรมที่ 6krunimsocial
 
แผนฉบับย่อนิ่ม
แผนฉบับย่อนิ่มแผนฉบับย่อนิ่ม
แผนฉบับย่อนิ่มkrunimsocial
 
กิจกรรมที่ 5 ใหม่
กิจกรรมที่ 5 ใหม่กิจกรรมที่ 5 ใหม่
กิจกรรมที่ 5 ใหม่krunimsocial
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5krunimsocial
 
กิจกรรมที่ 4 ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 4  ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือกิจกรรมที่ 4  ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 4 ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือkrunimsocial
 
กิจกรรมที่ 4 ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 4  ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือกิจกรรมที่ 4  ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 4 ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือkrunimsocial
 
กิจกรรมที่ 3 ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 3  ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือกิจกรรมที่ 3  ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 3 ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือkrunimsocial
 
แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1krunimsocial
 
แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1krunimsocial
 
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนืออเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือkrunimsocial
 
41d5dac4a241371f711e9fc166159850
41d5dac4a241371f711e9fc16615985041d5dac4a241371f711e9fc166159850
41d5dac4a241371f711e9fc166159850krunimsocial
 
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนืออเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือkrunimsocial
 
กิจกรรมที่ 1 สารสนเทศทางภูมิศาสตร์
กิจกรรมที่ 1 สารสนเทศทางภูมิศาสตร์กิจกรรมที่ 1 สารสนเทศทางภูมิศาสตร์
กิจกรรมที่ 1 สารสนเทศทางภูมิศาสตร์krunimsocial
 
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุขเรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุขkrunimsocial
 
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุขเรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุขkrunimsocial
 

More from krunimsocial (15)

กิจกรรมที่ 6
กิจกรรมที่ 6กิจกรรมที่ 6
กิจกรรมที่ 6
 
แผนฉบับย่อนิ่ม
แผนฉบับย่อนิ่มแผนฉบับย่อนิ่ม
แผนฉบับย่อนิ่ม
 
กิจกรรมที่ 5 ใหม่
กิจกรรมที่ 5 ใหม่กิจกรรมที่ 5 ใหม่
กิจกรรมที่ 5 ใหม่
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
กิจกรรมที่ 4 ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 4  ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือกิจกรรมที่ 4  ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 4 ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
 
กิจกรรมที่ 4 ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 4  ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือกิจกรรมที่ 4  ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 4 ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
 
กิจกรรมที่ 3 ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 3  ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือกิจกรรมที่ 3  ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 3 ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ
 
แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1
 
แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1
 
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนืออเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือ
 
41d5dac4a241371f711e9fc166159850
41d5dac4a241371f711e9fc16615985041d5dac4a241371f711e9fc166159850
41d5dac4a241371f711e9fc166159850
 
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนืออเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือ
 
กิจกรรมที่ 1 สารสนเทศทางภูมิศาสตร์
กิจกรรมที่ 1 สารสนเทศทางภูมิศาสตร์กิจกรรมที่ 1 สารสนเทศทางภูมิศาสตร์
กิจกรรมที่ 1 สารสนเทศทางภูมิศาสตร์
 
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุขเรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
 
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุขเรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
 

เบอร์มิวด้า

  • 1.
  • 2. สามเหลี่ยมเบอร์มิวดา (Bermuda Triangle) เป็นบริเวณสมมติในมหาสมุทรแอตแลนติก มีเนื้อที่ประมาณ 1.2 ตร.กม. อยู่ระหว่างจุด 3 จุดที่ไม่เป็นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า ได้แก่ เปอร์โตริโก ปลายสุดของมลรัฐฟลอริดาในสหรัฐอเมริกา และเกาะเบอร์มิวดาซึ่ง เป็นดินแดนในปกครองของสหราชอาณาจักรสามเหลี่ยมเบอร์มิวดาเป็นที่รู้จักทาง สื่อมวลชนอย่าแพร่หลาย หลังจากที่ค้นพบว่าคุณสมบัติทางฟิสิกส์ต่างๆ ไม่เป็นไปตามกฎ พื้นฐาน สามเหลี่ยมเบอร์มิวดา เริ่มเป็นที่รู้จักในปี ี พ.ศ. 2494 (ค.ศ. 1951) หลังจาก ที่มีเรือขนาดใหญ่หายสาบสูญภายในบริเวณสามเหลี่ยม รวมถึงเครื่องบินและเรือขนาด เล็กอื่นๆ จนได้รับขนานนามว่า "สามเหลี่ยมปีศาจ " (The Devil's Triangle)
  • 3. ที่มา ศัพท์คาว่า "สามเหลี่ยมเบอร์มิวดา" หรือ "Bermuda Triangle" นี้ มีที่มาจาก บทความนิตยสารอาร์กอสซี่ เจ้าของบทความชื่อ Vincent H. Gaddis ได้นาเสนอเรื่องราวของ เรือและเครื่องบินทีสาบสูญไปอย่างลึกลับโดยปราศจากคาอธิบายในนิตยสารดังกล่าว เมื่อปี ่ ค.ศ. 1964 แต่ แกดดิส ไม่ได้เป็นคนแรกที่สงเกตเรื่องนี้ ก่อนหน้าในปี ค.ศ. 1952 ั นาย George X. Sands เสนอเรื่องทานองนี้เช่นกันในนิตยสาร Fate เนื้อหากล่าวถึงปริมาณของ เรือและเครื่องบินทีสาบสูญไปอย่างผิดปกติในบริเวณน่านน้าดังกล่าว ซึ่งยอดสูญหายนี้มัน ่ มากเกินไปกว่าที่จะสันนิษฐานว่าเป็นอุบัติเหตุ
  • 4. ต่อมาถัดมาในปี ค.ศ. 1969 นายวอลเลซ สเปนเซอร์ ได้เขียนหนังสือว่าด้วยสามเหลี่ยม ปริศนานี้โดยเฉพาะออกจาหน่ายในชื่อว่า "Limbo of the Lost" ถัดจากนั้นก็มีหนังสือ ออกจาหน่ายตามมาอีกมากมายเกี่ยวกับความลึกลับของสามเหลี่ยมเบอร์มิวดา ซึ่งก็มียอด จาหน่ายดีแทบทุกเล่ม ที่มีชื่อเสียงเป็นพิเศษคือบทความทีมีชื่อว่า "The Devil's Triangle" ตีพิมพ์ ่ ในปี ค.ศ. 1974 ซึ่งเนื้อหาสาหรับเป็นที่ชื่นชอบความลึกลับเกี่ยวกับสามเหลี่ยเบอร์มิวดา เป็นอันมาก เป็นทีน่าสังเกตคือ หนังสือแทบทุกเล่มมุ่งประเด็นไปยังมุมมองที่ว่า เบื้องหลังของ ่ การสูญหายนี้ มาจากเทคโนโลยีของสิงทรงภูมิปัญญามากกว่าประเด็นอื่น เช่นมาจากมนุษย์ต่าง ่ ดาว หรือมนุษย์ที่อาศัยอยู่ใต้มหาสมุทรบริเวณนั้น ต่างก็หาหลักฐานและทฤษฎีมาถกเถียงกัน และบริเวณสามเหลี่ยมเบอร์มิวดามีอาณาบริเวณที่กว้างมากจาก ฟลอริด้า-เปอร์โต ริโก-เกาะ เบอร์มิวดา กินพื้นที่ประมาณ ห้าแสนตารางไมล์ เพราะฉะนั้นการจะค้นหาอะไรๆจาก สามเหลี่ยมเบอร์มิวดาจึงไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ก็มีองค์กรของรัฐ เอกชน ต่างให้ความสนใจในการ สารวจ โดยหวังว่าจะเจอหลักฐานอะไรก็ตามที่นามาใช้ไขปริศนาของดินแดนบริเวณนี้ได้ . และมีนักบินขีเ่ ครื่องบินสามลาแล้วหายไปในสามเหลี่ยมเบอร์มิวดา
  • 5. มีนักวิทยาศาสตร์ นักวิชาการ นักสมุทรวิทยา และอีกหลายอาชีพ ให้ความเห็นและทฤษฎีเกี่ยวกับ สามเหลี่ยมเบอร์มิวดา มาดังนี้ 1.ทฤษฎีที่ว่า อาจจะเป็นไปได้ที่บริเวณสามเหลี่ยมเบอร์มิวดานั้น ตั้งอยู่ในจุดสมดุลของสนามแม่เหล็ก ไฟฟ้า กับพลังของสนามแห่งแรงโน้มถ่วงพอดี ซึงทาให้เกิดช่องว่างของอีกมิติหนึ่งในห้วงเวลาอวกาศ ่ และเมื่อเรือหรือเครื่องบินแล่นเข้าสู่ช่องว่างแห่งนี้ ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางมิติหายลับไปทันที แต่ เนื่องจากว่าวิทยาการทางเทคนิคของเราในปัจจุบันนี้ยังไม่มีความรู้พอที่จะแก้ไขสถานการณ์อันนี้ได้ การ หายสาบสูญของพวกเรา ก็เป็นไปในทานอง เดินทางเดียว เท่านั้น คือเมื่อมิติถูกเปลี่ยนไปแล้ว ก็ไม่ อาจจะทาให้กลับคืนสู่มิติเดิมได้ ส่วนสิ่งมีชีวิตปัญญาสูงจากนอกโลกที่มาจากจานบิน คงจะทราบและ เข้าใจในกฎเกณฑ์อันนี้เป็นอย่างดีจงได้ใช้ช่องว่างที่เกิดจากสมดุลอันนี้ เป็น ประตู ทางเข้าออกในการ ึ เปลี่ยนแปลงทางมิติเพื่อเข้าสู่โลก ด้วยเหตุจึงมีผู้พบเห็นจานบินบ่อยๆ (สามเหลี่ยมเบอร์มิวดาเป็น สถานที่ซงมีผู้พบเห็นจานบินบ่อยทีสดและมากที่สุดในโลก) และมันจะหายตัวไปแบบฉับพลัน ซึ่งตอน ึ่ ่ ุ นั้นเองที่จานบินเปิดประตูมิติ เรือหรือเครื่องบินผ่านมาบริเวณนั้นพอดี ก็เลยแล่นเข้าสู่ประตูมิติ
  • 6. 2.ทฤษฎีที่ว่า บริเวณใต้สามเหลี่ยมเบอร์มิวดานั้นเป็นจุดที่ อาณาจักรแอตแลนติสจมลง ซึ่งเป็นที่รู้กันดีว่า ชาวแอตแลนติสมีความเจริญรุ่งเรืองมาก ต้องมีพลังงานอะไรบางอย่างที่ชาวแอตแลนติสสร้างเอาไว้ ทา ให้เรือและเครื่องบินบริเวณนั้นหายสาบสูญแบบไร้ร่องรอย 3.ทฤษฎีที่ว่า บริเวณสามเหลี่ยมเบอร์มิวดา เป็นเหมือนสถานีที่สิ่งมีชีวิตที่ทรงปัญญากว่ามาสร้างเอาไว้ เพราะหลายต่อหลายครั้งที่มีผคนพบเห็นแสงไฟจากใต้น้าบ้าง จานบินใต้น้าบ้างและก็มีผู้พบเห็นจานบิน ู้ โผล่ขึ้นมาจากน้า ดาดิ่งลงไปในน้า ความเร็ว 150 นอตต่อชั่วโมงเท่ากับเฮลิคอปเตอร์ และในปัจจุบนก็ ั ยังไม่มีเรือดาน้าให้ทาความเร็วได้ขนาดนั้น บริเวณสามเหลี่ยมเบอร์มิวดาเป็นจุดที่พบเห็นจานบินบ่อย และมากที่สุดในโลก เพราะบริเวณสามเหลี่ยมเบอร์มิวดาเป็นจุดบอดของสนามแม่เหล็กจึงสามารถทาให้ สามารถนายานลงจอดซึ่งมีไม่กี่แห่งบนโลก
  • 7. 4.ทฤษฎีที่ว่า มีสิ่งมีชีวิตที่มีภูมิปัญญาอยู่ใต้ท้องมหาสมุทร ตามหลักของชีววิทยา สิ่งมีชีวิตจะเริ่มต้น มาจากทะเลก่อน และเนื่องมากจากท้องทะเลมีอาณาเขตมากกว่าพื้นดินถึงสองเท่า มนุษย์ใต้มหาสมุทร เหล่านี้จึงมีเนื้อทีสาหรับ การแพร่ขยายพันธุ์มากกว่าเรา และจากเหตุที่พวกนี้ได้เกิดขึนก่อนมนุษย์เรา ่ ้ ดังนั้น การพัฒนาทางเทคนิคของพวก เขาก็คงล้าหน้าไปกว่าเรามากทีเดียว เท่าที่ผ่านมาเป็นเวลานาน มนุษย์ใต้สมุทรเหล่านี้จะไม่ติดต่อเกี่ยวข้องอันใดกับพวกเรา ถือว่าต่างคนต่างอยู่ แต่จากความก้าวหน้า ทางเทคนิคของพวกเราในปัจจุบัน อาจจะทาให้เกิดอันตรายต่อสภาพแวดล้อมของพวกเขาได้ พวกนี้จึง เปลี่ยน นโยบายที่วาต่างคนต่างอยู่ ออกมาสังเกตความเป็นไปของชาวเรา ทีอยู่บนพื้นโลกอย่างลับๆ ่ ่ และเงียบสงบ ซึงบางทีบริเวณสามเหลี่ยมเบอร์มิวดา อาจเป็นบริเวณทีสะดวกที่สุดที่พวกเขาจะออกมา ่ ่ สารวจโลกเบื้องบน
  • 8. 5.ทฤษฎีที่ว่า เป็นจุดที่มีแรงดึงดูดของโลกมากที่สุด เนื่องจากแรงดึงดูดของบริเวณนี้สงกว่า ู บริเวณอื่น จะทาให้เครื่องบิน หรือเรือ จมลงทะเล 6.ทฤษฎีที่ว่า เป็นบริเวณที่สนามแม่เหล็กมีความเข้มข้นสูงที่สุด ซึ่งจะทาให้เครื่องบิน หรือเรือที่ ใช้เครื่องยนต์ โดนสนามแม่เหล็กทาให้เครื่องยนต์เสียหาย และจมลงในที่สด ุ 7.ทฤษฏีที่ว่า เป็นบริเวณของประตูเวลาที่เกิดขึ้นโดยตัวเรายังคงอยู่ที่เดิมในขณะที่กาลเวลา เปลี่ยนแปลงไป หรือที่เรารู้จักมักคุ้นกันในนามของไทม์แมชชีนนั่นเองซึ่งหลังจากที่ประตูเวลาปิด ตัวลง เมื่อนั้นเวลาจะคืนกลับเป็นปัจจุบันเราจึงไม่สามารถหาสถานที่แห่งนั้นได้