SlideShare a Scribd company logo
ความเชื่อเกี่ยวกับ

   การพักผ่อน



    เป็นที่ทราบกันทั่วไปว่าวิธีพักผ่อนที่ดีที่สุดคือการนอน แต่
ไม่ใช่ทุกคนที่จะหลับสบายยามหัวถึงหมอน หรือหลับได้ทุกที่ทุก
สถานการณ์ การนอนสำาคัญและเกี่ยวข้องกับปัจจัยอื่นๆ
มากกว่าที่คุณคิด ถ้าคุณมีอาการนอนไม่หลับ หลับไม่สนิท หรือ
ง่วงหลับประจำาตอนกลางวัน สาเหตุใดที่เป็นปัญหาที่กวนใจ
แท้จริง และปัญหาใดเป็นความเชื่อผิดๆ กันแน่

ความเชื่อ : ขณะนอนหลับพักผ่อน ร่างกายกับสมองจะหยุดพัก
ไปด้วย
ข้อเท็จจริง : ในขณะหลับร่างกายจะหยุดพักผ่อนตามไปด้วย
แต่สมองยังคงทำางานอยู่ การนอนหลับเป็นการลดภาระให้สมอง
ทำางานเบาลง เสมือนว่าได้รับการชาร์ตแบตเตอรีเพื่อเตรียม
พร้อมทำางานในวันต่อไป แต่ก็ยังคงต้องควบคุมการทำางาน
อวัยวะต่างๆ ของร่างกายอยู่ ไม่ว่าจะเป็นระบบหายใจ ระบบ
ประสาท ฯลฯ
ความเชื่อ : ผู้สูงอายุไม่จำาเป็นต้องนอนมาก
ข้อเท็จจริง : ไม่จริง ผู้สูงอายุต้องการนอนหลับพักผ่อนประมาณ
7-9 ชั่วโมงต่อวัน เช่นเดียวกับคนวัยหนุ่มสาวทั่วไป ทั้งนี้อายุที่
มากขึ้น ประกอบกับการทำางานของอวัยวะในร่างกายเริ่มเสื่อม
ไปตามเวลา ทำาให้กิจวัตรประจำาวันเปลี่ยนแปลงไป ส่งผลทำาให้
พฤติกรรมการนอนไม่เหมือนเดิม นอนหลับได้น้อยชั่วโมงลง
หรือหลับๆ ตืนๆ ตลอดคืน แต่ไม่ว่านอนหลับได้ไม่เต็มอิม
            ่                                      ่
อย่างไร ร่างกายก็ยังคงต้องการเวลาพักผ่อนให้ได้ 7-9 ชั่วโมง




ความเชื่อ : การนอนหลับพักผ่อนน้อยเป็นประจำา ร่างกายจะชิน
และไม่ต้องการนอนมากอย่างที่เคย
ข้อเท็จจริง : ไม่จริง เคยมีการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องการนอนว่า ใน
วัยผู้ใหญ่หากนอนให้ได้ประมาณ 7-9 ชั่วโมงทุกวัน จะส่งผลให้
สุขภาพร่างกายโดยรวมดีอย่างน่าทึ่ง หากวันไหนนอนหลับได้
ไม่เพียงพอ ร่างกายก็จะชดเชยชั่วโมงนอนที่ขาดรวมกับชั่วโมง
นอนในอีก 2-3 คืนถัดไป ไม่ว่าเราจะนอนน้อยเป็นประจำาหรือ
อดนอนเป็นประจำาแค่ไหน ร่างกายไม่มีวันชินหรือยอมรับให้
นอนน้อยได้ตลอด เพราะเป็นการฝืนธรรมชาติการพักผ่อนที่
ร่างกายต้องการ
ความเชื่อ : ง่วงหาวตอนกลางวันแสดงว่านอนไม่พอ
ข้อเท็จจริง : จริง สาเหตุของอาการง่วงหาวตอนกลางวันอาจมี
ส่วนหนึ่งมาจากการพักผ่อนที่ไม่เพียง พอ แต่ก็อาจเกิดกับคน
ที่นอนหลับเต็มอิ่มได้ด้วย และถ้าง่วงผิดสังเกตอาจเป็นสัญญาณ
เตือนว่ามีเรื่องสุขภาพอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น การกรนหรือ
หยุดหายใจขณะหลับ ทำาให้ร่างกายขาดการพักผ่อนอย่างเต็มที่
จำาเป็นต้องไปปรึกษาแพทย์ต่อไป




ความเชื่อ : นอนน้อยมีผลต่อนำ้าหนัก
ข้อเท็จจริง : จริง หากนอนหลับไม่เพียงพอก็จะส่งผลต่อระบบ
ฮอร์โมนในร่างกาย โดยเฉพาะฮอร์โมนเลปตินและเกรลิน ส่งผล
ทำาให้นำ้าหนักเพิ่มขึ้นได้ ฮอร์โมนทั้ง 2 ทำาหน้าที่มีหน้าที่ควบคุม
และสร้างสมดุลความต้องการอาหาร ฮอร์โมนเกรลินถูกผลิตขึ้น
ในระบบทางเดินอาหาร มีหน้าที่กระตุ้นความอยากอาหาร ใน
ขณะที่เลปตินถูกผลิตในเซลล์ไขมัน ทำาหน้าที่ส่งสัญญาณรับรู้
ว่าอิ่มไปยังสมอง เมื่อได้รับอาหารพอดีกับความต้องการ ดังนั้น
หากนอนหลับไม่เพียงพอ จะส่งผลทำาให้ระดับเลปตินตำ่าลง
ร่างกายไม่รู้สึกอิ่มอย่างที่ควรจะเป็น ตรงกันข้ามฮอร์โมนเกรลิน
จะเพิ่มมากขึ้น ทำาให้ความอยากอาหารเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นจึง
ทำาให้ร่างกายรับประทานอาหารเกินพอดี นำ้าหนักก็เพิ่มมากขึ้น
ดังนั้นการนอนหลับให้เพียงพอประมาณ 7-9 ชั่วโมงต่อวัน
เป็นการสร้างเสริมสุขภาพร่างกายที่ดีที่สุด




ที่มาข้อมูล :นิตยสาร Health Today

More Related Content

Viewers also liked

Onet 52
Onet 52 Onet 52
Onet 52
1234 Payoon
 
การอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้องการอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้องsapatchanook
 
Science direc new
Science direc newScience direc new
Science direc newsunshine515
 
Science direc new
Science direc newScience direc new
Science direc newsunshine515
 
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ปี54ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ปี54limitedbuff
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 03. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0just2miwz
 
Usaha energi revisi
Usaha energi revisiUsaha energi revisi
Usaha energi revisi
hendri5
 
Arc visitor
Arc visitorArc visitor
Arc visitor
joyyping
 
Mid term review key
Mid term review keyMid term review key
Mid term review key
farrellw
 
Estrutura Atomica
Estrutura AtomicaEstrutura Atomica
Estrutura Atomica
José Miguel Dos Santos
 
เปลือกโลก
  เปลือกโลก  เปลือกโลก
เปลือกโลก
Aobinta In
 
Mille crepe cake with raspberry sauce
Mille crepe cake with raspberry sauceMille crepe cake with raspberry sauce
Mille crepe cake with raspberry sauce
Sompoii Tnpc
 
English
EnglishEnglish
Perubahan struktur kromosom
Perubahan struktur kromosomPerubahan struktur kromosom
Perubahan struktur kromosomNur Afdaliyah A
 
ใบความรู้เรื่องบล็อก
ใบความรู้เรื่องบล็อกใบความรู้เรื่องบล็อก
ใบความรู้เรื่องบล็อก
Kanravee Chawalit
 
ใบงานสำรวจตนเอง นส ณัฐริกา กอนแก้ว
ใบงานสำรวจตนเอง นส ณัฐริกา  กอนแก้วใบงานสำรวจตนเอง นส ณัฐริกา  กอนแก้ว
ใบงานสำรวจตนเอง นส ณัฐริกา กอนแก้วNuttarika Kornkeaw
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนVilaiwun Bunya
 
Nutri7 Mo
Nutri7 MoNutri7 Mo
Nutri7 Mo
lab_biologia
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8Porna Saow
 

Viewers also liked (19)

Onet 52
Onet 52 Onet 52
Onet 52
 
การอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้องการอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้อง
 
Science direc new
Science direc newScience direc new
Science direc new
 
Science direc new
Science direc newScience direc new
Science direc new
 
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ปี54ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ปี54
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 03. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
 
Usaha energi revisi
Usaha energi revisiUsaha energi revisi
Usaha energi revisi
 
Arc visitor
Arc visitorArc visitor
Arc visitor
 
Mid term review key
Mid term review keyMid term review key
Mid term review key
 
Estrutura Atomica
Estrutura AtomicaEstrutura Atomica
Estrutura Atomica
 
เปลือกโลก
  เปลือกโลก  เปลือกโลก
เปลือกโลก
 
Mille crepe cake with raspberry sauce
Mille crepe cake with raspberry sauceMille crepe cake with raspberry sauce
Mille crepe cake with raspberry sauce
 
English
EnglishEnglish
English
 
Perubahan struktur kromosom
Perubahan struktur kromosomPerubahan struktur kromosom
Perubahan struktur kromosom
 
ใบความรู้เรื่องบล็อก
ใบความรู้เรื่องบล็อกใบความรู้เรื่องบล็อก
ใบความรู้เรื่องบล็อก
 
ใบงานสำรวจตนเอง นส ณัฐริกา กอนแก้ว
ใบงานสำรวจตนเอง นส ณัฐริกา  กอนแก้วใบงานสำรวจตนเอง นส ณัฐริกา  กอนแก้ว
ใบงานสำรวจตนเอง นส ณัฐริกา กอนแก้ว
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
Nutri7 Mo
Nutri7 MoNutri7 Mo
Nutri7 Mo
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8
 

ความเชื่อเกี่ยวกับ

  • 1. ความเชื่อเกี่ยวกับ การพักผ่อน เป็นที่ทราบกันทั่วไปว่าวิธีพักผ่อนที่ดีที่สุดคือการนอน แต่ ไม่ใช่ทุกคนที่จะหลับสบายยามหัวถึงหมอน หรือหลับได้ทุกที่ทุก สถานการณ์ การนอนสำาคัญและเกี่ยวข้องกับปัจจัยอื่นๆ มากกว่าที่คุณคิด ถ้าคุณมีอาการนอนไม่หลับ หลับไม่สนิท หรือ ง่วงหลับประจำาตอนกลางวัน สาเหตุใดที่เป็นปัญหาที่กวนใจ แท้จริง และปัญหาใดเป็นความเชื่อผิดๆ กันแน่ ความเชื่อ : ขณะนอนหลับพักผ่อน ร่างกายกับสมองจะหยุดพัก ไปด้วย ข้อเท็จจริง : ในขณะหลับร่างกายจะหยุดพักผ่อนตามไปด้วย แต่สมองยังคงทำางานอยู่ การนอนหลับเป็นการลดภาระให้สมอง ทำางานเบาลง เสมือนว่าได้รับการชาร์ตแบตเตอรีเพื่อเตรียม พร้อมทำางานในวันต่อไป แต่ก็ยังคงต้องควบคุมการทำางาน อวัยวะต่างๆ ของร่างกายอยู่ ไม่ว่าจะเป็นระบบหายใจ ระบบ ประสาท ฯลฯ
  • 2. ความเชื่อ : ผู้สูงอายุไม่จำาเป็นต้องนอนมาก ข้อเท็จจริง : ไม่จริง ผู้สูงอายุต้องการนอนหลับพักผ่อนประมาณ 7-9 ชั่วโมงต่อวัน เช่นเดียวกับคนวัยหนุ่มสาวทั่วไป ทั้งนี้อายุที่ มากขึ้น ประกอบกับการทำางานของอวัยวะในร่างกายเริ่มเสื่อม ไปตามเวลา ทำาให้กิจวัตรประจำาวันเปลี่ยนแปลงไป ส่งผลทำาให้ พฤติกรรมการนอนไม่เหมือนเดิม นอนหลับได้น้อยชั่วโมงลง หรือหลับๆ ตืนๆ ตลอดคืน แต่ไม่ว่านอนหลับได้ไม่เต็มอิม ่ ่ อย่างไร ร่างกายก็ยังคงต้องการเวลาพักผ่อนให้ได้ 7-9 ชั่วโมง ความเชื่อ : การนอนหลับพักผ่อนน้อยเป็นประจำา ร่างกายจะชิน และไม่ต้องการนอนมากอย่างที่เคย ข้อเท็จจริง : ไม่จริง เคยมีการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องการนอนว่า ใน วัยผู้ใหญ่หากนอนให้ได้ประมาณ 7-9 ชั่วโมงทุกวัน จะส่งผลให้ สุขภาพร่างกายโดยรวมดีอย่างน่าทึ่ง หากวันไหนนอนหลับได้ ไม่เพียงพอ ร่างกายก็จะชดเชยชั่วโมงนอนที่ขาดรวมกับชั่วโมง นอนในอีก 2-3 คืนถัดไป ไม่ว่าเราจะนอนน้อยเป็นประจำาหรือ อดนอนเป็นประจำาแค่ไหน ร่างกายไม่มีวันชินหรือยอมรับให้ นอนน้อยได้ตลอด เพราะเป็นการฝืนธรรมชาติการพักผ่อนที่ ร่างกายต้องการ
  • 3. ความเชื่อ : ง่วงหาวตอนกลางวันแสดงว่านอนไม่พอ ข้อเท็จจริง : จริง สาเหตุของอาการง่วงหาวตอนกลางวันอาจมี ส่วนหนึ่งมาจากการพักผ่อนที่ไม่เพียง พอ แต่ก็อาจเกิดกับคน ที่นอนหลับเต็มอิ่มได้ด้วย และถ้าง่วงผิดสังเกตอาจเป็นสัญญาณ เตือนว่ามีเรื่องสุขภาพอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น การกรนหรือ หยุดหายใจขณะหลับ ทำาให้ร่างกายขาดการพักผ่อนอย่างเต็มที่ จำาเป็นต้องไปปรึกษาแพทย์ต่อไป ความเชื่อ : นอนน้อยมีผลต่อนำ้าหนัก ข้อเท็จจริง : จริง หากนอนหลับไม่เพียงพอก็จะส่งผลต่อระบบ ฮอร์โมนในร่างกาย โดยเฉพาะฮอร์โมนเลปตินและเกรลิน ส่งผล ทำาให้นำ้าหนักเพิ่มขึ้นได้ ฮอร์โมนทั้ง 2 ทำาหน้าที่มีหน้าที่ควบคุม และสร้างสมดุลความต้องการอาหาร ฮอร์โมนเกรลินถูกผลิตขึ้น ในระบบทางเดินอาหาร มีหน้าที่กระตุ้นความอยากอาหาร ใน ขณะที่เลปตินถูกผลิตในเซลล์ไขมัน ทำาหน้าที่ส่งสัญญาณรับรู้ ว่าอิ่มไปยังสมอง เมื่อได้รับอาหารพอดีกับความต้องการ ดังนั้น หากนอนหลับไม่เพียงพอ จะส่งผลทำาให้ระดับเลปตินตำ่าลง ร่างกายไม่รู้สึกอิ่มอย่างที่ควรจะเป็น ตรงกันข้ามฮอร์โมนเกรลิน จะเพิ่มมากขึ้น ทำาให้ความอยากอาหารเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นจึง ทำาให้ร่างกายรับประทานอาหารเกินพอดี นำ้าหนักก็เพิ่มมากขึ้น