SlideShare a Scribd company logo
เอกสารประกอบการสอนเอกสารประกอบการสอน
รหัสรหัส 33000000--11442288
วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูงหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง พุทธศักราชพุทธศักราช 22554466
สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการกระทรวงศึกษาธิการ
เรียบเรียงโดยเรียบเรียงโดย
ไตไตรภพรภพ เทียบพิมพ์เทียบพิมพ์ ศศษษ..มม.. ((วิทยาศาสตร์ศึกษาวิทยาศาสตร์ศึกษา))
เอกสารประกอบการสอนเอกสารประกอบการสอน
รหัสรหัส33000000--11442288
วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูงหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง พุทธศักราชพุทธศักราช 22554466
สํานักงานคณะกรรมการสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการกระทรวงศึกษาธิการ
เรียบเรียงโดยเรียบเรียงโดย
ไตรภพไตรภพ เทียบพิมพ์เทียบพิมพ์ ศษศษ..มม.. ((วิทยาศาสตร์ศึกษาวิทยาศาสตร์ศึกษา))
คํานํา
เนืองจากการจัดการเรียนการสอน วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (3000-1428)
เป็นไปด้วยความยากลําบาก และสับสน เนืองจากเป็นวิชาปฏิบัติ ซึงต้องใช้เวลานอกเหนือจากการ
เรียนการสอนปกติในการทําเป็นส่วนใหญ่ หาตําราทีใช้ประกอบการเรียนการสอนได้ยาก ตําราเรียนที
มีอยู่ในท้องตลาดก็มีเนือหาน้อย ไม่มีรายละเอียดเพียงพอทีจะยึดเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการ
สอนได้ จากเหตุผลดังกล่าว ทําให้ผู้เรียบเรียงได้จัดทําเอกสารประกอบการสอนเล่มนีขึนมา โดยยึดเอา
จุดประสงค์ของหลักสูตร จุดประสงค์รายวิชา มาตรฐานรายวิชา และคําอธิบายรายวิชา เป็นหลัก เพือ
ใช้เป็นคู่มือและแนวทางในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาดังกล่าว
จากประสบการณ์ในการสอนวิชาโครงงานฯ มากว่า 30 ปี ทําให้ทราบปัญหาต่างๆ ทีเกิดจาก
การเรียนการสอนเป็นอย่างดี จึงจัดทําเอกสารเล่มนีขึนมาเพือแก้ปัญหาดังกล่าว เอกสารเล่มนีจะบอก
วิธีการ ขันตอน ตลอดจนแนวทางในการทําโครงงานอย่างละเอียด ไม่ว่าจะเป็นการเลือกหัวข้อ
โครงงาน การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ การดําเนินงาน การออกแบบการทดลอง กําหนดตัวแปร สร้าง
แบบสอบถาม แบบประเมิน ตารางบันทึกผล การอภิปรายและสรุปผลการดําเนินงาน ตลอดจนการ
วิเคราะห์และประเมินโครงงาน เพือตรวจสอบคุณภาพของโครงงานทีจัดทํา
เอกสารเล่มนีเป็นแนวทางในการดําเนินการเท่านัน ครูผู้สอนอาจประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับ
ธรรมชาติหรือบริบทของการจัดการเรียนการสอน โดยไม่จําเป็นต้องสอนตามลําดับเนือหาในบทเรียน
ครูผู้สอนจะดําเนินการสอนเนือหาใดก่อนก็ได้ ทีคิดว่ามีความเหมาะสมกับช่วงเวลา ในการจัดทํา
โครงงานในแต่ละภาคเรียน
ผู้เรียบเรียงหวังเป็นอย่างยิงว่า เอกสารประกอบการสอนเล่มนี จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน
นักเรียน นักศึกษา ครู อาจารย์ และผู้สนใจไม่มากก็น้อย หากมีข้อผิดพลาดประการใด ผู้เรียบเรียงขอ
น้อมรับ และยินดีรับข้อเสนอแนะด้วยความขอบคุณยิง
ไตรภพ เทียบพิมพ์
จุดประสงค์รายวิชา
1. เพือให้ผู้เรียนสามารถบูรณาการความรู้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ไปประยุกต์ใช้ในการทําโครงงานวิทยาศาสตร์
2. เพือให้ผู้เรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ ด้วยการทํางานเป็นทีม
วางแผน ออกแบบ เขียนรายงาน และเสนอผลงานอย่างเป็นระบบ ในเชิงวิจัยทาง
วิทยาศาสตร์
3. เพือให้ผู้เรียนมีเจตคติทีดีต่อการทําโครงงานวิทยาศาสตร์ สามารถสือสารสิงทีเรียนรู้และ
นําความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในวิชาชีพและชีวิตประจําวัน
มาตรฐานรายวิชา
1. บูรณาการความรู้ ทางด้านวิทยาศาสตร์กับวิชาชีพ ในการทําโครงงานวิทยาศาสตร์
2. ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการสืบเสาะหาความรู้แก้ปัญหา
3. นําเสนอผลงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ต่อสาธารณชน
4. สือสารสิงทีเรียนรู้ และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์
คําอธิบายรายวิชา
ศึกษาความหมาย ประเภท และขันตอนการทําโครงงานวิทยาศาสตร์
วางแผนและดําเนินการจัดทําโครงงานวิทยาศาสตร์ เขียนรายงาน
จัดแสดงนิทรรศการ และนําเสนอผลงานโครงงานวิทยาศาสตร์
สารบัญสารบัญ
หน้า
บททีบทที 11 ธรรมชาติของธรรมชาติของวิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์ 11
1. วิทยาศาสตร์คืออะไร 3
2. วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 4
3. ประเภทของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ 6
4. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เกิดขึนได้อย่างไร 8
5. เจตคติทางวิทยาศาสตร์ 10
สรุป 12
แบบฝึกหัดท้ายบท 12
แบบทดสอบท้ายบท 14
บททีบทที 22 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1166
1. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 18
2. ทักษะกระบวนการขันพืนฐาน 18
3. ทักษะกระบวนการขันบูรณาการ 33
สรุป 38
แบบฝึกหัดท้ายบท 38
แบบทดสอบท้ายบท 40
บททีบทที 33 โครงงานวิทยาศาสตร์คืออะไรโครงงานวิทยาศาสตร์คืออะไร 4433
1. โครงงานวิทยาศาสตร์คืออะไร 44
2. หลักการของโครงงานวิทยาศาสตร์ 48
3. จุดมุ่งหมายของโครงงานวิทยาศาสตร์ 48
4. ลักษณะของโครงงานวิทยาศาสตร์ 48
5. คุณค่าของโครงงานวิทยาศาสตร์ 49
6. ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ 51
สรุป 56
แบบฝึกหัดท้ายบท 56
แบบทดสอบท้ายบท 58
บททีบทที 44 การเลือกหัวข้อโครงงานการเลือกหัวข้อโครงงาน 6611
1. การเลือกหัวข้อโครงงาน 62
2. การตังชือโครงงาน 66
3. การศึกษาเอกสารทีเกียวข้อง 69
4. การจัดทําเค้าโครงย่อของโครงงาน 72
สรุป 74
แบบฝึกหัดท้ายบท 74
แบบทดสอบท้ายบท 76
บททีบทที 55 การลงมือทําโครงงานการลงมือทําโครงงาน 7788
1. การเตรียมวัสดุอุปกรณ์และสถานทีในการทําโครงงาน 80
2. การดําเนินงาน 83
2.1 โครงงานประเภทสํารวจและรวบรวมข้อมูล 83
2.2 โครงงานประเภททดลอง 103
2.3 โครงงานประเภทสิงประดิษฐ์ 111
สรุป 114
แบบฝึกหัดท้ายบท 115
แบบทดสอบท้ายบท 117
บททีบทที 66 การเขียนรายการเขียนรายงานงาน 112211
1. รูปแบบการเขียนรายงาน 123
1.1 ตัวพิมพ์ 123
1.2 การจัดหน้ากระดาษ 124
1.3 การจัดหัวข้อในการพิมพ์ 125
2. องค์ประกอบของรายงาน 127
2.1 ส่วนหน้า 127
2.2 ส่วนเนือเรือง 134
2.3 ส่วนอ้างอิง 149
2.4 ส่วนเพิมเติม 152
สรุป 157
แบบฝึกหัดท้ายบท 157
แบบทดสอบท้ายบท 159
บททีบทที 77 การจัดแสดงโครงงานการจัดแสดงโครงงาน 116622
1. การจัดแสดงโครงงาน 164
2. การจัดแผงโครงงาน 166
3. การจัดนิทรรศการประกอบแผงโครงงาน 168
4. การทําแผ่นพับ 169
5. การรายงานปากเปล่า 171
สรุป 173
แบบฝึกหัดท้ายบท 174
แบบทดสอบท้ายบท 175
บททีบทที 88 การการวิเคราะห์และประเมินโครงงานวิเคราะห์และประเมินโครงงาน 117777
1. การวิเคราะห์โครงงาน 179
2. การประเมินโครงงาน 184
3. เครืองมือทีใช้ในการประเมินโครงงาน 186
4. กรอบการประเมินโครงงาน 189
สรุป 195
แบบฝึกหัดท้ายบท 195
แบบทดสอบท้ายบท 198
ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์ทีมีผู้ทําไว้แล้ว 201
1. โครงงานวิทยาศาสตร์อาชีวศึกษา-เอสโซ่ 201
2. โครงงานประเภทสํารวจและรวบรวมข้อมูล 205
3. โครงงานประเภทสิงประดิษฐ์ 206
4. โครงงานประเภทการทดลอง 210
5. โครงงานวิทยาศาสตร์จากสถานศึกษาต่างๆ 218
บรรณานุกรม 219
บททีบทที 11
ธรรมชาติของธรรมชาติของวิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
■ บูรณาการความรู้ทางวิทยาศาสตร์กับวิชาชีพ
ในการทําโครงงานวิทยาศาสตร์
■ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการสืบเสาะ
หาความรู้และแก้ปัญหา
บทที 1 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์
■ สาระการเรียนรู้
1. วิทยาศาสตร์คืออะไร
2. วิธีการทางวิทยาศาสตร์
3. ประเภทของความรู้ทางวิทยาศาสตร์
4. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เกิดขึนได้อย่างไร
5. เจตคติทางวิทยาศาสตร์
■ ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง
เมือศึกษาจบบทเรียนแล้ว นักศึกษาควรจะ
1. บอกหรืออธิบายความหมายของวิทยาศาสตร์ได้
2. บอกความหมายและขันตอนของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ได้
3. บอกหรืออธิบายประเภทของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้
4. บอกหรืออธิบายทีมาของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้
5. ให้ความหมายและรายละเอียดของเจตคติทางวิทยาศาสตร์ได้
1. วิทยาศาสตร์คืออะไร
วิทยาศาสตร์ มาจากคําในภาษาละตินว่า “Scientia” หมายถึงความรู้ ซึงตรงกับคําใน
ภาษาอังกฤษว่า “Science” ทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐได้ให้ความหมายของวิทยาศาสตร์เอาไว้ว่า
วิทยาศาสตร์หมายถึงเนือหาหรือองค์ความรู้ (knowledge) ทีได้จากการศึกษาค้นคว้าและเรียบเรียงไว้
อย่างเป็นระเบียบ และกระบวนการ (process) ในการแสวงหาความรู้ ดังนั นวิทยาศาสตร์จึง
ประกอบด้วยองค์ประกอบ 2 ส่วน ได้แก่
1. เนือหาหรือองค์ความรู้ องค์ความรู้ทีได้รับการยอมรับว่าเป็นวิทยาศาสตร์นัน จะต้องเป็น
ความรู้ทีเป็นจริง สามารถทดลองและพิสูจน์ได้
2. กระบวนการในการเสาะแสวงหาความรู้
■ จงบอกว่าข้อใดเป็นวิทยาศาสตร์และไม่เป็นวิทยาศาสตร์เพราะเหตุใด
ข้อมูล คําตอบ เหตุผล
1. หมาหอนเพราะเห็นผี
2. นํ าแข็งลอยนํ าได้เพราะมีความหนาแน่นน้อยกว่านํ า
3. ถ้ามดขนไข่แสดงว่าฝนจะตก
4. อากาศร้อนจะขยายตัวลอยขึนสู่ทีสูง
5. ถ้าเอามือชีรุ้งกินนํ าแล้วมือจะกุด
6. ดวงอาทิตย์หมุนรอบโลก
7. ถ้าบรรจุนํ าอัดลมเต็มขวดแล้วนําไปแช่แข็งขวดจะแตก
8. นํ าแข็งละลายเพราะได้รับความร้อน
9. วันนีโชคไม่ดีเพราะจิงจกทักตังแต่เช้า
10. เอานํ าทะเลไปต้มจะได้เกลือเค็มๆ
11. เอาแม่เหล็ก 2 แท่งมาใกล้กัน ถ้าไม่ดูดกันก็ผลักกัน
12. วันนีจามทังวันแสดงว่ามีคนคิดถึง
13. วันนีตาเขม่นข้างขวาทังวันอาจจจะมีเรืองไม่ดี
วิทยาศาสตร์ = ความรู้ + กระบวนการในการแสวงหาความรู้
ในการศึกษาค้นคว้าเพือสร้างองค์ความรู้ หรือเพือให้ค้นพบความรู้ใหม่ๆ นัน นักวิทยาศาสตร์
จะใช้วิธีการศึกษาอย่างเป็นระบบ ทีได้รับการยอมรับว่าเป็นวิธีการทีดีทีสุด ในการศึกษาค้นคว้าหา
คําตอบในเรืองทีต้องการศึกษา เรียกวิธีการนีว่าวิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific method) ซึงจะมี
การดําเนินการเป็นขันตอนตามลําดับ นอกจากจะใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์แล้ว ยังต้องใช้ความรู้
ความสามารถ และความชํานาญด้านวิทยาศาสตร์ มาประกอบการศึกษาค้นคว้า ความรู้ความสามารถ
และความชํานาญด้านวิทยาศาสตร์นี เรียกว่าทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Science process
skill)
2. วิธีการทางวิทยาศาสตร์
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ เป็นวิธีการทีนักวิทยาศาสตร์ใช้เป็นแนวทาง ในการศึกษาค้นคว้าหา
คําตอบของปัญหา เพือให้ได้มาซึงข้อเท็จจริง มีลําดับขันตอนต่างๆ ในการดําเนินการ พอสรุปได้ดังนี
1. กําหนดปัญหา
โดยปกติการค้นคว้าหาความรู้หรือข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์ มักจะเริมต้นจากปัญหาหรือข้อ
สงสัยทีต้องการคําตอบ เช่น เมือสตาร์ทรถจักรยานยนต์แล้วเครืองยนต์ไม่ทํางาน ปัญหาทีเกิดขึนก็คือ
เครืองยนต์ไม่ทํางาน รถไม่สามารถวิงได้ ทําให้ต้องการทราบต่อไปอีกว่าเครืองยนต์ไม่ทํางานเพราะ
อะไร หรือเกิดจากสาเหตุใด และจะมีวิธีการอย่างไรทีจะทําให้เครืองยนต์ทํางาน หัวข้อของปัญหาที
กําหนดได้ในกรณีนีคือ มีปัจจัยใดบ้างทีทําให้เครืองยนต์ของรถจักรยานยนต์ ไม่สามารถทํางานได้
นอกจากปัญหานีแล้ว นักศึกษาคงเคยพบหรือสัมผัสกับปัญหาอีกมากมายทีเกิดขึนในชีวิตประจําวัน
■ ยกตัวอย่างปัญหาทีเกิดหรือพบเห็นในชีวิตประจําวันมา4 อย่าง
_____________________________________________________________________
_____________________________________________________________________
_____________________________________________________________________
_____________________________________________________________________
2. ตังสมมติฐาน
การตังสมมติฐาน เป็นการคาดคะเนถึงสาเหตุของปัญหา เพือเป็นแนวทางในการหาคําตอบ
ล่วงหน้าว่าปัญหาทีเกิดขึนนัน น่าจะมีสาเหตุหรือเกิดจากอะไร จะมีวิธีการแก้ไขอย่างไร สมมติฐาน
อาจมีได้มากกว่า 1 ข้อก็ได้ในแต่ละปัญหา สมมติฐานทีตังขึนมาอาจถูกต้องหรือผิดพลาดก็ได้ ซึงเรา
สามารถพิสูจน์ได้จากการทดลอง
■ นักศึกษาคิดว่าการทีเครืองยนต์ของรถจักรยานยนต์ไม่ทํางาน เกิดจากสาเหตุใดได้บ้าง
_____________________________________________________________________
_____________________________________________________________________
_____________________________________________________________________
_____________________________________________________________________
_____________________________________________________________________
3. ทดลอง
เมือตังสมมติฐานหรือคาดคะเนสาเหตุของปัญหาได้แล้วว่าน่าจะเกิดจากสาเหตุใดขันต่อไปก็
คือการทดลอง เพือพิสูจน์ว่าสมมติฐานทีตังขึนมานันถูกต้องหรือไม่ ถ้าปัญหานั นค่อนข้างละเอียด
ซับซ้อน หรือยากแก่การหาคําตอบ ต้องมีการออกแบบการทดลองให้รัดกุม และควบคุมตัวแปร หรือ
ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆ ให้ดี เพือป้องกันความผิดพลาด และอาจจําเป็นต้องทดลองซํ า
หลายครั ง เพือให้ข้อมูลทีได้มีความน่าเชือถือมากทีสุด
■ นักศึกษาคิดว่าข้อใดเป็นสาเหตุ และข้อใดไม่ใช่สาเหตุ ทีทําให้เครืองยนต์ของ
รถจักรยานยนต์ไม่ทํางาน
__________ นํ ามันไม่มี
__________ ยางแบน
__________ ลืมเปิดสวิตซ์กุญแจ
__________ แบตเตอรีไม่มีไฟฟ้า
__________ หัวเทียนไม่มีประกายไฟฟ้า
__________ โซ่ขาด
__________ สายไฟฟ้าแบตเตอรีหลุด
__________ ท่อนํ ามันอุดตัน
__________ นํ าเข้าเครืองยนต์
4. รวบรวม/วิเคราะห์ข้อมูล
เมือทดลองและพิสูจน์สมมติฐานจนได้ผลเป็นทีแน่นอนแล้ว นําข้อมูลทีได้มารวบรวมและจัด
กลุ่มหรือหมวดหมู่ เพือสะดวกต่อการอภิปรายผล ลงข้อสรุปและนําเสนอ ปัญหาบางอย่างอาจมี
คําตอบหลายคําตอบ หรือมีหลายสาเหตุ ดังนั น ต้องมีการจัดข้อมูลให้เป็นระบบ เพือเลือกว่าคําตอบ
ใดหรือวิธีการใดทีเหมาะสมทีสุด หรือดีทีสุดในการแก้ปัญหา
5. สรุปผล
เป็นการลงความเห็นหรือข้อสรุป ในการค้นคว้าหาคําตอบของปัญหา ว่าปัญหาทีเกิดนันเกิด
จากสาเหตุใด และจะมีวิธีการหรือขันตอนอย่างไรในการแก้ปัญหานันๆ ต่อไปถ้ามีปัญหาในลักษณะ
เดียวกันนี ก็สามารถนําวิธีการและข้อสรุปทีได้ไปใช้ในการแก้ปัญหาในครั งต่อไป โดยไม่ต้องทดลอง
ซํ าอีก การสรุปผลนีส่วนมากมักจะนําเสนอ ในลักษณะทีเป็นรูปเล่มของรายงาน
3. ประเภทของความรู้ทางวิทยาศาสตร์
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ทีเกิดจากการศึกษาค้นคว้า โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไม่ว่า
จะอยู่ในสาขาใด เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา หรือวิทยาศาสตร์กายภาพ ชีวภาพ สามารถจําแนก
ออกเป็นประเภทต่างๆได้ดังนี
1. ข้อเท็จจริง (Fact)
เป็นความรู้ขันพืนฐานคือความเป็นจริงในธรรมชาติ ทังทีสามารถสังเกตได้โดยตรง และไม่
สามารถสังเกตได้โดยตรง แต่ไม่ว่าจะสังเกตได้โดยวิธีใด ข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์ จะต้องเป็นจริง
เสมอ สามารถทดสอบได้ผลเหมือนเดิมทุกครั งตัวอย่างข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์ได้แก่
- แมงมุมมีขา 8 ขา
- ค้างคาวเป็นสัตว์เลียงลูกด้วยนม
- เมือนํ าได้รับความร้อนจะกลายเป็นไอ
- โลกหมุนรอบดวงอาทิตย์
- สิงมีชีวิตต้องกินอาหาร
2. ความคิดรวบยอด(Concept)
เป็นความคิดหลัก ทีคนเรามีต่อสิงหนึงสิงใด ซึงจะช่วยให้เรารู้และเข้าใจเกียวกับวัตถุ หรือ
ปรากฏการณ์ต่างๆความคิดรวบยอดของแต่ละบุคคลต่อวัตถุหรือปรากฏการณ์เดียวกันอาจจะแตกต่าง
กันไปตามประสบการณ์ เช่น ถ้าพูดถึงเก้าอี บางคนอาจนึกถึงเก้าอีกลม บางคนอาจนึกถึงเก้าอีมีทีพิง
หรือบางคนอาจนึกถึงเก้าอีพับ บางคนนึกถึงเก้าอีทีมีทีวางแขนและล้อหมุน เป็นต้น ตัวอย่างของ
ความคิดรวบยอดทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่
- นํ าทะเลเป็นนํ ากระด้าง
- แสงเป็นคลืนแม่เหล็กไฟฟ้า
- อะตอมประกอบด้วยอิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอน
3. หลักการ(Principle)
เป็นกลุ่มของความคิดรวบยอดทีเป็นเหตุและผลซึงกันและกัน เป็นความสัมพันธ์แบบมีเงือนไข
สามารถนํามาทดลองซํ าได้ผลเหมือนเดิมทุกครั งตัวอย่างหลักการทางวิทยาศาสตร์ได้แก่
- (ถ้า)แม่เหล็กขัวเหมือนกัน(ดังนัน)จะผลักกัน (ถ้า) ขัวต่างกัน(ดังนัน) จะดูดกัน
- เมือโลหะได้รับความร้อนจะขยายตัว
- โลหะต่างชนิดกันจะนําไฟฟ้าได้ไม่เท่ากัน
- ทีอุณหภูมิและความดันเท่ากันสารชนิดเดียวกันจะมีความหนาแน่นเท่ากัน
4. กฎ (Law)
เป็นหลักการทีสามารถเขียนเป็นสมการ แทนความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผลได้ ตัวอย่าง
ของกฎทางวิทยาศาสตร์ได้แก่
- กฎของบอยล์
- กฎของความโน้มถ่วง
- กฎทรงมวลของสสาร
- กฎการเคลือนทีของวัตถุ
ภาพที 1.1 รถยนต์ในความคิดรวบยอดของแต่ละคน
อาจจะมีลักษณะแตกต่างกันออกไป
ภาพที 1.2 แม่เหล็กขัวต่างกันจะดูดกัน ภาพที 1.3 แม่เหล็กขัวเหมือนกันจะผลักกัน
5. ทฤษฎี (Theory)
หมายถึง ข้อความหรือคําบรรยายทีสร้างขึนมา เพือใช้อธิบายหรือทํานายปรากฏการณ์ และ
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆในปรากฏการณ์เหล่านัน ทฤษฎีทีสร้างหรือคิดขึนมาอาจจะถูกต้อง
หรือไม่ก็ได้ ถ้ามีทฤษฎีใหม่ๆทีสามารถอธิบายปรากฏการณ์นันๆได้ดีกว่า ทฤษฎีเก่าก็จะถูกยกเลิกไป
ตัวอย่างทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ได้แก่
- ทฤษฎีอะตอม
- ทฤษฎีเซลล์
- ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
■ ความรู้ต่อไปนี จัดเป็นความรู้ประเภทใด
- เครืองบินจะมีปีกใหญ่ 2 ปีก ปีกเล็ก 2 ปีก มีกระโดงอยู่ด้านท้ายของลําตัวมีเครืองยนต์
อยู่ทีปีกใหญ่ข้างละ2 เครือง_____________________________________________
- เราสามารแยกเกลือออกจากนํ าทะเลได้โดยการนําไปต้ม________________________
- สิงมีชีวิตทุกชนิดต้องการอาหาร __________________________________________
- วิญญาณเป็นพลังงานทีเป็นคลืนแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึง ถ้าเราสามารถผลิตเครืองมือที
สามารถจูนความถีให้ตรงกันได้ เราก็อาจจะสามารถติดต่อกับวิญญาณได้_________________
- อัตราเร็วหาได้จากระยะทางทีเคลือนทีได้ หารด้วยเวลาทีใช้ในการวิง____________________
4. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เกิดขึนได้อย่างไร
เมือวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู้และกระบวนการทีทําให้ได้มาซึงความรู้ ดังนัน การได้มาซึง
ความรู้วิทยาศาสตร์ จึงเกิดขึนได้หลายทาง ได้แก่
1. เกิดการสังเกต (observation) การสังเกต เป็นทักษะเบืองต้นทีสําคัญในการศึกษาและสร้าง
องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ความรู้พืนฐานทางวิทยาศาสตร์ ส่วนมากเกิดจากการสังเกต และคิด
วิเคราะห์อย่างเป็นระบบของนักวิทยาศาสตร์ การสังเกตทีถูกต้องนัน ต้องมีการจดบันทึกข้อมูลเอาไว้
อย่างละเอียดเพือป้องกันการหลงลืมและสูญหายของข้อมูล ตัวอย่างของความรู้ทีเกิดจาการสังเกต เช่น
ฟรานซิส เรดิ (Francis Redi)ทีสังเกตพบว่าตัวหนอนในเนือเน่าเกิดจากไข่แมลงวัน
2. เกิดจาการทดลองและการวัด(experimentation and measurement) การทดลองและการวัด
ทําให้เรารู้ปรากฎการณ์ และการเปลียนแปลงในธรรมชาติมากมาย ในการวัดบางครั งเราสามารถใช้
ประสาทสัมผัสของร่างกายวัดได้ แต่ในบางครั ง จําเป็นต้องใช้เครืองมือทางวิทยาศาสตร์ทีให้ความ
ถูกต้อง แม่นยํามากว่าเช่น เครืองชัง เทอร์มอมิเตอร์ ไม้บรรทัด เป็นต้น ตัวอย่างของความรู้ทีได้จาก
การทดลองและการวัด ได้แก่ นํ าจะแข็งตัวทีอุณหภูมิ0 องศาเซลเซียส และเดือดทีอุณหภูมิ 100 องศา
เซลเซียส เป็นต้น
ภาพที 1.4 การทดลองทําให้เกิดการค้นพบองค์ความรู้
3. เกิดจากความบังเอิญ (accidental) ความบังเอิญเป็นอีกสาเหตุหนึง ทีทําให้ได้มาซึงความรู้
ทางวิทยาศาสตร์ โดยทีนักวิทยาศาสตร์ไม่ได้ตังเป้าหมายเอาไว้และคาดไม่ถึง เช่น การบังเอิญของ
เรินต์เกน(Roentgen) นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ทีผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในหลอดสุญญากาศและพบรังสี
เอกซ์ (X-rays) ในปี พ.ศ. 2438 หรือการทดลองเหนียวนําไฟฟ้าของเฮิรตซ์ (Herzt) ทีทําให้เขาพบ
คลืนวิทยุ ซึงเป็นคลืนแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึงในปี พ.ศ. 2430
4. เกิดจากการจัดระบบระเบียบโดยอาศัยการสังเกต เช่น การจัดระบบหรือหมวดหมู่ของพืช
และสัตว์ เช่น การจําแนกประเภทของสิงมีชีวิตของลินเนียส (Linnaeus) ทีได้จัดระบบการจําแนก
สิงมีชีวิตออกเป็นลําดับขัน หรือการจัดอนุกรมวิธาน จากลําดับใหญ่ไปหาลําดับย่อย ได้แก่ อาณาจักร
(kingdom) ไฟลัม(phylum) ชัน(class) อันดับ(order) วงศ์(family) สกุล (genus) ชนิด (species)
ทังนี แต่ละกลุ่มจะสามารถจําแนกแยกย่อย ต่อไปอีกได้ละเอียดมากน้อยเพียงใด ขึนอยู่กับจํานวนและ
ความสัมพันธ์ของสิงมีชีวิตในกลุ่มนันๆ การจัดกลุ่มของสิงมีชีวิต หรือสิงของอืนๆ ในลักษณะเช่นนีจะ
ทําให้ง่ายและสะดวกในการศึกษาค้นคว้า
Phylum Class Order Family Genus Species
Kingdom Phylum Class Order Family Genus Species
Phylum Class Order Family Genus Species
ภาพที 1.5 การจําแนกสิงมีชีวิตตามหลักของลินเนียส
5. เกิดจากการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ เป็นการศึกษาค้นคว้าทีใช้วิธีการ
ขันตอน และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการค้นคว้าหาคําตอบของปัญหาทีต้องการทราบ
ทําให้ได้องค์ความรู้ทีถูกต้องตามหลักวิชาการ เป็นทีมาของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ทีสําคัญในปัจจุบัน
เช่น การวิจัยข้าวเพือผลิตข้าวพันธุ์ใหม่ๆ ทีมีความต้านทานโรคและแมลงให้ผลผลิตสูง การวิจัยเกียวกับ
จุลินทรีย์เพือหาทางผลิตวัคซีนป้องกันโรค เป็นต้น การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ในระดับนักเรียน นักศึกษา
ก็คือการทําโครงงานวิทยาศาสตร์นันเอง
5. เจตคติทางวิทยาศาสตร์
เจตคติทางวิทยาศาสตร์ (Science attitude)เป็นจิตหรือการคิดและการกระทําทีเป็นวิทยาศาสตร์
คือเป็นลักษณะนิสัยของนักวิทยาศาสตร์ ทีใช้ทักษะกระบวนการและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ใน
การศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ผู้ทีมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์ หรือมีจิตวิทยาศาสตร์ ควรเป็นผู้มีคุณลักษณะ
ดังต่อไปนี
1. ใฝ่ รู้
เป็นลักษณะนิสัยทีสําคัญทีสุดของผู้ทีเป็นนักวิทยาศาสตร์ คือนักวิทยาศาสตร์ต้องมีความ
กระตือรือร้น อยากรู้อยากเห็นอยู่ตลอดเวลา ช่างคิด ช่างทํา ช่างสงสัย ทังในเรืองทีเป็นปรากฏการณ์
ธรรมชาติ หรือเรืองอืนๆทัวไป ต้องการคําตอบหรือทีมาของข้อสงสัยนันๆ และจะมีความยินดีมากที
ได้ค้นพบความรู้ใหม่
2. มีความเพียรพยายาม
นักวิทยาศาสตร์ต้องเป็นผู้มีความเพียรพยายาม ไม่ท้อถอยเมือมีอุปสรรค หรือมีความล้มเหลว
ในการทดลอง มีความตังใจแน่วแน่ในการเสาะแสวงหาความรู้ เมือได้คําตอบทีไม่ถูกต้องก็จะได้ทราบ
ว่า วิธีการเดิมใช้ไม่ได้ ต้องหาแนวทางในการแก้ปัญหาใหม่ และความล้มเหลวทีเกิดขึนนั น ถือว่า
เป็นข้อมูลทีต้องบันทึกไว้
3. มีเหตุผล
นักวิทยาศาสตร์ต้องเป็นผู้มีเหตุผล ไม่งมงาย เชือโชคลาง คําทํานาย หรือสิงศักดิ สิทธิ ต่างๆ
ยอมรับในคําอธิบายเมือมีหลักฐานหรือข้อมูลมาสนับสนุนอย่างเพียงพออธิบายหรือแสดงความคิดเห็น
อย่างมีเหตุผล หาความสัมพันธ์ของเหตุและผลทีเกิดขึน ตรวจสอบความถูกต้อง สมเหตุสมผลของ
แนวคิดต่างๆ กับแหล่งข้อมูลทีเชือถือได้ แสวงหาหลักฐานและข้อมูลจากการสังเกตหรือการทดลอง
เพือสนับสนุนหรือคิดค้นหาคําอธิบาย มีหลักฐานข้อมูลเพียงพอเสมอก่อนจะสรุปผล เห็นคุณค่าใน
การใช้เหตุผล ยินดีให้มีการพิสูจน์ตามเหตุผลและข้อเท็จจริง
4. มีความซือสัตย์
นักวิทยาศาสตร์ต้องเป็นผู้มีความซือสัตย์ บันทึกผลหรือข้อมูลตามความเป็นจริงด้วยความ
ละเอียด ถูกต้อง ไม่ลําเอียงหรือคิดเข้าข้างตัวเอง ว่าผลการทดลองน่าจะเป็นแบบนั น หรือแบบนี
ตามทีเราคิด เห็นคุณค่าของการเสนอข้อมูลตามความเป็นจริง ผู้อืนสามารถตรวจสอบในภายหลังได้
5. มีความละเอียดรอบคอบ
นักวิทยาศาสตร์ต้องเป็นผู้เห็นคุณค่าของความมีระเบียบ และความละเอียดรอบคอบ ความมี
ระเบียบมีประโยชน์ต่อการทํางานเป็นอย่างมาก ทังการจัดระบบการทํางาน การรวบรวม เรียบเรียง
การจัดกระทํากับข้อมูล ตลอดจนการนําเสนออย่างเป็นระบบ ระเบียบ จะทําให้ผู้อ่านเข้าใจง่าย
นอกจากนี ความละเอียดรอบคอบ นําวิธีการหลายๆอย่างตรวจสอบผลการทดลองหรือวิธีการทดลอง
ไตร่ตรอง พินิจพิเคราะห์อย่างละเอียด ถีถ้วน จะทําให้ได้ข้อมูลทีถูกต้อง มีโอกาสผิดพลาดน้อย คิด
อย่างละเอียดรอบคอบก่อนการตัดสินใจ
6. ใจกว้าง
นักวิทยาศาสตร์ต้องเป็นผู้มีใจกว้างทีจะรับฟังความคิดเห็นของคนอืน รับฟังคําวิพากษ์วิจารณ์
ข้อโต้แย้งหรือข้อคิดเห็นทีมีเหตุผลของผู้อืน โดยไม่ยึดมันในความคิดเห็นของตนฝ่ายเดียว ยอมรับการ
เปลียนแปลง หรือเปลียนแนวคิดหากมีผู้เสนอแนวคิดทีมีเหตุผลสนับสนุนทีดีกว่า ยอมพิจารณาข้อมูล
หรือความคิดทียังสรุปแน่นอนไม่ได้ และพร้อมทีจะหาข้อมูลเพิมเติม
คุณลักษณะทัง6 ประการนี รวมกันเรียกว่า เจตคติทางวิทยาศาสตร์ เจตคติทางวิทยาศาสตร์นี
ไม่ใช่สิงจําเป็นสําหรับนักวิทยาศาสตร์เท่านัน แม้บุคคลทัวไปหากเป็นผู้มีเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ก็
สามารถนําไปใช้เป็นหลักในการปรับปรุงและพัฒนาการทํางาน ซึงจะเป็นประโยชน์แก่การทํางานและ
การดํารงชีวิตเป็นอย่างยิงทําให้การงานทีเคยมีปัญหา เป็นไปอย่างราบรืน ไม่ติดขัด ซึงผลทีจะตามมา
คือ ประสิทธิภาพ และผลผลิตในการทํางาน
สรุป
วิทยาศาสตร์เป็นวิชาทีว่าด้วยความเป็นจริง สามารถทดลองและพิสูจน์ได้ ประกอบด้วย
องค์ประกอบ 2 ส่วน คือความรู้ และกระบวนการในการเสาะแสวงหาความรู้ นักวิทยาศาสตร์ใช้
วิธีการทีได้รับการยอมรับว่าดีทีสุดในการค้นคว้าหาความรู้ คือวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ซึง
ประกอบด้วยขันตอนสําคัญได้แก่ การกําหนดปัญหาหรือเรืองทีต้องการศึกษา ตังสมมติฐาน ทดลอง
รวบรวม/วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผล ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ จําแนกออกได้เป็นหลายประเภท ตาม
ธรรมชาติหรือหมวดหมู่ของความรู้ทีคล้ายคลึงกัน ได้แก่ ข้อเท็จจริงซึงเป็นความจริงของธรรมชาติที
สามารถทดลองและพิสูจน์ได้ ความคิดรวบยอด หลักการ กฎ และทฤษฎี
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เกิดได้จากหลายสาเหตุ ได้แก่ การสังเกต การทดลองและการวัด
ความบังเอิญ การจัดระบบของสิงทีมีอยู่แล้ว และการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ซึงเป็นแหล่งก่อเกิดความรู้
ทีสําคัญในปัจจุบัน ซึงก็คือการทําโครงงานของนักเรียน นักศึกษานันเอง
คุณสมบัติสําคัญของนักวิทยาศาสตร์คือ มีความเป็นวิทยาศาสตร์ หรือการกระทําทีเป็น
วิทยาศาสตร์ เรียกว่าเจตคติวิทยาศาสตร์หรือจิตวิทยาศาสตร์ คือมีลักษณะนิสัย ใฝ่รู้หรืออยากรู้อยาก
เห็น มีความเพียรพยายาม มีเหตุผล ซือสัตย์ ละเอียดรอบคอบ และใจกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของ
ผู้อืน
แบบฝึกหัดท้ายบท
คําสัง. จงเติมคําหรือตอบคําถามในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. วิทยาศาสตร์หมายถึง _____________________________________________________________
ประกอบด้วยองค์ประกอบ____________ ส่วน ได้แก่__________________________________
______________________________________________________________________________
2. วิธีการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง ____________________________________________________
ประกอบด้วยขันตอนทังหมด ขันตอน________________ ได้แก่
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
3. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มี ___________ อย่าง ได้แก่____________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
4. ความรู้ทีเป็นข้อเท็จจริงจะมีลักษณะอย่างไร____________________________________________
ตัวอย่าง เช่น____________________________________________________________________
5. ความรู้ทีเป็นหลักการจะมีลักษณะอย่างไร_____________________________________________
ตัวอย่าง เช่น____________________________________________________________________
6. ความรู้ทีเป็นทฤษฎีจะมีลักษณะสําคัญอย่างไร__________________________________________
หากทฤษฎีนั นได้รับการพิสูจน์แล้วว่าเป็นความจริง ทฤษฎีนันจะเป็นอย่างไรต่อไป_____________
______________________________________________________________________________
หากพิสูจน์แล้วปรากฏว่าไม่เป็นความจริง ทฤษฎีนันจะเป็นอย่างไรต่อไป____________________
______________________________________________________________________________
7. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เกิดขึนได้โดยวิธีใดบ้าง
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
8. เด็กเอามือไปแหย่เปลวไฟจึงรู้ว่าไฟร้อน เป็นการเรียนรู้ทีเกิดความรู้โดยวิธีใด_________________
9. เจตคติทางวิทยาศาสตร์หมายถึง _____________________________________________________
ผู้ทีมีจิตวิทยาศาสตร์ จะมีลักษณะสําคัญอย่างไรบ้าง_____________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
แบบทดสอบท้ายบท
คําสัง. จงกากบาท (X) ทับคําตอบทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว
1. วิทยาศาสตร์หมายถึง
ก. ความรู้
ข. ความจํา
ค. ความเข้าใจ
ง. การสือสาร
จ. การนําไปใช้
2. วิทยาศาสตร์ประกอบด้วยองค์ประกอบใด
ก. ความรู้-ความจํา
ข. ความจํา-ความเข้าใจ
ค. ความเข้าใจ-การนําไปใช้
ง. ความรู้-การนําไปใช้
จ. ความรู้-การแสวงหาความรู้
3. ข้อใดเป็นวิทยาศาสตร์
ก. จามทังวันแสดงว่ามีคนคิดถึง
ข. ถูกไฟฟ้าดูดแน่ถ้าตัวเปียก
ค. โชคไม่ดีเพราะออกบ้านไม่ถูกเวลา
ง. วันนีหกล้มเพราะถูกจิงจกทัก
จ. เคราะห์ไม่ดีเพราะอายุครบ 25 ปี
4. วิธีการทางวิทยาศาสตร์เริมต้นด้วยข้อใด
ก. ทดลอง
ข. ปัญหา
ค. สรุป
ง. สมมติฐาน
จ. รวบรวมข้อมูล
5. ขันตอนใดเป็นการคาดคะเนถึงสาเหตุของปัญหา
(ใช้คําตอบในข้อ4)
6. ลักษณะสําคัญทีสุดของนักวิทยาศาสตร์คือข้อใด
ก. ใฝ่รู้
ข. มีเหตุผล
ค. มีความพยายาม
ง. ละเอียด รอบคอบ
จ. สอดรู้ สอดเห็น
7. เด็กน้อยเอามือไปแหย่เปลวไฟจึงรู้ว่าเปลวไฟ
ร้อน จัดว่าเป็นการเรียนรู้โดยวิธีใด
ก. การสังเกต
ข. การทดลอง
ค. ความบังเอิญ
ง. การจัดระบบ
จ. การวิจัยทางวิทยาศาสตร์
8. ใครเป็นคนค้นพบรังสีเอกซ์
ก. คาโรลัส ลินเนียส
ข. โทมัส เอลวา เอดิสัน
ค. ไมเคิล ฟาราเดย์
ง. เบนจามิน แฟรงคลิน
จ. วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกนต์
9. ใครเป็นคนค้นพบคลืนแม่เหล็กไฟฟ้า
ก. คาโรลัส ลินเนียส
ข. โทมัส เอลวา เอดิสัน
ค. เบนจามิน แฟรงคลิน
ง. ไฮน์ริช รูดอล์ฟ เฮริตซ์
จ. วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกนต์
10. ใครเป็นผู้จําแนกประเภทของสิงมีชีวิตทีได้รับ
การยอมรับมากทีสุด
ก. คาโรลัส ลินเนียส
ข. โทมัส เอลวา เอดิสัน
ค. เบนจามิน แฟรงคลิน
ง. ไฮน์ริช รูดอล์ฟ เฮริตซ์
จ. วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกนต์
11. ข้อใดเรียงลําดับการจําแนกสิงมีชีวิต จากหัวข้อ
ใหญ่ไปหาหัวข้อย่อยได้ถูกต้อง
ก. Specie Class Order Phylum
ข. Phylum Class Order Specie
ค. Phylum Order Specie Class
ง. Order Specie Class Phylum
จ. Class Specie Order Phylum
12. สิงมีชีวิตทุกชนิดต้องกินอาหาร เป็นความรู้
ประเภทใด
ก. กฎ
ข. ทฤษฎี
ค. ข้อเท็จจริง
ง. หลักการ
จ. ความคิดรวบยอด
13. ถ้าเอาก๊าซA ซึงเบากว่าอากาศบรรจุในลูกโป่ง
ลูกโป่งจะลอยได้ เป็นความรู้ประเภทใด
ก. กฎ
ข. ทฤษฎี
ค. ข้อเท็จจริง
ง. หลักการ
จ. ความคิดรวบยอด
14. ลักษณะสําคัญทีสุดของผู้มีจิตวิทยาศาสตร์คือ
ก. ใฝ่รู้
ข. ขยัน
ค. มีเหตุผล
ง. ซือสัตย์
จ. ละเอียด รอบคอบ
บททีบทที 22
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
■ บูรณาการความรู้ทางวิทยาศาสตร์กับวิชาชีพ
ในการทําโครงงานวิทยาศาสตร์
■ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการสืบเสาะ
หาความรู้และแก้ปัญหา
บทที 2 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
■ สาระการเรียนรู้
1. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1.1 ทักษะกระบวนการขันพืนฐาน
1.2 ทักษะกระบวนการขันบูรณาการ
■ ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง
เมือศึกษาจบบทเรียนแล้วนักศึกษาควรจะ
1. บอกหรืออธิบายความหมายของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้
2. บอกความหมายและยกตัวอย่างทักษะกระบวนการขันพืนฐานได้
3. บอกความหมายและยกตัวอย่างทักษะกระบวนการขันสูงได้
4. มีความสามารถในการใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
5. มีเจตคติหรือจิตวิทยาศาสตร์
1. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (science process skills) ประกอบด้วยคํา 2 คําคือทักษะ
(skill) หมายถึงความชํานาญ และกระบวนการ(process) หมายถึง การปฏิบัติงานเป็นขันตอนตามลําดับ
รวมความแล้วทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความชํานาญในการใช้1) ความสามารถใน
การคิด 2) เครืองมือ และ 3) วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ในการศึกษาค้นคว้าหาคําตอบเพือให้ได้มาซึง
ความรู้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์แบ่งออกได้เป็น 13 ทักษะ ทักษะที 1-8 เป็นทักษะ
กระบวนการขันพืนฐานส่วนทักษะที 9-13 เป็นทักษะกระบวนการขันสูงหรือขันบูรณาการ
2. ทักษะกระบวนการขันพืนฐาน มีทังหมด8 ทักษะ ได้แก่
1. การสังเกต (observation)
เป็นการใช้ความสามารถในการใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึง หรือหลายอย่างรวมกัน
เช่น หู ตา จมูก ปาก และประสาทสัมผัส ไปตรวจสอบวัตถุหรือเหตุการณ์ เพือเก็บรวบรวมข้อมูล
และรายละเอียดต่างๆ บางครังต้องใช้เครืองมือทางวิทยาศาสตร์ช่วย เพือให้ได้ข้อมูลทีถูกต้องและมันใจ
ยิงขึน เช่น แว่นขยายไม้บรรทัด กล้องจุลทรรศน์ กล้องโทรทัศน์ เป็นต้น
การสังเกต เป็นทักษะเบืองต้นทีสําคัญทีสุดในการเรียนวิทยาศาสตร์ ข้อมูลทีได้จากการสังเกต
จัดว่าเป็น ข้อมูลเชิงคุณภาพ คือข้อมูลทีไม่สามารถวัดและตรวจสอบได้ด้วยเครืองมือตรวจวัด แต่
สามารถอธิบายคุณลักษณะของสิงทีสังเกตได้ด้วยการบรรยายเช่น การเปลียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ
ลักษณะนิสัย เจตคติ ความสามารถในการทําสิงใดสิงหนึง ความคิดเห็น เป็นต้น
ภาพที 2.1 การสังเกตเป็นทักษะเบืองต้นทีสําคัญของวิทยาศาสตร์
■ ให้นักศึกษาสังเกตลักษณะของเทียนไข(หรือวัตถุอย่างใดอย่างหนึง) อย่างละเอียด
รอบคอบและบันทึกลักษณะทีสังเกตได้ให้ได้มากทีสุด จะบันทึกด้วยการบรรยาย หรือ
บอกเป็นข้อๆ ก็ได้________________________________________________________
__________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
__________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
__________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
__________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
__________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
__________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
- ในการสังเกตครั งนี นักศึกษาใช้ประสาทสัมผัสใดในการสังเกตบ้าง
__________________________________________________________________________
__________________________________________________________________________
- ในการสังเกตนันประสาทสัมผัสใดก่อให้เกิดการเรียนรู้มากทีสุด_____________________
ผลการสังเกต
คําสัง.ให้นักศึกษาสังเกตรูปภาพห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์แห่งหนึงอย่างมีวิจารณญาณ
เป็นเวลา2นาทีแล้วบันทึกสิงทีได้จากการสังเกตเป็นข้อๆอย่างละเอียด
หลัง/ไกล
ซ้ายขวา
หน้า/ใกล้
ผลการสังเกต
_________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________
เกณฑ์การประเมิน/ ตรวจสอบกับภาพต้นฉบับ
สิงทีสังเกตได้แต่ละอย่างให้ 1 คะแนน หากบอกจํานวนด้วยให้ 2 คะแนน
คะแนน 21-25 ถือว่ามีทักษะการสังเกตดีเยียม คะแนน 16-20 ถือว่ามีทักษะการสังเกตดีมาก
คะแนน 11-15 ถือว่ามีทักษะการสังเกตพอใช้ คะแนนตํากว่า 10 ยังต้องฝึกทักษะเพิมเติม
สรุป นักศึกษามีทักษะการสังเกตอยู่ในระดับ___________________________________________
2. การวัด(Measurement)
การวัดเป็นทักษะทีสําคัญอย่างหนึง เพราะการสังเกตเพียงอย่างเดียว ทําให้ทราบลักษณะ
รูปร่างและสมบัติทัวไปของวัตถุเท่านัน ไม่สามารถบอกรายละเอียดเป็นตัวเลขทีแน่นอนได้ การวัดโดย
ใช้ประสาทสัมผัสของร่างกาย บางครังเชือถือไม่ได้และไม่ถูกต้อง จําเป็นต้องอาศัยเครืองมือต่างๆ ช่วย
ในการวัด เช่น ไม้บรรทัด เครืองชัง เทอร์มอมิเตอร์ ข้อมูลทีได้จากการวัดส่วนมากจะมีหน่วยวัด
มาตรฐานกํากับอยู่ด้วยเสมอ เช่น5 มิลลิเมตร, 25 กรัม, 37º เซลเซียส เป็นต้น
ข้อมูลทีได้จากการวัดจัดว่าเป็นข้อมูลเชิงปริมาณคือข้อมูลทีสามารถวัดและตรวจสอบได้อย่าง
ชัดเจน ด้วยเครืองมือตรวจวัด สามารถระบุจํานวน ขนาด หรือปริมาณ เป็นตัวเลขได้ เช่น ความ
กว้าง ความยาว ความสูง ความเร็ว นํ าหนัก เวลา เป็นต้น
ภาพที 2.2 เครืองมือทีใช้ในการวัดบางชนิด
ผู้ทีมีทักษะในการวัด ต้องมีความสามารถในด้านต่อไปนี
1. เลือกเครืองมือทีใช้ในการวัดได้อย่างเหมาะสมกับสิงทีจะวัด
2. ใช้เครืองมือนันๆ วัดปริมาณของสิงต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง แม่นยํา และรวดเร็ว
3. อ่านค่าทีได้จากการวัดได้ถูกต้อง รวดเร็ว พร้อมทังมีหน่วยกํากับเสมอ
หน่วยการวัด
การคํานวณในทางเคมีและทางฟิสิกส์ มักจะเกียวข้องกับการวัดสิงต่างๆทีเกียวข้องอยู่เสมอ
ในอดีตหน่วยการวัดมีหลายระบบแตกต่างกันออกไป ทีสําคัญได้แก่ระบบอังกฤษและระบบเมตริก
ระบบอังกฤษ เป็นระบบทีใช้กันมากในอังกฤษและอเมริกา มีหน่วยหลักทีสําคัญ3 หน่วย คือ
ความยาวมีหน่วยวัดเป็นฟุต(foot) นํ าหนักมีหน่วยวัดเป็นปอนด์(pound) และเวลามีหน่วยวัดเป็นวินาที
(second) ระบบอังกฤษนี บางทีเรียกว่าระบบF P S
ระบบเมตริก เป็นระบบทีใช้กันโดยทัวไปนอกจากในอังกฤษและอเมริกา บางทีเรียกง่ายๆ ว่า
ระบบ C G S (centimeter–gram-second) มีหน่วยหลักทีสําคัญ3 หน่วยคือ ความยาว มีหน่วยวัด
เป็นเซนติเมตร (cm) นํ าหนักมีหน่วยวัดเป็นกรัม(g) และเวลามีหน่วยวัดเป็นวินาที (s)
เนืองจากหน่วยการวัดมีหลายระบบ ทําให้เกิดความสับสนในการวัด เพราะบางประเทศใช้
ระบบการวัดแบบหนึง แต่อีกประเทศใช้ระบบการวัดอีกแบบหนึง ทําให้เกิดความเข้าใจไม่ตรงกัน
ดังนัน เพือให้การวัดทางวิทยาศาสตร์เป็นมาตรฐานเดียวกัน จึงมีการประชุมใหญ่ทีกรุงปารีส ตกลงให้
การวัดปริมาณต่างๆเป็นมาตรฐานเดียวกันเรียกว่าระบบหน่วยระหว่างชาติ (System International &
Unit) และใช้ชือย่อว่า ระบบ เอสไอ (S.I.)
ระบบ เอส ไอ ประกอบด้วยหน่วยมูลฐาน หน่วยอนุพันธ์ และคําอุปสรรคทีใช้เพิมหรือลด
ขนาดของหน่วยหลัก
1. หน่วยมูลฐาน(Base units) ระบบ เอส ไอ มีหน่วยมูลฐาน 7 หน่วย
ตารางที 2.1 หน่วยมูลฐานของระบบ เอส ไอ
ปริมาณ ชือหน่วย สัญลักษณ์
ความยาว
มวล
เวลา
กระแสไฟฟ้า
อุณหภูมิ
ปริมาณสาร
ความเข้มของการส่องสว่าง
เมตร
กิโลกรัม
วินาที
แอมแปร์
เคลวิน
โมล
แคนเดลา
m
kg
s
A
K
mol
cd
2. หน่วยอนุพันธ์ (Derived units) เป็นหน่วยทีเกิดจากหน่วยมูลฐานหลายหน่วย มาเกียวเนือง
กัน เช่น ความถีจะเกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างจํานวนคลืนกับหน่วยเวลา ตัวอย่างหน่วยอนุพันธ์ดัง
แสดงในตาราง
ตารางที2.2 หน่วยอนุพันธ์บางหน่วยของระบบ เอส ไอ
ปริมาณ ชือหน่วย สัญลักษณ์
ความถี
แรง
งาน
ความดัน
กําลัง
เฮิรตซ์
นิวตัน
จูล
พาสคัล
วัตต์
Hz
N
J
Pa
W
3. คําอุปสรรค (prefixes) เป็นตัวเลขทีใช้เขียนเพือเพิมหรือลดขนาดของหน่วยอนุพันธ์ เมือ
หน่วยอนุพันธ์มีค่ามากหรือน้อยเกินไป เราสามารถเขียนค่าตัวเลขนันคูณด้วยตัวพหุคูณ (เลขสิบยก
กําลังบวกหรือลบ)
ตารางที 2.3 แสดงคําอุปสรรคและสัญลักษณ์
ตัวพหุคูณ ชือคําอุปสรรค สัญลักษณ์
1018
1015
1012
109
106
103
102
101
100
= 1
10-1
10-2
10-3
เอกซะ (exa)
เพตะ (peta)
เทระ (tera)
จิกะ(giga)
เมกะ(mega)
กิโล (kilo)
เฮกโต (hecto)
เดคา (deca)
หน่วยหลัก
เดซิ (deci)
เซนติ (centi)
มิลลิ (milli)
E
P
T
G
M
k
h
da
ขึนอยู่กับหน่วยวัด
d
c
m
ตัวพหุคูณ ชือคําอุปสรรค สัญลักษณ์
10-6
10-9
10-12
10-15
10-18
ไมโคร(micro)
นาโน (nano)
พิโก (pico)
เฟมโต (femto)
อัตโต(atto)

n
p
f
a
ในชีวิตประจําวัน เราอาจพบเห็นการวัด ทีเกียวข้องกับคําอุปสรรคอยู่บ่อยๆ เช่น ถ้าหน่วยหลัก
เป็นเมตร เราจะพบว่า
10 มิลลิเมตร = 1 เซนติเมตร
10 เซนติเมตร = 1 เดซิเมตร
10 เดซิเมตร = 1 เมตร
10 เมตร = 1 เดคาเมตร
10 เดคาเมตร = 1 เฮกโตเมตร
10 เฮกโตเมตร = 1 กิโลเมตร
ถ้าหน่วยหลักเป็นกรัม ลิตร เบล หรือเฮิรตซ์ ก็จะวัดได้ในทํานองเดียวกัน แต่ในการวัดทาง
วิทยาศาสตร์ ทีมีหน่วยเล็กมากหรือใหญ่มากๆ นิยมบอกเป็นตัวเลขคูณด้วยตัวพหุคูณ เช่น
0.000005 แอมแปร์ เขียนได้เป็น 5 X 10-6
แอมแปร์ = 5 ไมโครแอมแปร์
หรือ 6,000,000 วัตต์ เขียนได้เป็น 6 X 106
วัตต์ = 6 เมกะวัตต์
■ ให้นักศึกษาวัด ขนาด มวล และปริมาตร ของเหรียญ 1 บาท 5 บาท และ 10 บาท
ว่ามีขนาด มวล และปริมาตรเท่าใด พร้อมทังบอกด้วยว่าในการวัดแต่ละอย่างนันใช้
เครืองมืออะไรในการวัด
เหรียญ 1 บาท มีความหนา _______ เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง________ เซนติเมตร
มีมวล ________________ กรัม ปริมาตร_______________มิลลิลิตร
เหรียญ 5 บาท มีความหนา _______ เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง________ เซนติเมตร
มีมวล ________________ กรัม ปริมาตร_______________มิลลิลิตร
เหรียญ 10 บาท มีความหนา_______ เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง________ เซนติเมตร
มีมวล ________________ กรัม ปริมาตร_______________มิลลิลิตร
การวัดขนาดของเหรียญ ใช้เครืองมืออะไรในการวัด________________________________
การวัดมวลของเหรียญ ใช้เครืองมืออะไรในการวัด__________________________________
การวัดปริมาตรของเหรียญ ใช้เครืองมืออะไรในการวัด______________________________
การบอกหน่วยการวัดในการทําโครงงานวิทยาศาสตร์นัน ผู้ทําโครงงานจะต้องบอกหน่วยการ
วัด ทีเป็นหน่วยหลักทีได้รับการยอมรับทางวิทยาศาสตร์เช่น การวัดปริมาตรของของเหลว ต้องบอก
หน่วยวัดเป็น มิลลิลิตร ลูกบาศก์เซนติเมตร ซี.ซี. (cubic centimetre) หรือลิตร ไม่ควรบอกเป็นถ้วยตวง
ช้อนชา หรือช้อนโต๊ะ เพราะวัดปริมาตรได้ไม่แน่นอน ส่วนมวลของของแข็ง ควรบอกเป็น กรัม
หรือกิโลกรัม เป็นต้น
3. การแยกประเภท(classification)
เป็นกระบวนการทีนักวิทยาศาสตร์ ใช้จําแนกสิงต่างๆ ออกเป็นหมวดหมู่ เพือสะดวกใน
การศึกษาและจดจําสิงเหล่านัน โดยอาศัยเกณฑ์บางอย่างในการจัดแบ่ง เกณฑ์ดังกล่าวอาจใช้ความ
เหมือน ความแตกต่างหรือความสัมพันธ์อย่างใดอย่างหนึง เช่นตารางธาตุของนักเคมี จะรวมหมู่ธาตุ
ทีมีสมบัติคล้ายคลึงกันเข้าไว้ด้วยกัน การจัดกลุ่มของวัตถุแต่ละกลุ่มอาจใช้เกณฑ์ได้หลายเกณฑ์ ทีผู้
จําแนกตังขึน ถ้าใช้เกณฑ์ในการจําแนกต่างกัน วัตถุทีเคยอยู่ในกลุ่มเดียวกันอาจเปลียนไปอยู่ในกลุ่ม
อืนได้ แต่ไม่ว่าจะใช้เกณฑ์ใดก็ตาม จะต้องสามารถแยกประเภทและระบุชนิดของวัตถุต่างๆ ออกจาก
กันได้อย่างชัดเจน ตัวอย่าง เช่น การแยกประเภทของสาร
สารสาร
สารเนือผสม สารเนือเดียว
สารละลาย สารบริสุทธิ
ธาตุ สารประกอบ
ภาพที 2.3 การแยกประเภทของสาร
■ให้นักศึกษาจําแนกยานพาหนะทีมีทังหมดในโลก ออกเป็นหมวดหมู่ โดยการเขียนแผนผัง
หรือแผนภูมิทีคิดว่ามีความเหมาะสมในการจําแนก แสดงการจําแนกจากกลุ่มใหญ่ลงไปจนถึงกลุ่มย่อย
และบอกด้วยว่าในการแบ่งแต่ละครัง ใช้อะไรเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
_______________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________
4. การคํานวณ(using number)
หมายถึงการนําค่าทีได้จากการสังเกตเชิงปริมาณ การวัด การทดลอง และจากแหล่งอืนๆ มา
จัดกระทําให้เกิดค่าใหม่ เช่น การบวก ลบ คูณ หาร หาค่าเฉลีย ยกกําลัง ฯลฯ เพือให้ได้ข้อมูลทีมี
ความหมายในเชิงสถิติ เพือประโยชน์ในการแปลความหมายและสรุปผลต่อไป
5. การหาความสัมพันธ์ของสเปส(space relationship)
สเปส (space) หรือมิติของวัตถุ หมายถึงทีว่างทีวัตถุนันครอบครองอยู่ ซึงจะมีรูปร่างและ
ลักษณะเช่นเดียวกับวัตถุนั น เช่น ถ้าเอาลูกฟุตบอลไปวางไว้ในทีว่าง ทีว่างทีถูกแทนทีก็จะประกอบกัน
เป็นปริมาตร ซึงมีปริมาตรและรูปร่างเช่นเดียวกันกับลูกฟุตบอล โดยทัวไปแล้วสเปสของวัตถุจะมี3
มิติ คือความกว้าง ความยาวและความสูง ความสัมพันธ์ระหว่างมิติกับมิติ(space/space relationship)
เป็นความสัมพันธ์ระหว่างตําแหน่งทีอยู่ของวัตถุหนึงกับอีกวัตถุหนึง เช่น ลูกฟุตบอลในกล่อง
ภาพที 2.4 สเปสของลูกบอลภายในกล่อง
สเปสกับเวลา(space/time relationship) เป็นความสัมพันธ์ระหว่างตําแหน่งของวัตถุกับเวลา
ทีเปลียนไป เช่น รถยนต์ทีกําลังวิง หรือความสูงของต้นไม้ทีเปลียนไปในเวลา1 สัปดาห์ เป็นต้น
ภาพที 2.5 แสดงสเปสกับเวลาของรถดับเพลิง
นาทีที 0 นาทีที 1
6. การสือความหมาย (communication)
การสือความหมาย เป็นการนําเอาข้อมูลทีได้จากการสังเกต การวัดและการทดลอง หรือจาก
แหล่งอืนๆ มาจัดกระทําให้อยู่ในรูปแบบทีมีความหมาย หรือมีความสัมพันธ์กันมากขึน จนง่ายต่อการ
แปลความหมายในขันต่อไป อาจทําได้หลายรูปแบบ เช่น คําบรรยาย สัญลักษณ์ สมการ ตาราง
กราฟ แผนภูมิ แผนที รูปภาพ เป็นต้น
ภาพที 2.6 ตัวอย่างการนําเสนอข้อมูลเป็นกราฟ
1. ถ้าปริมาณผลผลิตของพืชผักและผลไม้ในปี พ.ศ. 2548 เป็นดังนี
ข้าว 3.25 ล้านตัน เงาะ1.5 ล้านตัน ลําไย1.75 ล้านตัน ส้มเขียวหวาน 2.25 ล้านตัน
ข้าวโพด 2.75 ล้านตัน ถัวเหลือง1.25 ล้านตัน ยางพารา3.00 ล้านตัน มันสําปะหลัง2.75 ล้าน
ตัน อ้อย 4.5 ล้านตัน จงนําเสนอข้อมูลทีเข้าใจง่ายทีสุด
2. ถ้าปริมาณผลผลิตข้าวในแต่ละปีเป็นดังนี
ปี พ.ศ. 2505 3.2 ล้านตัน ปี พ.ศ. 2510 2.8 ล้านตัน ปี พ.ศ. 2515 3.0 ล้านตัน
ปี พ.ศ. 2520 2.75 ล้านตัน ปี พ.ศ. 2525 3.5 ล้านตัน ปี พ.ศ. 2530 4.0 ล้านตัน
ปี พ.ศ. 2535 4.25 ล้านตัน ปี พ.ศ. 2540 3.75 ล้านตัน ปี พ.ศ. 2545 4.5 ล้านตัน
จงนําเสนอข้อมูลทีเข้าใจง่ายทีสุด
การนําเสนอข้อมูลต้องพยายามนําเสนอในลักษณะทีเข้าใจง่าย อธิบายข้อมูลได้ชัดเจน อาจ
นําเสนอในรูปแบบของกราฟแท่ง กราฟเส้น กราฟวงกลม กราฟรูปภาพ แผนผัง แผนภูมิ ผัง
ความคิด (concept mapping) แผนภูมิก้างปลา
การเลือกรูปแบบการเสนอข้อมูล ขึนอยู่กับลักษณะของข้อมูลและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
นอกจากนียังต้องคํานึงถึง ความชัดเจน ความถูกต้อง และความกะทัดรัดของข้อมูลอีกด้วย
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project
Science project

More Related Content

More from kanjana2536

ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
kanjana2536
 
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
kanjana2536
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
kanjana2536
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
kanjana2536
 
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่มใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
kanjana2536
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
ใบงานที่ 1  เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้นใบงานที่ 1  เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
ใบงานที่ 1 เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
kanjana2536
 
ใบงานที่ 13 เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
ใบงานที่ 13  เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆใบงานที่ 13  เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
ใบงานที่ 13 เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
kanjana2536
 
ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12
kanjana2536
 
ใบงานที่ 11 การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
ใบงานที่ 11  การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90ใบงานที่ 11  การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
ใบงานที่ 11 การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
kanjana2536
 
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนานใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
kanjana2536
 
ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9
kanjana2536
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
kanjana2536
 
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
kanjana2536
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง การแบ่งครึ่งมุม
ใบงานที่ 6  เรื่อง  การแบ่งครึ่งมุมใบงานที่ 6  เรื่อง  การแบ่งครึ่งมุม
ใบงานที่ 6 เรื่อง การแบ่งครึ่งมุม
kanjana2536
 
ใบงาน5เรื่อง การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
ใบงาน5เรื่อง  การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้ใบงาน5เรื่อง  การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
ใบงาน5เรื่อง การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
kanjana2536
 
ใบ'งาน4
ใบ'งาน4ใบ'งาน4
ใบ'งาน4
kanjana2536
 
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุมใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
kanjana2536
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุด
kanjana2536
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุด
kanjana2536
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลังใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
kanjana2536
 

More from kanjana2536 (20)

ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
 
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
 
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่มใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
ใบงานที่ 1  เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้นใบงานที่ 1  เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
ใบงานที่ 1 เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
 
ใบงานที่ 13 เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
ใบงานที่ 13  เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆใบงานที่ 13  เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
ใบงานที่ 13 เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
 
ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12
 
ใบงานที่ 11 การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
ใบงานที่ 11  การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90ใบงานที่ 11  การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
ใบงานที่ 11 การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
 
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนานใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
 
ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง การแบ่งครึ่งมุม
ใบงานที่ 6  เรื่อง  การแบ่งครึ่งมุมใบงานที่ 6  เรื่อง  การแบ่งครึ่งมุม
ใบงานที่ 6 เรื่อง การแบ่งครึ่งมุม
 
ใบงาน5เรื่อง การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
ใบงาน5เรื่อง  การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้ใบงาน5เรื่อง  การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
ใบงาน5เรื่อง การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
 
ใบ'งาน4
ใบ'งาน4ใบ'งาน4
ใบ'งาน4
 
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุมใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุด
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุด
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลังใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
 

Science project

  • 1. เอกสารประกอบการสอนเอกสารประกอบการสอน รหัสรหัส 33000000--11442288 วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูงหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง พุทธศักราชพุทธศักราช 22554466 สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการกระทรวงศึกษาธิการ เรียบเรียงโดยเรียบเรียงโดย ไตไตรภพรภพ เทียบพิมพ์เทียบพิมพ์ ศศษษ..มม.. ((วิทยาศาสตร์ศึกษาวิทยาศาสตร์ศึกษา))
  • 2. เอกสารประกอบการสอนเอกสารประกอบการสอน รหัสรหัส33000000--11442288 วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูงหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง พุทธศักราชพุทธศักราช 22554466 สํานักงานคณะกรรมการสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการกระทรวงศึกษาธิการ เรียบเรียงโดยเรียบเรียงโดย ไตรภพไตรภพ เทียบพิมพ์เทียบพิมพ์ ศษศษ..มม.. ((วิทยาศาสตร์ศึกษาวิทยาศาสตร์ศึกษา))
  • 3. คํานํา เนืองจากการจัดการเรียนการสอน วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (3000-1428) เป็นไปด้วยความยากลําบาก และสับสน เนืองจากเป็นวิชาปฏิบัติ ซึงต้องใช้เวลานอกเหนือจากการ เรียนการสอนปกติในการทําเป็นส่วนใหญ่ หาตําราทีใช้ประกอบการเรียนการสอนได้ยาก ตําราเรียนที มีอยู่ในท้องตลาดก็มีเนือหาน้อย ไม่มีรายละเอียดเพียงพอทีจะยึดเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการ สอนได้ จากเหตุผลดังกล่าว ทําให้ผู้เรียบเรียงได้จัดทําเอกสารประกอบการสอนเล่มนีขึนมา โดยยึดเอา จุดประสงค์ของหลักสูตร จุดประสงค์รายวิชา มาตรฐานรายวิชา และคําอธิบายรายวิชา เป็นหลัก เพือ ใช้เป็นคู่มือและแนวทางในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาดังกล่าว จากประสบการณ์ในการสอนวิชาโครงงานฯ มากว่า 30 ปี ทําให้ทราบปัญหาต่างๆ ทีเกิดจาก การเรียนการสอนเป็นอย่างดี จึงจัดทําเอกสารเล่มนีขึนมาเพือแก้ปัญหาดังกล่าว เอกสารเล่มนีจะบอก วิธีการ ขันตอน ตลอดจนแนวทางในการทําโครงงานอย่างละเอียด ไม่ว่าจะเป็นการเลือกหัวข้อ โครงงาน การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ การดําเนินงาน การออกแบบการทดลอง กําหนดตัวแปร สร้าง แบบสอบถาม แบบประเมิน ตารางบันทึกผล การอภิปรายและสรุปผลการดําเนินงาน ตลอดจนการ วิเคราะห์และประเมินโครงงาน เพือตรวจสอบคุณภาพของโครงงานทีจัดทํา เอกสารเล่มนีเป็นแนวทางในการดําเนินการเท่านัน ครูผู้สอนอาจประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับ ธรรมชาติหรือบริบทของการจัดการเรียนการสอน โดยไม่จําเป็นต้องสอนตามลําดับเนือหาในบทเรียน ครูผู้สอนจะดําเนินการสอนเนือหาใดก่อนก็ได้ ทีคิดว่ามีความเหมาะสมกับช่วงเวลา ในการจัดทํา โครงงานในแต่ละภาคเรียน ผู้เรียบเรียงหวังเป็นอย่างยิงว่า เอกสารประกอบการสอนเล่มนี จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน นักเรียน นักศึกษา ครู อาจารย์ และผู้สนใจไม่มากก็น้อย หากมีข้อผิดพลาดประการใด ผู้เรียบเรียงขอ น้อมรับ และยินดีรับข้อเสนอแนะด้วยความขอบคุณยิง ไตรภพ เทียบพิมพ์
  • 4. จุดประสงค์รายวิชา 1. เพือให้ผู้เรียนสามารถบูรณาการความรู้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไปประยุกต์ใช้ในการทําโครงงานวิทยาศาสตร์ 2. เพือให้ผู้เรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ ด้วยการทํางานเป็นทีม วางแผน ออกแบบ เขียนรายงาน และเสนอผลงานอย่างเป็นระบบ ในเชิงวิจัยทาง วิทยาศาสตร์ 3. เพือให้ผู้เรียนมีเจตคติทีดีต่อการทําโครงงานวิทยาศาสตร์ สามารถสือสารสิงทีเรียนรู้และ นําความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในวิชาชีพและชีวิตประจําวัน มาตรฐานรายวิชา 1. บูรณาการความรู้ ทางด้านวิทยาศาสตร์กับวิชาชีพ ในการทําโครงงานวิทยาศาสตร์ 2. ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการสืบเสาะหาความรู้แก้ปัญหา 3. นําเสนอผลงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ต่อสาธารณชน 4. สือสารสิงทีเรียนรู้ และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ คําอธิบายรายวิชา ศึกษาความหมาย ประเภท และขันตอนการทําโครงงานวิทยาศาสตร์ วางแผนและดําเนินการจัดทําโครงงานวิทยาศาสตร์ เขียนรายงาน จัดแสดงนิทรรศการ และนําเสนอผลงานโครงงานวิทยาศาสตร์
  • 5. สารบัญสารบัญ หน้า บททีบทที 11 ธรรมชาติของธรรมชาติของวิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์ 11 1. วิทยาศาสตร์คืออะไร 3 2. วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 4 3. ประเภทของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ 6 4. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เกิดขึนได้อย่างไร 8 5. เจตคติทางวิทยาศาสตร์ 10 สรุป 12 แบบฝึกหัดท้ายบท 12 แบบทดสอบท้ายบท 14 บททีบทที 22 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1166 1. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 18 2. ทักษะกระบวนการขันพืนฐาน 18 3. ทักษะกระบวนการขันบูรณาการ 33 สรุป 38 แบบฝึกหัดท้ายบท 38 แบบทดสอบท้ายบท 40 บททีบทที 33 โครงงานวิทยาศาสตร์คืออะไรโครงงานวิทยาศาสตร์คืออะไร 4433 1. โครงงานวิทยาศาสตร์คืออะไร 44 2. หลักการของโครงงานวิทยาศาสตร์ 48 3. จุดมุ่งหมายของโครงงานวิทยาศาสตร์ 48 4. ลักษณะของโครงงานวิทยาศาสตร์ 48 5. คุณค่าของโครงงานวิทยาศาสตร์ 49 6. ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ 51
  • 6. สรุป 56 แบบฝึกหัดท้ายบท 56 แบบทดสอบท้ายบท 58 บททีบทที 44 การเลือกหัวข้อโครงงานการเลือกหัวข้อโครงงาน 6611 1. การเลือกหัวข้อโครงงาน 62 2. การตังชือโครงงาน 66 3. การศึกษาเอกสารทีเกียวข้อง 69 4. การจัดทําเค้าโครงย่อของโครงงาน 72 สรุป 74 แบบฝึกหัดท้ายบท 74 แบบทดสอบท้ายบท 76 บททีบทที 55 การลงมือทําโครงงานการลงมือทําโครงงาน 7788 1. การเตรียมวัสดุอุปกรณ์และสถานทีในการทําโครงงาน 80 2. การดําเนินงาน 83 2.1 โครงงานประเภทสํารวจและรวบรวมข้อมูล 83 2.2 โครงงานประเภททดลอง 103 2.3 โครงงานประเภทสิงประดิษฐ์ 111 สรุป 114 แบบฝึกหัดท้ายบท 115 แบบทดสอบท้ายบท 117 บททีบทที 66 การเขียนรายการเขียนรายงานงาน 112211 1. รูปแบบการเขียนรายงาน 123 1.1 ตัวพิมพ์ 123 1.2 การจัดหน้ากระดาษ 124 1.3 การจัดหัวข้อในการพิมพ์ 125
  • 7. 2. องค์ประกอบของรายงาน 127 2.1 ส่วนหน้า 127 2.2 ส่วนเนือเรือง 134 2.3 ส่วนอ้างอิง 149 2.4 ส่วนเพิมเติม 152 สรุป 157 แบบฝึกหัดท้ายบท 157 แบบทดสอบท้ายบท 159 บททีบทที 77 การจัดแสดงโครงงานการจัดแสดงโครงงาน 116622 1. การจัดแสดงโครงงาน 164 2. การจัดแผงโครงงาน 166 3. การจัดนิทรรศการประกอบแผงโครงงาน 168 4. การทําแผ่นพับ 169 5. การรายงานปากเปล่า 171 สรุป 173 แบบฝึกหัดท้ายบท 174 แบบทดสอบท้ายบท 175 บททีบทที 88 การการวิเคราะห์และประเมินโครงงานวิเคราะห์และประเมินโครงงาน 117777 1. การวิเคราะห์โครงงาน 179 2. การประเมินโครงงาน 184 3. เครืองมือทีใช้ในการประเมินโครงงาน 186 4. กรอบการประเมินโครงงาน 189 สรุป 195 แบบฝึกหัดท้ายบท 195 แบบทดสอบท้ายบท 198
  • 8. ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์ทีมีผู้ทําไว้แล้ว 201 1. โครงงานวิทยาศาสตร์อาชีวศึกษา-เอสโซ่ 201 2. โครงงานประเภทสํารวจและรวบรวมข้อมูล 205 3. โครงงานประเภทสิงประดิษฐ์ 206 4. โครงงานประเภทการทดลอง 210 5. โครงงานวิทยาศาสตร์จากสถานศึกษาต่างๆ 218 บรรณานุกรม 219
  • 10. บทที 1 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ ■ สาระการเรียนรู้ 1. วิทยาศาสตร์คืออะไร 2. วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 3. ประเภทของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ 4. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เกิดขึนได้อย่างไร 5. เจตคติทางวิทยาศาสตร์ ■ ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง เมือศึกษาจบบทเรียนแล้ว นักศึกษาควรจะ 1. บอกหรืออธิบายความหมายของวิทยาศาสตร์ได้ 2. บอกความหมายและขันตอนของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ได้ 3. บอกหรืออธิบายประเภทของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้ 4. บอกหรืออธิบายทีมาของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้ 5. ให้ความหมายและรายละเอียดของเจตคติทางวิทยาศาสตร์ได้
  • 11. 1. วิทยาศาสตร์คืออะไร วิทยาศาสตร์ มาจากคําในภาษาละตินว่า “Scientia” หมายถึงความรู้ ซึงตรงกับคําใน ภาษาอังกฤษว่า “Science” ทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐได้ให้ความหมายของวิทยาศาสตร์เอาไว้ว่า วิทยาศาสตร์หมายถึงเนือหาหรือองค์ความรู้ (knowledge) ทีได้จากการศึกษาค้นคว้าและเรียบเรียงไว้ อย่างเป็นระเบียบ และกระบวนการ (process) ในการแสวงหาความรู้ ดังนั นวิทยาศาสตร์จึง ประกอบด้วยองค์ประกอบ 2 ส่วน ได้แก่ 1. เนือหาหรือองค์ความรู้ องค์ความรู้ทีได้รับการยอมรับว่าเป็นวิทยาศาสตร์นัน จะต้องเป็น ความรู้ทีเป็นจริง สามารถทดลองและพิสูจน์ได้ 2. กระบวนการในการเสาะแสวงหาความรู้ ■ จงบอกว่าข้อใดเป็นวิทยาศาสตร์และไม่เป็นวิทยาศาสตร์เพราะเหตุใด ข้อมูล คําตอบ เหตุผล 1. หมาหอนเพราะเห็นผี 2. นํ าแข็งลอยนํ าได้เพราะมีความหนาแน่นน้อยกว่านํ า 3. ถ้ามดขนไข่แสดงว่าฝนจะตก 4. อากาศร้อนจะขยายตัวลอยขึนสู่ทีสูง 5. ถ้าเอามือชีรุ้งกินนํ าแล้วมือจะกุด 6. ดวงอาทิตย์หมุนรอบโลก 7. ถ้าบรรจุนํ าอัดลมเต็มขวดแล้วนําไปแช่แข็งขวดจะแตก 8. นํ าแข็งละลายเพราะได้รับความร้อน 9. วันนีโชคไม่ดีเพราะจิงจกทักตังแต่เช้า 10. เอานํ าทะเลไปต้มจะได้เกลือเค็มๆ 11. เอาแม่เหล็ก 2 แท่งมาใกล้กัน ถ้าไม่ดูดกันก็ผลักกัน 12. วันนีจามทังวันแสดงว่ามีคนคิดถึง 13. วันนีตาเขม่นข้างขวาทังวันอาจจจะมีเรืองไม่ดี วิทยาศาสตร์ = ความรู้ + กระบวนการในการแสวงหาความรู้
  • 12. ในการศึกษาค้นคว้าเพือสร้างองค์ความรู้ หรือเพือให้ค้นพบความรู้ใหม่ๆ นัน นักวิทยาศาสตร์ จะใช้วิธีการศึกษาอย่างเป็นระบบ ทีได้รับการยอมรับว่าเป็นวิธีการทีดีทีสุด ในการศึกษาค้นคว้าหา คําตอบในเรืองทีต้องการศึกษา เรียกวิธีการนีว่าวิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific method) ซึงจะมี การดําเนินการเป็นขันตอนตามลําดับ นอกจากจะใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์แล้ว ยังต้องใช้ความรู้ ความสามารถ และความชํานาญด้านวิทยาศาสตร์ มาประกอบการศึกษาค้นคว้า ความรู้ความสามารถ และความชํานาญด้านวิทยาศาสตร์นี เรียกว่าทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Science process skill) 2. วิธีการทางวิทยาศาสตร์ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ เป็นวิธีการทีนักวิทยาศาสตร์ใช้เป็นแนวทาง ในการศึกษาค้นคว้าหา คําตอบของปัญหา เพือให้ได้มาซึงข้อเท็จจริง มีลําดับขันตอนต่างๆ ในการดําเนินการ พอสรุปได้ดังนี 1. กําหนดปัญหา โดยปกติการค้นคว้าหาความรู้หรือข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์ มักจะเริมต้นจากปัญหาหรือข้อ สงสัยทีต้องการคําตอบ เช่น เมือสตาร์ทรถจักรยานยนต์แล้วเครืองยนต์ไม่ทํางาน ปัญหาทีเกิดขึนก็คือ เครืองยนต์ไม่ทํางาน รถไม่สามารถวิงได้ ทําให้ต้องการทราบต่อไปอีกว่าเครืองยนต์ไม่ทํางานเพราะ อะไร หรือเกิดจากสาเหตุใด และจะมีวิธีการอย่างไรทีจะทําให้เครืองยนต์ทํางาน หัวข้อของปัญหาที กําหนดได้ในกรณีนีคือ มีปัจจัยใดบ้างทีทําให้เครืองยนต์ของรถจักรยานยนต์ ไม่สามารถทํางานได้ นอกจากปัญหานีแล้ว นักศึกษาคงเคยพบหรือสัมผัสกับปัญหาอีกมากมายทีเกิดขึนในชีวิตประจําวัน ■ ยกตัวอย่างปัญหาทีเกิดหรือพบเห็นในชีวิตประจําวันมา4 อย่าง _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ 2. ตังสมมติฐาน การตังสมมติฐาน เป็นการคาดคะเนถึงสาเหตุของปัญหา เพือเป็นแนวทางในการหาคําตอบ ล่วงหน้าว่าปัญหาทีเกิดขึนนัน น่าจะมีสาเหตุหรือเกิดจากอะไร จะมีวิธีการแก้ไขอย่างไร สมมติฐาน อาจมีได้มากกว่า 1 ข้อก็ได้ในแต่ละปัญหา สมมติฐานทีตังขึนมาอาจถูกต้องหรือผิดพลาดก็ได้ ซึงเรา สามารถพิสูจน์ได้จากการทดลอง
  • 13. ■ นักศึกษาคิดว่าการทีเครืองยนต์ของรถจักรยานยนต์ไม่ทํางาน เกิดจากสาเหตุใดได้บ้าง _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ _____________________________________________________________________ 3. ทดลอง เมือตังสมมติฐานหรือคาดคะเนสาเหตุของปัญหาได้แล้วว่าน่าจะเกิดจากสาเหตุใดขันต่อไปก็ คือการทดลอง เพือพิสูจน์ว่าสมมติฐานทีตังขึนมานันถูกต้องหรือไม่ ถ้าปัญหานั นค่อนข้างละเอียด ซับซ้อน หรือยากแก่การหาคําตอบ ต้องมีการออกแบบการทดลองให้รัดกุม และควบคุมตัวแปร หรือ ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆ ให้ดี เพือป้องกันความผิดพลาด และอาจจําเป็นต้องทดลองซํ า หลายครั ง เพือให้ข้อมูลทีได้มีความน่าเชือถือมากทีสุด ■ นักศึกษาคิดว่าข้อใดเป็นสาเหตุ และข้อใดไม่ใช่สาเหตุ ทีทําให้เครืองยนต์ของ รถจักรยานยนต์ไม่ทํางาน __________ นํ ามันไม่มี __________ ยางแบน __________ ลืมเปิดสวิตซ์กุญแจ __________ แบตเตอรีไม่มีไฟฟ้า __________ หัวเทียนไม่มีประกายไฟฟ้า __________ โซ่ขาด __________ สายไฟฟ้าแบตเตอรีหลุด __________ ท่อนํ ามันอุดตัน __________ นํ าเข้าเครืองยนต์ 4. รวบรวม/วิเคราะห์ข้อมูล เมือทดลองและพิสูจน์สมมติฐานจนได้ผลเป็นทีแน่นอนแล้ว นําข้อมูลทีได้มารวบรวมและจัด กลุ่มหรือหมวดหมู่ เพือสะดวกต่อการอภิปรายผล ลงข้อสรุปและนําเสนอ ปัญหาบางอย่างอาจมี คําตอบหลายคําตอบ หรือมีหลายสาเหตุ ดังนั น ต้องมีการจัดข้อมูลให้เป็นระบบ เพือเลือกว่าคําตอบ ใดหรือวิธีการใดทีเหมาะสมทีสุด หรือดีทีสุดในการแก้ปัญหา
  • 14. 5. สรุปผล เป็นการลงความเห็นหรือข้อสรุป ในการค้นคว้าหาคําตอบของปัญหา ว่าปัญหาทีเกิดนันเกิด จากสาเหตุใด และจะมีวิธีการหรือขันตอนอย่างไรในการแก้ปัญหานันๆ ต่อไปถ้ามีปัญหาในลักษณะ เดียวกันนี ก็สามารถนําวิธีการและข้อสรุปทีได้ไปใช้ในการแก้ปัญหาในครั งต่อไป โดยไม่ต้องทดลอง ซํ าอีก การสรุปผลนีส่วนมากมักจะนําเสนอ ในลักษณะทีเป็นรูปเล่มของรายงาน 3. ประเภทของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ทีเกิดจากการศึกษาค้นคว้า โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไม่ว่า จะอยู่ในสาขาใด เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา หรือวิทยาศาสตร์กายภาพ ชีวภาพ สามารถจําแนก ออกเป็นประเภทต่างๆได้ดังนี 1. ข้อเท็จจริง (Fact) เป็นความรู้ขันพืนฐานคือความเป็นจริงในธรรมชาติ ทังทีสามารถสังเกตได้โดยตรง และไม่ สามารถสังเกตได้โดยตรง แต่ไม่ว่าจะสังเกตได้โดยวิธีใด ข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์ จะต้องเป็นจริง เสมอ สามารถทดสอบได้ผลเหมือนเดิมทุกครั งตัวอย่างข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์ได้แก่ - แมงมุมมีขา 8 ขา - ค้างคาวเป็นสัตว์เลียงลูกด้วยนม - เมือนํ าได้รับความร้อนจะกลายเป็นไอ - โลกหมุนรอบดวงอาทิตย์ - สิงมีชีวิตต้องกินอาหาร 2. ความคิดรวบยอด(Concept) เป็นความคิดหลัก ทีคนเรามีต่อสิงหนึงสิงใด ซึงจะช่วยให้เรารู้และเข้าใจเกียวกับวัตถุ หรือ ปรากฏการณ์ต่างๆความคิดรวบยอดของแต่ละบุคคลต่อวัตถุหรือปรากฏการณ์เดียวกันอาจจะแตกต่าง กันไปตามประสบการณ์ เช่น ถ้าพูดถึงเก้าอี บางคนอาจนึกถึงเก้าอีกลม บางคนอาจนึกถึงเก้าอีมีทีพิง หรือบางคนอาจนึกถึงเก้าอีพับ บางคนนึกถึงเก้าอีทีมีทีวางแขนและล้อหมุน เป็นต้น ตัวอย่างของ ความคิดรวบยอดทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ - นํ าทะเลเป็นนํ ากระด้าง - แสงเป็นคลืนแม่เหล็กไฟฟ้า - อะตอมประกอบด้วยอิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอน
  • 15. 3. หลักการ(Principle) เป็นกลุ่มของความคิดรวบยอดทีเป็นเหตุและผลซึงกันและกัน เป็นความสัมพันธ์แบบมีเงือนไข สามารถนํามาทดลองซํ าได้ผลเหมือนเดิมทุกครั งตัวอย่างหลักการทางวิทยาศาสตร์ได้แก่ - (ถ้า)แม่เหล็กขัวเหมือนกัน(ดังนัน)จะผลักกัน (ถ้า) ขัวต่างกัน(ดังนัน) จะดูดกัน - เมือโลหะได้รับความร้อนจะขยายตัว - โลหะต่างชนิดกันจะนําไฟฟ้าได้ไม่เท่ากัน - ทีอุณหภูมิและความดันเท่ากันสารชนิดเดียวกันจะมีความหนาแน่นเท่ากัน 4. กฎ (Law) เป็นหลักการทีสามารถเขียนเป็นสมการ แทนความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผลได้ ตัวอย่าง ของกฎทางวิทยาศาสตร์ได้แก่ - กฎของบอยล์ - กฎของความโน้มถ่วง - กฎทรงมวลของสสาร - กฎการเคลือนทีของวัตถุ ภาพที 1.1 รถยนต์ในความคิดรวบยอดของแต่ละคน อาจจะมีลักษณะแตกต่างกันออกไป ภาพที 1.2 แม่เหล็กขัวต่างกันจะดูดกัน ภาพที 1.3 แม่เหล็กขัวเหมือนกันจะผลักกัน
  • 16. 5. ทฤษฎี (Theory) หมายถึง ข้อความหรือคําบรรยายทีสร้างขึนมา เพือใช้อธิบายหรือทํานายปรากฏการณ์ และ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆในปรากฏการณ์เหล่านัน ทฤษฎีทีสร้างหรือคิดขึนมาอาจจะถูกต้อง หรือไม่ก็ได้ ถ้ามีทฤษฎีใหม่ๆทีสามารถอธิบายปรากฏการณ์นันๆได้ดีกว่า ทฤษฎีเก่าก็จะถูกยกเลิกไป ตัวอย่างทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ได้แก่ - ทฤษฎีอะตอม - ทฤษฎีเซลล์ - ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส ■ ความรู้ต่อไปนี จัดเป็นความรู้ประเภทใด - เครืองบินจะมีปีกใหญ่ 2 ปีก ปีกเล็ก 2 ปีก มีกระโดงอยู่ด้านท้ายของลําตัวมีเครืองยนต์ อยู่ทีปีกใหญ่ข้างละ2 เครือง_____________________________________________ - เราสามารแยกเกลือออกจากนํ าทะเลได้โดยการนําไปต้ม________________________ - สิงมีชีวิตทุกชนิดต้องการอาหาร __________________________________________ - วิญญาณเป็นพลังงานทีเป็นคลืนแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึง ถ้าเราสามารถผลิตเครืองมือที สามารถจูนความถีให้ตรงกันได้ เราก็อาจจะสามารถติดต่อกับวิญญาณได้_________________ - อัตราเร็วหาได้จากระยะทางทีเคลือนทีได้ หารด้วยเวลาทีใช้ในการวิง____________________ 4. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เกิดขึนได้อย่างไร เมือวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู้และกระบวนการทีทําให้ได้มาซึงความรู้ ดังนัน การได้มาซึง ความรู้วิทยาศาสตร์ จึงเกิดขึนได้หลายทาง ได้แก่ 1. เกิดการสังเกต (observation) การสังเกต เป็นทักษะเบืองต้นทีสําคัญในการศึกษาและสร้าง องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ความรู้พืนฐานทางวิทยาศาสตร์ ส่วนมากเกิดจากการสังเกต และคิด วิเคราะห์อย่างเป็นระบบของนักวิทยาศาสตร์ การสังเกตทีถูกต้องนัน ต้องมีการจดบันทึกข้อมูลเอาไว้ อย่างละเอียดเพือป้องกันการหลงลืมและสูญหายของข้อมูล ตัวอย่างของความรู้ทีเกิดจาการสังเกต เช่น ฟรานซิส เรดิ (Francis Redi)ทีสังเกตพบว่าตัวหนอนในเนือเน่าเกิดจากไข่แมลงวัน 2. เกิดจาการทดลองและการวัด(experimentation and measurement) การทดลองและการวัด ทําให้เรารู้ปรากฎการณ์ และการเปลียนแปลงในธรรมชาติมากมาย ในการวัดบางครั งเราสามารถใช้ ประสาทสัมผัสของร่างกายวัดได้ แต่ในบางครั ง จําเป็นต้องใช้เครืองมือทางวิทยาศาสตร์ทีให้ความ ถูกต้อง แม่นยํามากว่าเช่น เครืองชัง เทอร์มอมิเตอร์ ไม้บรรทัด เป็นต้น ตัวอย่างของความรู้ทีได้จาก
  • 17. การทดลองและการวัด ได้แก่ นํ าจะแข็งตัวทีอุณหภูมิ0 องศาเซลเซียส และเดือดทีอุณหภูมิ 100 องศา เซลเซียส เป็นต้น ภาพที 1.4 การทดลองทําให้เกิดการค้นพบองค์ความรู้ 3. เกิดจากความบังเอิญ (accidental) ความบังเอิญเป็นอีกสาเหตุหนึง ทีทําให้ได้มาซึงความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ โดยทีนักวิทยาศาสตร์ไม่ได้ตังเป้าหมายเอาไว้และคาดไม่ถึง เช่น การบังเอิญของ เรินต์เกน(Roentgen) นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ทีผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในหลอดสุญญากาศและพบรังสี เอกซ์ (X-rays) ในปี พ.ศ. 2438 หรือการทดลองเหนียวนําไฟฟ้าของเฮิรตซ์ (Herzt) ทีทําให้เขาพบ คลืนวิทยุ ซึงเป็นคลืนแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึงในปี พ.ศ. 2430 4. เกิดจากการจัดระบบระเบียบโดยอาศัยการสังเกต เช่น การจัดระบบหรือหมวดหมู่ของพืช และสัตว์ เช่น การจําแนกประเภทของสิงมีชีวิตของลินเนียส (Linnaeus) ทีได้จัดระบบการจําแนก สิงมีชีวิตออกเป็นลําดับขัน หรือการจัดอนุกรมวิธาน จากลําดับใหญ่ไปหาลําดับย่อย ได้แก่ อาณาจักร (kingdom) ไฟลัม(phylum) ชัน(class) อันดับ(order) วงศ์(family) สกุล (genus) ชนิด (species) ทังนี แต่ละกลุ่มจะสามารถจําแนกแยกย่อย ต่อไปอีกได้ละเอียดมากน้อยเพียงใด ขึนอยู่กับจํานวนและ ความสัมพันธ์ของสิงมีชีวิตในกลุ่มนันๆ การจัดกลุ่มของสิงมีชีวิต หรือสิงของอืนๆ ในลักษณะเช่นนีจะ ทําให้ง่ายและสะดวกในการศึกษาค้นคว้า Phylum Class Order Family Genus Species Kingdom Phylum Class Order Family Genus Species Phylum Class Order Family Genus Species ภาพที 1.5 การจําแนกสิงมีชีวิตตามหลักของลินเนียส
  • 18. 5. เกิดจากการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ เป็นการศึกษาค้นคว้าทีใช้วิธีการ ขันตอน และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการค้นคว้าหาคําตอบของปัญหาทีต้องการทราบ ทําให้ได้องค์ความรู้ทีถูกต้องตามหลักวิชาการ เป็นทีมาของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ทีสําคัญในปัจจุบัน เช่น การวิจัยข้าวเพือผลิตข้าวพันธุ์ใหม่ๆ ทีมีความต้านทานโรคและแมลงให้ผลผลิตสูง การวิจัยเกียวกับ จุลินทรีย์เพือหาทางผลิตวัคซีนป้องกันโรค เป็นต้น การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ในระดับนักเรียน นักศึกษา ก็คือการทําโครงงานวิทยาศาสตร์นันเอง 5. เจตคติทางวิทยาศาสตร์ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ (Science attitude)เป็นจิตหรือการคิดและการกระทําทีเป็นวิทยาศาสตร์ คือเป็นลักษณะนิสัยของนักวิทยาศาสตร์ ทีใช้ทักษะกระบวนการและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ใน การศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ผู้ทีมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์ หรือมีจิตวิทยาศาสตร์ ควรเป็นผู้มีคุณลักษณะ ดังต่อไปนี 1. ใฝ่ รู้ เป็นลักษณะนิสัยทีสําคัญทีสุดของผู้ทีเป็นนักวิทยาศาสตร์ คือนักวิทยาศาสตร์ต้องมีความ กระตือรือร้น อยากรู้อยากเห็นอยู่ตลอดเวลา ช่างคิด ช่างทํา ช่างสงสัย ทังในเรืองทีเป็นปรากฏการณ์ ธรรมชาติ หรือเรืองอืนๆทัวไป ต้องการคําตอบหรือทีมาของข้อสงสัยนันๆ และจะมีความยินดีมากที ได้ค้นพบความรู้ใหม่ 2. มีความเพียรพยายาม นักวิทยาศาสตร์ต้องเป็นผู้มีความเพียรพยายาม ไม่ท้อถอยเมือมีอุปสรรค หรือมีความล้มเหลว ในการทดลอง มีความตังใจแน่วแน่ในการเสาะแสวงหาความรู้ เมือได้คําตอบทีไม่ถูกต้องก็จะได้ทราบ ว่า วิธีการเดิมใช้ไม่ได้ ต้องหาแนวทางในการแก้ปัญหาใหม่ และความล้มเหลวทีเกิดขึนนั น ถือว่า เป็นข้อมูลทีต้องบันทึกไว้ 3. มีเหตุผล นักวิทยาศาสตร์ต้องเป็นผู้มีเหตุผล ไม่งมงาย เชือโชคลาง คําทํานาย หรือสิงศักดิ สิทธิ ต่างๆ ยอมรับในคําอธิบายเมือมีหลักฐานหรือข้อมูลมาสนับสนุนอย่างเพียงพออธิบายหรือแสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล หาความสัมพันธ์ของเหตุและผลทีเกิดขึน ตรวจสอบความถูกต้อง สมเหตุสมผลของ แนวคิดต่างๆ กับแหล่งข้อมูลทีเชือถือได้ แสวงหาหลักฐานและข้อมูลจากการสังเกตหรือการทดลอง
  • 19. เพือสนับสนุนหรือคิดค้นหาคําอธิบาย มีหลักฐานข้อมูลเพียงพอเสมอก่อนจะสรุปผล เห็นคุณค่าใน การใช้เหตุผล ยินดีให้มีการพิสูจน์ตามเหตุผลและข้อเท็จจริง 4. มีความซือสัตย์ นักวิทยาศาสตร์ต้องเป็นผู้มีความซือสัตย์ บันทึกผลหรือข้อมูลตามความเป็นจริงด้วยความ ละเอียด ถูกต้อง ไม่ลําเอียงหรือคิดเข้าข้างตัวเอง ว่าผลการทดลองน่าจะเป็นแบบนั น หรือแบบนี ตามทีเราคิด เห็นคุณค่าของการเสนอข้อมูลตามความเป็นจริง ผู้อืนสามารถตรวจสอบในภายหลังได้ 5. มีความละเอียดรอบคอบ นักวิทยาศาสตร์ต้องเป็นผู้เห็นคุณค่าของความมีระเบียบ และความละเอียดรอบคอบ ความมี ระเบียบมีประโยชน์ต่อการทํางานเป็นอย่างมาก ทังการจัดระบบการทํางาน การรวบรวม เรียบเรียง การจัดกระทํากับข้อมูล ตลอดจนการนําเสนออย่างเป็นระบบ ระเบียบ จะทําให้ผู้อ่านเข้าใจง่าย นอกจากนี ความละเอียดรอบคอบ นําวิธีการหลายๆอย่างตรวจสอบผลการทดลองหรือวิธีการทดลอง ไตร่ตรอง พินิจพิเคราะห์อย่างละเอียด ถีถ้วน จะทําให้ได้ข้อมูลทีถูกต้อง มีโอกาสผิดพลาดน้อย คิด อย่างละเอียดรอบคอบก่อนการตัดสินใจ 6. ใจกว้าง นักวิทยาศาสตร์ต้องเป็นผู้มีใจกว้างทีจะรับฟังความคิดเห็นของคนอืน รับฟังคําวิพากษ์วิจารณ์ ข้อโต้แย้งหรือข้อคิดเห็นทีมีเหตุผลของผู้อืน โดยไม่ยึดมันในความคิดเห็นของตนฝ่ายเดียว ยอมรับการ เปลียนแปลง หรือเปลียนแนวคิดหากมีผู้เสนอแนวคิดทีมีเหตุผลสนับสนุนทีดีกว่า ยอมพิจารณาข้อมูล หรือความคิดทียังสรุปแน่นอนไม่ได้ และพร้อมทีจะหาข้อมูลเพิมเติม คุณลักษณะทัง6 ประการนี รวมกันเรียกว่า เจตคติทางวิทยาศาสตร์ เจตคติทางวิทยาศาสตร์นี ไม่ใช่สิงจําเป็นสําหรับนักวิทยาศาสตร์เท่านัน แม้บุคคลทัวไปหากเป็นผู้มีเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ก็ สามารถนําไปใช้เป็นหลักในการปรับปรุงและพัฒนาการทํางาน ซึงจะเป็นประโยชน์แก่การทํางานและ การดํารงชีวิตเป็นอย่างยิงทําให้การงานทีเคยมีปัญหา เป็นไปอย่างราบรืน ไม่ติดขัด ซึงผลทีจะตามมา คือ ประสิทธิภาพ และผลผลิตในการทํางาน
  • 20. สรุป วิทยาศาสตร์เป็นวิชาทีว่าด้วยความเป็นจริง สามารถทดลองและพิสูจน์ได้ ประกอบด้วย องค์ประกอบ 2 ส่วน คือความรู้ และกระบวนการในการเสาะแสวงหาความรู้ นักวิทยาศาสตร์ใช้ วิธีการทีได้รับการยอมรับว่าดีทีสุดในการค้นคว้าหาความรู้ คือวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ซึง ประกอบด้วยขันตอนสําคัญได้แก่ การกําหนดปัญหาหรือเรืองทีต้องการศึกษา ตังสมมติฐาน ทดลอง รวบรวม/วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผล ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ จําแนกออกได้เป็นหลายประเภท ตาม ธรรมชาติหรือหมวดหมู่ของความรู้ทีคล้ายคลึงกัน ได้แก่ ข้อเท็จจริงซึงเป็นความจริงของธรรมชาติที สามารถทดลองและพิสูจน์ได้ ความคิดรวบยอด หลักการ กฎ และทฤษฎี ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เกิดได้จากหลายสาเหตุ ได้แก่ การสังเกต การทดลองและการวัด ความบังเอิญ การจัดระบบของสิงทีมีอยู่แล้ว และการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ซึงเป็นแหล่งก่อเกิดความรู้ ทีสําคัญในปัจจุบัน ซึงก็คือการทําโครงงานของนักเรียน นักศึกษานันเอง คุณสมบัติสําคัญของนักวิทยาศาสตร์คือ มีความเป็นวิทยาศาสตร์ หรือการกระทําทีเป็น วิทยาศาสตร์ เรียกว่าเจตคติวิทยาศาสตร์หรือจิตวิทยาศาสตร์ คือมีลักษณะนิสัย ใฝ่รู้หรืออยากรู้อยาก เห็น มีความเพียรพยายาม มีเหตุผล ซือสัตย์ ละเอียดรอบคอบ และใจกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของ ผู้อืน แบบฝึกหัดท้ายบท คําสัง. จงเติมคําหรือตอบคําถามในช่องว่างให้ถูกต้อง 1. วิทยาศาสตร์หมายถึง _____________________________________________________________ ประกอบด้วยองค์ประกอบ____________ ส่วน ได้แก่__________________________________ ______________________________________________________________________________
  • 21. 2. วิธีการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง ____________________________________________________ ประกอบด้วยขันตอนทังหมด ขันตอน________________ ได้แก่ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ 3. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มี ___________ อย่าง ได้แก่____________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ 4. ความรู้ทีเป็นข้อเท็จจริงจะมีลักษณะอย่างไร____________________________________________ ตัวอย่าง เช่น____________________________________________________________________ 5. ความรู้ทีเป็นหลักการจะมีลักษณะอย่างไร_____________________________________________ ตัวอย่าง เช่น____________________________________________________________________ 6. ความรู้ทีเป็นทฤษฎีจะมีลักษณะสําคัญอย่างไร__________________________________________ หากทฤษฎีนั นได้รับการพิสูจน์แล้วว่าเป็นความจริง ทฤษฎีนันจะเป็นอย่างไรต่อไป_____________ ______________________________________________________________________________ หากพิสูจน์แล้วปรากฏว่าไม่เป็นความจริง ทฤษฎีนันจะเป็นอย่างไรต่อไป____________________ ______________________________________________________________________________ 7. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เกิดขึนได้โดยวิธีใดบ้าง ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ 8. เด็กเอามือไปแหย่เปลวไฟจึงรู้ว่าไฟร้อน เป็นการเรียนรู้ทีเกิดความรู้โดยวิธีใด_________________ 9. เจตคติทางวิทยาศาสตร์หมายถึง _____________________________________________________ ผู้ทีมีจิตวิทยาศาสตร์ จะมีลักษณะสําคัญอย่างไรบ้าง_____________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________
  • 22. แบบทดสอบท้ายบท คําสัง. จงกากบาท (X) ทับคําตอบทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว 1. วิทยาศาสตร์หมายถึง ก. ความรู้ ข. ความจํา ค. ความเข้าใจ ง. การสือสาร จ. การนําไปใช้ 2. วิทยาศาสตร์ประกอบด้วยองค์ประกอบใด ก. ความรู้-ความจํา ข. ความจํา-ความเข้าใจ ค. ความเข้าใจ-การนําไปใช้ ง. ความรู้-การนําไปใช้ จ. ความรู้-การแสวงหาความรู้ 3. ข้อใดเป็นวิทยาศาสตร์ ก. จามทังวันแสดงว่ามีคนคิดถึง ข. ถูกไฟฟ้าดูดแน่ถ้าตัวเปียก ค. โชคไม่ดีเพราะออกบ้านไม่ถูกเวลา ง. วันนีหกล้มเพราะถูกจิงจกทัก จ. เคราะห์ไม่ดีเพราะอายุครบ 25 ปี 4. วิธีการทางวิทยาศาสตร์เริมต้นด้วยข้อใด ก. ทดลอง ข. ปัญหา ค. สรุป ง. สมมติฐาน จ. รวบรวมข้อมูล 5. ขันตอนใดเป็นการคาดคะเนถึงสาเหตุของปัญหา (ใช้คําตอบในข้อ4) 6. ลักษณะสําคัญทีสุดของนักวิทยาศาสตร์คือข้อใด ก. ใฝ่รู้ ข. มีเหตุผล ค. มีความพยายาม ง. ละเอียด รอบคอบ จ. สอดรู้ สอดเห็น 7. เด็กน้อยเอามือไปแหย่เปลวไฟจึงรู้ว่าเปลวไฟ ร้อน จัดว่าเป็นการเรียนรู้โดยวิธีใด ก. การสังเกต ข. การทดลอง ค. ความบังเอิญ ง. การจัดระบบ จ. การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 8. ใครเป็นคนค้นพบรังสีเอกซ์ ก. คาโรลัส ลินเนียส ข. โทมัส เอลวา เอดิสัน ค. ไมเคิล ฟาราเดย์ ง. เบนจามิน แฟรงคลิน จ. วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกนต์
  • 23. 9. ใครเป็นคนค้นพบคลืนแม่เหล็กไฟฟ้า ก. คาโรลัส ลินเนียส ข. โทมัส เอลวา เอดิสัน ค. เบนจามิน แฟรงคลิน ง. ไฮน์ริช รูดอล์ฟ เฮริตซ์ จ. วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกนต์ 10. ใครเป็นผู้จําแนกประเภทของสิงมีชีวิตทีได้รับ การยอมรับมากทีสุด ก. คาโรลัส ลินเนียส ข. โทมัส เอลวา เอดิสัน ค. เบนจามิน แฟรงคลิน ง. ไฮน์ริช รูดอล์ฟ เฮริตซ์ จ. วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกนต์ 11. ข้อใดเรียงลําดับการจําแนกสิงมีชีวิต จากหัวข้อ ใหญ่ไปหาหัวข้อย่อยได้ถูกต้อง ก. Specie Class Order Phylum ข. Phylum Class Order Specie ค. Phylum Order Specie Class ง. Order Specie Class Phylum จ. Class Specie Order Phylum 12. สิงมีชีวิตทุกชนิดต้องกินอาหาร เป็นความรู้ ประเภทใด ก. กฎ ข. ทฤษฎี ค. ข้อเท็จจริง ง. หลักการ จ. ความคิดรวบยอด 13. ถ้าเอาก๊าซA ซึงเบากว่าอากาศบรรจุในลูกโป่ง ลูกโป่งจะลอยได้ เป็นความรู้ประเภทใด ก. กฎ ข. ทฤษฎี ค. ข้อเท็จจริง ง. หลักการ จ. ความคิดรวบยอด 14. ลักษณะสําคัญทีสุดของผู้มีจิตวิทยาศาสตร์คือ ก. ใฝ่รู้ ข. ขยัน ค. มีเหตุผล ง. ซือสัตย์ จ. ละเอียด รอบคอบ
  • 25. บทที 2 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ■ สาระการเรียนรู้ 1. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1.1 ทักษะกระบวนการขันพืนฐาน 1.2 ทักษะกระบวนการขันบูรณาการ ■ ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง เมือศึกษาจบบทเรียนแล้วนักศึกษาควรจะ 1. บอกหรืออธิบายความหมายของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้ 2. บอกความหมายและยกตัวอย่างทักษะกระบวนการขันพืนฐานได้ 3. บอกความหมายและยกตัวอย่างทักษะกระบวนการขันสูงได้ 4. มีความสามารถในการใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 5. มีเจตคติหรือจิตวิทยาศาสตร์
  • 26. 1. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (science process skills) ประกอบด้วยคํา 2 คําคือทักษะ (skill) หมายถึงความชํานาญ และกระบวนการ(process) หมายถึง การปฏิบัติงานเป็นขันตอนตามลําดับ รวมความแล้วทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความชํานาญในการใช้1) ความสามารถใน การคิด 2) เครืองมือ และ 3) วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ในการศึกษาค้นคว้าหาคําตอบเพือให้ได้มาซึง ความรู้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์แบ่งออกได้เป็น 13 ทักษะ ทักษะที 1-8 เป็นทักษะ กระบวนการขันพืนฐานส่วนทักษะที 9-13 เป็นทักษะกระบวนการขันสูงหรือขันบูรณาการ 2. ทักษะกระบวนการขันพืนฐาน มีทังหมด8 ทักษะ ได้แก่ 1. การสังเกต (observation) เป็นการใช้ความสามารถในการใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึง หรือหลายอย่างรวมกัน เช่น หู ตา จมูก ปาก และประสาทสัมผัส ไปตรวจสอบวัตถุหรือเหตุการณ์ เพือเก็บรวบรวมข้อมูล และรายละเอียดต่างๆ บางครังต้องใช้เครืองมือทางวิทยาศาสตร์ช่วย เพือให้ได้ข้อมูลทีถูกต้องและมันใจ ยิงขึน เช่น แว่นขยายไม้บรรทัด กล้องจุลทรรศน์ กล้องโทรทัศน์ เป็นต้น การสังเกต เป็นทักษะเบืองต้นทีสําคัญทีสุดในการเรียนวิทยาศาสตร์ ข้อมูลทีได้จากการสังเกต จัดว่าเป็น ข้อมูลเชิงคุณภาพ คือข้อมูลทีไม่สามารถวัดและตรวจสอบได้ด้วยเครืองมือตรวจวัด แต่ สามารถอธิบายคุณลักษณะของสิงทีสังเกตได้ด้วยการบรรยายเช่น การเปลียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ลักษณะนิสัย เจตคติ ความสามารถในการทําสิงใดสิงหนึง ความคิดเห็น เป็นต้น ภาพที 2.1 การสังเกตเป็นทักษะเบืองต้นทีสําคัญของวิทยาศาสตร์
  • 27. ■ ให้นักศึกษาสังเกตลักษณะของเทียนไข(หรือวัตถุอย่างใดอย่างหนึง) อย่างละเอียด รอบคอบและบันทึกลักษณะทีสังเกตได้ให้ได้มากทีสุด จะบันทึกด้วยการบรรยาย หรือ บอกเป็นข้อๆ ก็ได้________________________________________________________ __________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ __________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ __________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ __________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ __________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ __________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ - ในการสังเกตครั งนี นักศึกษาใช้ประสาทสัมผัสใดในการสังเกตบ้าง __________________________________________________________________________ __________________________________________________________________________ - ในการสังเกตนันประสาทสัมผัสใดก่อให้เกิดการเรียนรู้มากทีสุด_____________________
  • 29. ผลการสังเกต _________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________ เกณฑ์การประเมิน/ ตรวจสอบกับภาพต้นฉบับ สิงทีสังเกตได้แต่ละอย่างให้ 1 คะแนน หากบอกจํานวนด้วยให้ 2 คะแนน คะแนน 21-25 ถือว่ามีทักษะการสังเกตดีเยียม คะแนน 16-20 ถือว่ามีทักษะการสังเกตดีมาก คะแนน 11-15 ถือว่ามีทักษะการสังเกตพอใช้ คะแนนตํากว่า 10 ยังต้องฝึกทักษะเพิมเติม สรุป นักศึกษามีทักษะการสังเกตอยู่ในระดับ___________________________________________
  • 30. 2. การวัด(Measurement) การวัดเป็นทักษะทีสําคัญอย่างหนึง เพราะการสังเกตเพียงอย่างเดียว ทําให้ทราบลักษณะ รูปร่างและสมบัติทัวไปของวัตถุเท่านัน ไม่สามารถบอกรายละเอียดเป็นตัวเลขทีแน่นอนได้ การวัดโดย ใช้ประสาทสัมผัสของร่างกาย บางครังเชือถือไม่ได้และไม่ถูกต้อง จําเป็นต้องอาศัยเครืองมือต่างๆ ช่วย ในการวัด เช่น ไม้บรรทัด เครืองชัง เทอร์มอมิเตอร์ ข้อมูลทีได้จากการวัดส่วนมากจะมีหน่วยวัด มาตรฐานกํากับอยู่ด้วยเสมอ เช่น5 มิลลิเมตร, 25 กรัม, 37º เซลเซียส เป็นต้น ข้อมูลทีได้จากการวัดจัดว่าเป็นข้อมูลเชิงปริมาณคือข้อมูลทีสามารถวัดและตรวจสอบได้อย่าง ชัดเจน ด้วยเครืองมือตรวจวัด สามารถระบุจํานวน ขนาด หรือปริมาณ เป็นตัวเลขได้ เช่น ความ กว้าง ความยาว ความสูง ความเร็ว นํ าหนัก เวลา เป็นต้น ภาพที 2.2 เครืองมือทีใช้ในการวัดบางชนิด ผู้ทีมีทักษะในการวัด ต้องมีความสามารถในด้านต่อไปนี 1. เลือกเครืองมือทีใช้ในการวัดได้อย่างเหมาะสมกับสิงทีจะวัด 2. ใช้เครืองมือนันๆ วัดปริมาณของสิงต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง แม่นยํา และรวดเร็ว 3. อ่านค่าทีได้จากการวัดได้ถูกต้อง รวดเร็ว พร้อมทังมีหน่วยกํากับเสมอ
  • 31. หน่วยการวัด การคํานวณในทางเคมีและทางฟิสิกส์ มักจะเกียวข้องกับการวัดสิงต่างๆทีเกียวข้องอยู่เสมอ ในอดีตหน่วยการวัดมีหลายระบบแตกต่างกันออกไป ทีสําคัญได้แก่ระบบอังกฤษและระบบเมตริก ระบบอังกฤษ เป็นระบบทีใช้กันมากในอังกฤษและอเมริกา มีหน่วยหลักทีสําคัญ3 หน่วย คือ ความยาวมีหน่วยวัดเป็นฟุต(foot) นํ าหนักมีหน่วยวัดเป็นปอนด์(pound) และเวลามีหน่วยวัดเป็นวินาที (second) ระบบอังกฤษนี บางทีเรียกว่าระบบF P S ระบบเมตริก เป็นระบบทีใช้กันโดยทัวไปนอกจากในอังกฤษและอเมริกา บางทีเรียกง่ายๆ ว่า ระบบ C G S (centimeter–gram-second) มีหน่วยหลักทีสําคัญ3 หน่วยคือ ความยาว มีหน่วยวัด เป็นเซนติเมตร (cm) นํ าหนักมีหน่วยวัดเป็นกรัม(g) และเวลามีหน่วยวัดเป็นวินาที (s) เนืองจากหน่วยการวัดมีหลายระบบ ทําให้เกิดความสับสนในการวัด เพราะบางประเทศใช้ ระบบการวัดแบบหนึง แต่อีกประเทศใช้ระบบการวัดอีกแบบหนึง ทําให้เกิดความเข้าใจไม่ตรงกัน ดังนัน เพือให้การวัดทางวิทยาศาสตร์เป็นมาตรฐานเดียวกัน จึงมีการประชุมใหญ่ทีกรุงปารีส ตกลงให้ การวัดปริมาณต่างๆเป็นมาตรฐานเดียวกันเรียกว่าระบบหน่วยระหว่างชาติ (System International & Unit) และใช้ชือย่อว่า ระบบ เอสไอ (S.I.) ระบบ เอส ไอ ประกอบด้วยหน่วยมูลฐาน หน่วยอนุพันธ์ และคําอุปสรรคทีใช้เพิมหรือลด ขนาดของหน่วยหลัก 1. หน่วยมูลฐาน(Base units) ระบบ เอส ไอ มีหน่วยมูลฐาน 7 หน่วย ตารางที 2.1 หน่วยมูลฐานของระบบ เอส ไอ ปริมาณ ชือหน่วย สัญลักษณ์ ความยาว มวล เวลา กระแสไฟฟ้า อุณหภูมิ ปริมาณสาร ความเข้มของการส่องสว่าง เมตร กิโลกรัม วินาที แอมแปร์ เคลวิน โมล แคนเดลา m kg s A K mol cd
  • 32. 2. หน่วยอนุพันธ์ (Derived units) เป็นหน่วยทีเกิดจากหน่วยมูลฐานหลายหน่วย มาเกียวเนือง กัน เช่น ความถีจะเกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างจํานวนคลืนกับหน่วยเวลา ตัวอย่างหน่วยอนุพันธ์ดัง แสดงในตาราง ตารางที2.2 หน่วยอนุพันธ์บางหน่วยของระบบ เอส ไอ ปริมาณ ชือหน่วย สัญลักษณ์ ความถี แรง งาน ความดัน กําลัง เฮิรตซ์ นิวตัน จูล พาสคัล วัตต์ Hz N J Pa W 3. คําอุปสรรค (prefixes) เป็นตัวเลขทีใช้เขียนเพือเพิมหรือลดขนาดของหน่วยอนุพันธ์ เมือ หน่วยอนุพันธ์มีค่ามากหรือน้อยเกินไป เราสามารถเขียนค่าตัวเลขนันคูณด้วยตัวพหุคูณ (เลขสิบยก กําลังบวกหรือลบ) ตารางที 2.3 แสดงคําอุปสรรคและสัญลักษณ์ ตัวพหุคูณ ชือคําอุปสรรค สัญลักษณ์ 1018 1015 1012 109 106 103 102 101 100 = 1 10-1 10-2 10-3 เอกซะ (exa) เพตะ (peta) เทระ (tera) จิกะ(giga) เมกะ(mega) กิโล (kilo) เฮกโต (hecto) เดคา (deca) หน่วยหลัก เดซิ (deci) เซนติ (centi) มิลลิ (milli) E P T G M k h da ขึนอยู่กับหน่วยวัด d c m
  • 33. ตัวพหุคูณ ชือคําอุปสรรค สัญลักษณ์ 10-6 10-9 10-12 10-15 10-18 ไมโคร(micro) นาโน (nano) พิโก (pico) เฟมโต (femto) อัตโต(atto)  n p f a ในชีวิตประจําวัน เราอาจพบเห็นการวัด ทีเกียวข้องกับคําอุปสรรคอยู่บ่อยๆ เช่น ถ้าหน่วยหลัก เป็นเมตร เราจะพบว่า 10 มิลลิเมตร = 1 เซนติเมตร 10 เซนติเมตร = 1 เดซิเมตร 10 เดซิเมตร = 1 เมตร 10 เมตร = 1 เดคาเมตร 10 เดคาเมตร = 1 เฮกโตเมตร 10 เฮกโตเมตร = 1 กิโลเมตร ถ้าหน่วยหลักเป็นกรัม ลิตร เบล หรือเฮิรตซ์ ก็จะวัดได้ในทํานองเดียวกัน แต่ในการวัดทาง วิทยาศาสตร์ ทีมีหน่วยเล็กมากหรือใหญ่มากๆ นิยมบอกเป็นตัวเลขคูณด้วยตัวพหุคูณ เช่น 0.000005 แอมแปร์ เขียนได้เป็น 5 X 10-6 แอมแปร์ = 5 ไมโครแอมแปร์ หรือ 6,000,000 วัตต์ เขียนได้เป็น 6 X 106 วัตต์ = 6 เมกะวัตต์ ■ ให้นักศึกษาวัด ขนาด มวล และปริมาตร ของเหรียญ 1 บาท 5 บาท และ 10 บาท ว่ามีขนาด มวล และปริมาตรเท่าใด พร้อมทังบอกด้วยว่าในการวัดแต่ละอย่างนันใช้ เครืองมืออะไรในการวัด เหรียญ 1 บาท มีความหนา _______ เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง________ เซนติเมตร มีมวล ________________ กรัม ปริมาตร_______________มิลลิลิตร เหรียญ 5 บาท มีความหนา _______ เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง________ เซนติเมตร มีมวล ________________ กรัม ปริมาตร_______________มิลลิลิตร
  • 34. เหรียญ 10 บาท มีความหนา_______ เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง________ เซนติเมตร มีมวล ________________ กรัม ปริมาตร_______________มิลลิลิตร การวัดขนาดของเหรียญ ใช้เครืองมืออะไรในการวัด________________________________ การวัดมวลของเหรียญ ใช้เครืองมืออะไรในการวัด__________________________________ การวัดปริมาตรของเหรียญ ใช้เครืองมืออะไรในการวัด______________________________ การบอกหน่วยการวัดในการทําโครงงานวิทยาศาสตร์นัน ผู้ทําโครงงานจะต้องบอกหน่วยการ วัด ทีเป็นหน่วยหลักทีได้รับการยอมรับทางวิทยาศาสตร์เช่น การวัดปริมาตรของของเหลว ต้องบอก หน่วยวัดเป็น มิลลิลิตร ลูกบาศก์เซนติเมตร ซี.ซี. (cubic centimetre) หรือลิตร ไม่ควรบอกเป็นถ้วยตวง ช้อนชา หรือช้อนโต๊ะ เพราะวัดปริมาตรได้ไม่แน่นอน ส่วนมวลของของแข็ง ควรบอกเป็น กรัม หรือกิโลกรัม เป็นต้น 3. การแยกประเภท(classification) เป็นกระบวนการทีนักวิทยาศาสตร์ ใช้จําแนกสิงต่างๆ ออกเป็นหมวดหมู่ เพือสะดวกใน การศึกษาและจดจําสิงเหล่านัน โดยอาศัยเกณฑ์บางอย่างในการจัดแบ่ง เกณฑ์ดังกล่าวอาจใช้ความ เหมือน ความแตกต่างหรือความสัมพันธ์อย่างใดอย่างหนึง เช่นตารางธาตุของนักเคมี จะรวมหมู่ธาตุ ทีมีสมบัติคล้ายคลึงกันเข้าไว้ด้วยกัน การจัดกลุ่มของวัตถุแต่ละกลุ่มอาจใช้เกณฑ์ได้หลายเกณฑ์ ทีผู้ จําแนกตังขึน ถ้าใช้เกณฑ์ในการจําแนกต่างกัน วัตถุทีเคยอยู่ในกลุ่มเดียวกันอาจเปลียนไปอยู่ในกลุ่ม อืนได้ แต่ไม่ว่าจะใช้เกณฑ์ใดก็ตาม จะต้องสามารถแยกประเภทและระบุชนิดของวัตถุต่างๆ ออกจาก กันได้อย่างชัดเจน ตัวอย่าง เช่น การแยกประเภทของสาร สารสาร สารเนือผสม สารเนือเดียว สารละลาย สารบริสุทธิ ธาตุ สารประกอบ ภาพที 2.3 การแยกประเภทของสาร
  • 35. ■ให้นักศึกษาจําแนกยานพาหนะทีมีทังหมดในโลก ออกเป็นหมวดหมู่ โดยการเขียนแผนผัง หรือแผนภูมิทีคิดว่ามีความเหมาะสมในการจําแนก แสดงการจําแนกจากกลุ่มใหญ่ลงไปจนถึงกลุ่มย่อย และบอกด้วยว่าในการแบ่งแต่ละครัง ใช้อะไรเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง _______________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________________ 4. การคํานวณ(using number) หมายถึงการนําค่าทีได้จากการสังเกตเชิงปริมาณ การวัด การทดลอง และจากแหล่งอืนๆ มา จัดกระทําให้เกิดค่าใหม่ เช่น การบวก ลบ คูณ หาร หาค่าเฉลีย ยกกําลัง ฯลฯ เพือให้ได้ข้อมูลทีมี ความหมายในเชิงสถิติ เพือประโยชน์ในการแปลความหมายและสรุปผลต่อไป
  • 36. 5. การหาความสัมพันธ์ของสเปส(space relationship) สเปส (space) หรือมิติของวัตถุ หมายถึงทีว่างทีวัตถุนันครอบครองอยู่ ซึงจะมีรูปร่างและ ลักษณะเช่นเดียวกับวัตถุนั น เช่น ถ้าเอาลูกฟุตบอลไปวางไว้ในทีว่าง ทีว่างทีถูกแทนทีก็จะประกอบกัน เป็นปริมาตร ซึงมีปริมาตรและรูปร่างเช่นเดียวกันกับลูกฟุตบอล โดยทัวไปแล้วสเปสของวัตถุจะมี3 มิติ คือความกว้าง ความยาวและความสูง ความสัมพันธ์ระหว่างมิติกับมิติ(space/space relationship) เป็นความสัมพันธ์ระหว่างตําแหน่งทีอยู่ของวัตถุหนึงกับอีกวัตถุหนึง เช่น ลูกฟุตบอลในกล่อง ภาพที 2.4 สเปสของลูกบอลภายในกล่อง สเปสกับเวลา(space/time relationship) เป็นความสัมพันธ์ระหว่างตําแหน่งของวัตถุกับเวลา ทีเปลียนไป เช่น รถยนต์ทีกําลังวิง หรือความสูงของต้นไม้ทีเปลียนไปในเวลา1 สัปดาห์ เป็นต้น ภาพที 2.5 แสดงสเปสกับเวลาของรถดับเพลิง นาทีที 0 นาทีที 1
  • 37. 6. การสือความหมาย (communication) การสือความหมาย เป็นการนําเอาข้อมูลทีได้จากการสังเกต การวัดและการทดลอง หรือจาก แหล่งอืนๆ มาจัดกระทําให้อยู่ในรูปแบบทีมีความหมาย หรือมีความสัมพันธ์กันมากขึน จนง่ายต่อการ แปลความหมายในขันต่อไป อาจทําได้หลายรูปแบบ เช่น คําบรรยาย สัญลักษณ์ สมการ ตาราง กราฟ แผนภูมิ แผนที รูปภาพ เป็นต้น ภาพที 2.6 ตัวอย่างการนําเสนอข้อมูลเป็นกราฟ 1. ถ้าปริมาณผลผลิตของพืชผักและผลไม้ในปี พ.ศ. 2548 เป็นดังนี ข้าว 3.25 ล้านตัน เงาะ1.5 ล้านตัน ลําไย1.75 ล้านตัน ส้มเขียวหวาน 2.25 ล้านตัน ข้าวโพด 2.75 ล้านตัน ถัวเหลือง1.25 ล้านตัน ยางพารา3.00 ล้านตัน มันสําปะหลัง2.75 ล้าน ตัน อ้อย 4.5 ล้านตัน จงนําเสนอข้อมูลทีเข้าใจง่ายทีสุด
  • 38. 2. ถ้าปริมาณผลผลิตข้าวในแต่ละปีเป็นดังนี ปี พ.ศ. 2505 3.2 ล้านตัน ปี พ.ศ. 2510 2.8 ล้านตัน ปี พ.ศ. 2515 3.0 ล้านตัน ปี พ.ศ. 2520 2.75 ล้านตัน ปี พ.ศ. 2525 3.5 ล้านตัน ปี พ.ศ. 2530 4.0 ล้านตัน ปี พ.ศ. 2535 4.25 ล้านตัน ปี พ.ศ. 2540 3.75 ล้านตัน ปี พ.ศ. 2545 4.5 ล้านตัน จงนําเสนอข้อมูลทีเข้าใจง่ายทีสุด การนําเสนอข้อมูลต้องพยายามนําเสนอในลักษณะทีเข้าใจง่าย อธิบายข้อมูลได้ชัดเจน อาจ นําเสนอในรูปแบบของกราฟแท่ง กราฟเส้น กราฟวงกลม กราฟรูปภาพ แผนผัง แผนภูมิ ผัง ความคิด (concept mapping) แผนภูมิก้างปลา การเลือกรูปแบบการเสนอข้อมูล ขึนอยู่กับลักษณะของข้อมูลและวัตถุประสงค์ของการศึกษา นอกจากนียังต้องคํานึงถึง ความชัดเจน ความถูกต้อง และความกะทัดรัดของข้อมูลอีกด้วย