SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
รูปแบบการเขียนโครงร่างการวิจัย
ชื่อเรื่อง (ภาษาไทย) ผลลัพธ์ของการคัดแยกประเภทผู้มารับบริการด้วย SUTH Speed ณ แผนก
ผู้ป่วยนอกและอุบัติเหตุฉุกเฉิน โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
(ภาษอังกฤษ) Outcomes of a System for Triage of Patients with SUTH Speed at The
Outpatient and Emergency Department at Suranaree University of Technology Hospital
ที่มาและความสาคัญ (background and rationale)
การเจ็บปุวยรุนแรง เฉียบพลันและฉุกเฉินอาจส่งผลให้ความคุกคามต่อชีวิตได้ หากได้รับการคัดรองแยก
ประเภทที่ล่าช้า จะส่งผลให้ผู้มารับบริการได้รับการดูแลรักษา ช่วยเหลือที่ไม่เหมาะสมนาไปสู่ความเจ็บปุวยที่เกิด
ความคุกคามต่อชีวิตได้ พยาบาลวิชาชีพที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการช่วยเหลือดูแลรักษาภาวะสุขภาพที่มี
ความผิดปกติความรุนแรงและเฉียบพลัน จึงมีความสาคัญในการคัดแยก (Triage) ซึ่งเป็นระบบการคัดกรองแยก
ประเภทของผู้มารับบริการเพื่อให้ได้รับการช่วยเหลือตามสภาพของการเจ็บปุวยในระยะเวลาที่รวดเร็วและ
เหมาะสม จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าระบบการคัดกรองที่มีประสิทธิภาพ จะส่งผลให้เจ้าหน้าที่ในจุดคัดกรอง
สามารถคัดแยกผู้มารับบริการได้อย่างถูกต้อง และทาให้ผู้มารับบริการได้รับการช่วยเหลือที่เหมาะสม ดังนั้น
หน่วยงานที่มีความเกี่ยวข้องในการดูแล ช่วยเหลือผู้ที่มารับบริการที่มีความการเจ็บปุวยรุนแรง เฉียบพลัน และ
ฉุกเฉินจึงได้มีการพัฒนาและส่งเสริมแนวทางในการคัดกรองแยกประเภทของผู้มารับบริการให้มีความละเอียด
ถูกต้อง ชัดเจน แม่นยา และมีมาตรฐาน เพื่อส่งผลให้ผู้มารับริการได้รับการคัดแยกประเภทได้อย่างถูกต้อง มี
คุณภาพ นาไปสู่การได้รับการช่วยเหลือที่รวดเร็วและเหมาะสม และยังทาให้ผู้มารับบริการเกิดความพึงพอใจใน
การมาใช้บริการ ลดการคลาดเคลื่อนในการคัดแยก ได้แก่ การประเมินความรุนแรงสูงกว่าความเป็นจริง (over
triage) ทาให้เกิดปัญหาการได้รับความช่วยเหลือล่าช้าในผู้มารับริการที่มีความรุนแรงมากกว่า และการประเมิน
ความรุนแรงต่ากว่าความเป็นจริง (under triage) ทาให้ผู้มารับริการมีอัตราการเสียชีวิตที่ไม่สมควรในกลุ่มที่มี
ภาวะวิกฤติ
ที่มาและความสาคัญ (background and rationale)
การเจ็บปุวยรุนแรง เฉียบพลันและฉุกเฉินอาจส่งผลให้ความคุกคามต่อชีวิตได้ หากได้รับการคัดรองแยก
ประเภทที่ล่าช้า จะส่งผลให้ผู้มารับบริการได้รับการดูแลรักษา ช่วยเหลือที่ไม่เหมาะสมนาไปสู่ความเจ็บปุวยที่เกิด
ความคุกคามต่อชีวิตได้ พยาบาลวิชาชีพที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการช่วยเหลือดูแลรักษาภาวะสุขภาพที่มี
ความผิดปกติความรุนแรงและเฉียบพลัน จึงมีความสาคัญในการคัดแยก (Triage) ซึ่งเป็นระบบการคัดกรองแยก
ประเภทของผู้มารับบริการเพื่อให้ได้รับการช่วยเหลือตามสภาพของการเจ็บปุวยในระยะเวลาที่รวดเร็วและ
เหมาะสม จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าระบบการคัดกรองที่มีประสิทธิภาพ จะส่งผลให้เจ้าหน้าที่ในจุดคัดกรอง
สามารถคัดแยกผู้มารับบริการได้อย่างถูกต้อง และทาให้ผู้มารับบริการได้รับการช่วยเหลือที่เหมาะสม ดังนั้น
หน่วยงานที่มีความเกี่ยวข้องในการดูแล ช่วยเหลือผู้ที่มารับบริการที่มีความการเจ็บปุวยรุนแรง เฉียบพลัน และ
ฉุกเฉินจึงได้มีการพัฒนาและส่งเสริมแนวทางในการคัดกรองแยกประเภทของผู้มารับบริการให้มีความละเอียด
ถูกต้อง ชัดเจน แม่นยา และมีมาตรฐาน เพื่อส่งผลให้ผู้มารับริการได้รับการคัดแยกประเภทได้อย่างถูกต้อง มี
คุณภาพ นาไปสู่การได้รับการช่วยเหลือที่รวดเร็วและเหมาะสม และยังทาให้ผู้มารับบริการเกิดความพึงพอใจใน
การมาใช้บริการ ลดการคลาดเคลื่อนในการคัดแยก ได้แก่ การประเมินความรุนแรงสูงกว่าความเป็นจริง (over
triage) ทาให้เกิดปัญหาการได้รับความช่วยเหลือล่าช้าในผู้มารับริการที่มีความรุนแรงมากกว่า และการประเมิน
ความรุนแรงต่ากว่าความเป็นจริง (under triage) ทาให้ผู้มารับริการมีอัตราการเสียชีวิตที่ไม่สมควรในกลุ่มที่มี
ภาวะวิกฤติ

More Related Content

Similar to รูปแบบการเขียนโครงร่างการวิจัย-อิอิ.pdf

Similar to รูปแบบการเขียนโครงร่างการวิจัย-อิอิ.pdf (8)

Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryClinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
 
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryClinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
 
Commed2 2017
Commed2 2017Commed2 2017
Commed2 2017
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
5 scope and practice _ update 17 เมย. 2560
5  scope and practice  _ update 17 เมย. 25605  scope and practice  _ update 17 เมย. 2560
5 scope and practice _ update 17 เมย. 2560
 
9.ภาควิชารังสิวิทยา
9.ภาควิชารังสิวิทยา9.ภาควิชารังสิวิทยา
9.ภาควิชารังสิวิทยา
 
4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา
4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา
4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 

รูปแบบการเขียนโครงร่างการวิจัย-อิอิ.pdf

  • 1. รูปแบบการเขียนโครงร่างการวิจัย ชื่อเรื่อง (ภาษาไทย) ผลลัพธ์ของการคัดแยกประเภทผู้มารับบริการด้วย SUTH Speed ณ แผนก ผู้ป่วยนอกและอุบัติเหตุฉุกเฉิน โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (ภาษอังกฤษ) Outcomes of a System for Triage of Patients with SUTH Speed at The Outpatient and Emergency Department at Suranaree University of Technology Hospital ที่มาและความสาคัญ (background and rationale) การเจ็บปุวยรุนแรง เฉียบพลันและฉุกเฉินอาจส่งผลให้ความคุกคามต่อชีวิตได้ หากได้รับการคัดรองแยก ประเภทที่ล่าช้า จะส่งผลให้ผู้มารับบริการได้รับการดูแลรักษา ช่วยเหลือที่ไม่เหมาะสมนาไปสู่ความเจ็บปุวยที่เกิด ความคุกคามต่อชีวิตได้ พยาบาลวิชาชีพที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการช่วยเหลือดูแลรักษาภาวะสุขภาพที่มี ความผิดปกติความรุนแรงและเฉียบพลัน จึงมีความสาคัญในการคัดแยก (Triage) ซึ่งเป็นระบบการคัดกรองแยก ประเภทของผู้มารับบริการเพื่อให้ได้รับการช่วยเหลือตามสภาพของการเจ็บปุวยในระยะเวลาที่รวดเร็วและ เหมาะสม จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าระบบการคัดกรองที่มีประสิทธิภาพ จะส่งผลให้เจ้าหน้าที่ในจุดคัดกรอง สามารถคัดแยกผู้มารับบริการได้อย่างถูกต้อง และทาให้ผู้มารับบริการได้รับการช่วยเหลือที่เหมาะสม ดังนั้น หน่วยงานที่มีความเกี่ยวข้องในการดูแล ช่วยเหลือผู้ที่มารับบริการที่มีความการเจ็บปุวยรุนแรง เฉียบพลัน และ ฉุกเฉินจึงได้มีการพัฒนาและส่งเสริมแนวทางในการคัดกรองแยกประเภทของผู้มารับบริการให้มีความละเอียด ถูกต้อง ชัดเจน แม่นยา และมีมาตรฐาน เพื่อส่งผลให้ผู้มารับริการได้รับการคัดแยกประเภทได้อย่างถูกต้อง มี คุณภาพ นาไปสู่การได้รับการช่วยเหลือที่รวดเร็วและเหมาะสม และยังทาให้ผู้มารับบริการเกิดความพึงพอใจใน การมาใช้บริการ ลดการคลาดเคลื่อนในการคัดแยก ได้แก่ การประเมินความรุนแรงสูงกว่าความเป็นจริง (over triage) ทาให้เกิดปัญหาการได้รับความช่วยเหลือล่าช้าในผู้มารับริการที่มีความรุนแรงมากกว่า และการประเมิน ความรุนแรงต่ากว่าความเป็นจริง (under triage) ทาให้ผู้มารับริการมีอัตราการเสียชีวิตที่ไม่สมควรในกลุ่มที่มี ภาวะวิกฤติ
  • 2. ที่มาและความสาคัญ (background and rationale) การเจ็บปุวยรุนแรง เฉียบพลันและฉุกเฉินอาจส่งผลให้ความคุกคามต่อชีวิตได้ หากได้รับการคัดรองแยก ประเภทที่ล่าช้า จะส่งผลให้ผู้มารับบริการได้รับการดูแลรักษา ช่วยเหลือที่ไม่เหมาะสมนาไปสู่ความเจ็บปุวยที่เกิด ความคุกคามต่อชีวิตได้ พยาบาลวิชาชีพที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการช่วยเหลือดูแลรักษาภาวะสุขภาพที่มี ความผิดปกติความรุนแรงและเฉียบพลัน จึงมีความสาคัญในการคัดแยก (Triage) ซึ่งเป็นระบบการคัดกรองแยก ประเภทของผู้มารับบริการเพื่อให้ได้รับการช่วยเหลือตามสภาพของการเจ็บปุวยในระยะเวลาที่รวดเร็วและ เหมาะสม จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าระบบการคัดกรองที่มีประสิทธิภาพ จะส่งผลให้เจ้าหน้าที่ในจุดคัดกรอง สามารถคัดแยกผู้มารับบริการได้อย่างถูกต้อง และทาให้ผู้มารับบริการได้รับการช่วยเหลือที่เหมาะสม ดังนั้น หน่วยงานที่มีความเกี่ยวข้องในการดูแล ช่วยเหลือผู้ที่มารับบริการที่มีความการเจ็บปุวยรุนแรง เฉียบพลัน และ ฉุกเฉินจึงได้มีการพัฒนาและส่งเสริมแนวทางในการคัดกรองแยกประเภทของผู้มารับบริการให้มีความละเอียด ถูกต้อง ชัดเจน แม่นยา และมีมาตรฐาน เพื่อส่งผลให้ผู้มารับริการได้รับการคัดแยกประเภทได้อย่างถูกต้อง มี คุณภาพ นาไปสู่การได้รับการช่วยเหลือที่รวดเร็วและเหมาะสม และยังทาให้ผู้มารับบริการเกิดความพึงพอใจใน การมาใช้บริการ ลดการคลาดเคลื่อนในการคัดแยก ได้แก่ การประเมินความรุนแรงสูงกว่าความเป็นจริง (over triage) ทาให้เกิดปัญหาการได้รับความช่วยเหลือล่าช้าในผู้มารับริการที่มีความรุนแรงมากกว่า และการประเมิน ความรุนแรงต่ากว่าความเป็นจริง (under triage) ทาให้ผู้มารับริการมีอัตราการเสียชีวิตที่ไม่สมควรในกลุ่มที่มี ภาวะวิกฤติ