SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
การเขียนหนังสือราชการ : เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘หมวด 1 ชนิดของ
หนังสือ ขอ 9 หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เปนหลักฐานในราชการ ไดแก
๙.๑ หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ
๙.๒ หนังสือที่สวนราชการมีไปถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่มีไปถึง บุคคลภายนอก
๙.๓ หนังสือที่หนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่บุคคลภายนอกมีมาถึงสวน ราชการ
๙.๔ เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นเพื่อเปนหลักฐานในราชการ
๙.๕ เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับ
๙.๖ ขอมูลขาวสารหรือหนังสือที่ไดรับจากระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ หมวด 1 ชนิดของ
หนังสือ ขอ ๑๐ หนังสือ มี ๖ ชนิด คือ
๑๐.๑ หนังสือภายนอก ใชในการติดตอราชการทั่วไป
๑๐.๒ หนังสือภายใน ใชในการติดตอราชการภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกัน
๑๐.๓ หนังสือประทับตรา ใชในการติดตอราชการเฉพาะกรณีที่ไมใชเรื่องสําคัญ
๑๐.๔ หนังสือสั่งการ ไดแก คําสั่ง ระเบียบ ขอบังคับ
๑๐.๕ หนังสือประชาสัมพันธ ไดแก ประกาศ แถลงการณ และขาว
๑๐.๖ หนังสือที่เจาหนาที่ทําขึ้นหรือรับไวเปนหลักฐานในราชการไดแก หนังสือรับรอง รายงานการประชุม บันทึก หรือหนังสือ
อื่น
ในบรรดาหนังสือราชการ 6 ชนิดดังกลาว มี 3 ชนิดแรกเปนหนังสือติดตอราชการ คือ
หนังสือภายนอก
หนังสือภายใน
หนังสือประทับตรา
หนังสือติดตอราชการแตละชนิดดังกลาวมีลักษณะดังตอไปนี้
บทที่ 1 การเขียนใหถูกตอง
1.1 เขียนใหถูกแบบ
ลักษณะของหนังสือภายนอก
ความหมาย หนังสือภายนอก คือหนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธี ใชกระดาษตราครุฑเขียนเปนหนังสือติดตอระหวางสวน
ราชการ หรือสวนราชการมีถึงหนวยงานอื่นใดที่มิใชสวนราชการหรือมีถึงบุคคลภายนอก
กรณีที่ใชหนังสือภายนอกใชติดตอราชการระหวางกระทรวงหนึ่ง หรือกรมหนึ่ง หรือจังหวัดหนึ่ง หรือสวนราชการแหงใดแหง
หนึ่ง กับกระทรวงอื่น หรือกรมอื่น หรือจังหวัดอื่น หรือหนวยงานอื่น หรือกับบุคคลภายนอก
รูปแบบ
หนังสือภายนอกมีรูปแบบดังนี้
โครงสราง หนังสือภายนอกมีโครงสรางประกอบดวยสวนสําคัญ 4 สวน คือ หัวหนังสือ เหตุที่มีหนังสือไป
จุดประสงคที่มีหนังสือไป ทายหนังสือ
การเขียนหนังสือราชการ เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ หนา 1
รายการตาง ๆ ในสวนของหัวหนังสือ
ในสวนหัวหนังสือมีรายการตาง ๆ ดังนี้
1. ที่ ใหลงรหัสตัวพยัญชนะและเลขประจําของเจาของเรื่อง (สวนราชการหรือหนวยงานที่ออกหนังสือ ตามที่กําหนดไวใน
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ)ทับเลขทะเบียนหนังสือสง ตัวอยาง ที่ นร. ๐๖๐๑/๑๒๕ ตัวพยัชนะ นร.
คือสํานักนายกรัฐมนตรี ตัวเลข ๐๖๐๑ เปนเลขประจําของเจาของเรื่อง (๐๖ คือ สํานักงาน ก.พ. ๐๑ คือกองกลาง) ตัวเลข
๑๒๕ คือเลขทะเบียบหนังสือสง สําหรับหนังสือของคณะกรรมการใหกําหนดรหัสตัวพยัญชนะ เพิ่มขึ้นไดตามความจําเปน
สําหรับหนังสือที่มีถึงผูรับจํานวนมาก โดยมีขอความอยางเดียวกัน ซึ่งเรียกวา “หนังสือเวียน” ใหเพิ่มรหัสตัวพยัชนะ “ว”
หนาเลขทะเบียนหนังสือสง ซึ่งกําหนดเปนเลขที่ของหนังสือทั่วไปตามแบบหนังสือภายนอกอยางหนึ่งอยางใดก็ไดรายการนี้
ผูรางหนังสือไมตองเขียน ปลอยไวใหเปนหนาที่ของพนักงานพิมพดีดและเจาหนาที่สารบรรณดําเนินการตอไป
2. สวนราชการเจาของหนังสือ ใหลงชื่อสวนราชการ สถานที่ราชการหรือคณะกรรมการที่เปนเจาของหนังสือนั้น และโดย
ปกติใหลงที่ตั้งดวย
ตัวอยาง สํานักงาน ก.พ.
ถนนพิษณุโลก กท. ๑๐๓๐๐
รายการนี้ ถาเปนหนังสือของกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัด ซึ่งเปนสวนราชการที่ออกหนังสืออยูเปนประจํา ผูราง
หนังสือจะไมเขียนก็ได เพราะหนักงานพิมพดีดรูอยูแลวปลอยวางไวใหพนักงานพิมพดีดพิมพเองได แตถาเปนหนังสือของ
คณะกรรมการ หรือหนวยงานพิเศษที่พนักงานพิมพดีดไมคุนเคยผูรางหนังสือตองเขียนดวย ขอสังเกตสวนราชการที่ลงในสวนหัว
หนังสือ เปนสวนราชการเจาของหนังสือ แตสวนราชการที่ลงในสวนทายหนังสือ เปนสวนราชการเจาของเรื่อง เชน หนังสือของกรม
ที่ดินกรมที่ดินเปนเจาของหนังสือและถาหนังสือนั้นจัดทําโดยกองการเจาหนาที่ กองการเจาหนาที่เปนเจาของเรื่อง
3. วัน เดือน ป ใหลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของป พ.ศ. ที่ออกหนังสือ
ตัวอยาง ๕ มกราคม ๒๕๓๔
รายการนี้ ผูรางหนังสือไมตองเขียน ปลอยไวใหเปนหนาที่ของพนักงานพิมพดีดและเจาหนาที่สารบรรณดําเนินการเอง
4. เรื่อง ใหลงเรื่องยอที่เปนใจความที่สั้นที่สุดของหนังสือนั้น ในกรณีที่เปนหนังสือตอเนื่องโดยปกติใหลงเรื่องของหนังสือฉบับ
เดิม รายการนี้ ผูรางหนังสือจะตองเขียน ซึ่งศึกษาวิธีเขียน “เรื่อง” ไดนตอนที่ ๒.๑
5. คําขึ้นตนใหใชคําขึ้นตนตามฐานะของผูรับหนังสือตามที่กําหนดไวในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ แลว
ลงชื่อตําแหนงของผูที่หนังสือนั้นมีถึง หรือชื่อบุคคลในกรณีที่มีหนังสือถึงตัวบุคคลโดยไมเกี่ยวกับตําแหนงหนาที่ รายการนี้
ผูรางหนังสือจะตองเขียน ซึ่งศึกษาวิธีเขียนไดในตอนที่ ๒.๑
6. อางถึง ถามีการอางถึงหนังสือที่เคยมีติดตอกันมาที่สวนราชการผูรับหนังสือไดรับมากอนใหลงชื่อสวนราชการเจาของ
หนังสือ และเลขที่หนังสือ วันเดือนป พ.ศ. ของหนังสือนั้น ตัวอยาง อางถึง หนังสือกรมวิชาการที่ ศธ. ๐๖๐๑/๕๗๘๐ ลง
วันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๓๓
รายการนี้ ผูรางหนังสือจะตองเขียน แตถาไมมีการอางถึงหนังสือที่เคยติดตอกันมาก็ไมตองเขียนรายการนี้
7. สิ่งที่สงมาดวย ถามีสิ่งที่จะสงไปกับหนังสือนั้นดวย ก็ใหลงชื่อสิ่งของ หรือเอกสารที่สงไปกับหนังสือนั้น ในกรณีที่ไมสามารถ
สงไปในซองเดียวกัน ใหแจงวาสงไปโดยทางใด
ตัวอยาง สิ่งที่สงมาดวย คําชี้แจงประกอบคําขอ ๓๐
รายการนี้ ผูรางหนังสือจะตอง แตถาไมมีสิ่งใดสงไปกับหนังสือนั้น ก็ไมตองเขียนรายการนี้
ขอความในสวนเหตุที่มีหนังสือไป
เหตุที่มีหนังสือไป คือ ขอความที่ผูมีหนังสือไปแจงเหตุที่ตองมีหนังสือไปยังผูรับหนังสือ ซึ่งผูรางหนังสือจะตองเขียนเองทั้งหมด
เหตุที่มีหนังสือไป อาจเปนขอความตอนเดียว หรือ 2 ตอน หรือ 3 ตอน ก็ได
ตัวอยางเหตุที่มีหนังสือไปตอนเดียว
การเขียนหนังสือราชการ เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ หนา 2
ดวยกรมสรรพากรจะจัดการฝกอบรมเจาหนาที่ธุรการของกรมสรรพากรจํานวน ๓๐ คน ตามหลักสูตรการเขียนหนังสือ
ราชการ ในระหวางวันที่ ๑-๑๐ กุมภาพันธ ๒๕๓๔ เต็มวันในเวลาราชการ ในการนี้กรมสรรพากรใครขอใชหองฝกอบรมของ
สถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือนสํานักงาน ก.พ. สําหรับฝกอบรมดังกลาว
หนังสือตามตัวอยางนี้ มีเหตุที่มีหนังสือไปเพียงตอนเดียว ซึ่งแจงไปวาจะจัดการฝกอบรม และใครขอใชหอง จบเหตุที่มี
หนังสือไปเพียงแคนี้ ตอไปก็จะยอหนาขึ้นบรรทัดใหมเปนการแจงจุดประสงคที่มีหนังสือไป เชนเขียนจุดประสงควา
จึงเรียนมาเพื่อขอไดโปรดอนุเคราะหใหกรมสรรพากรใชหองของสถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือนสําหรับการฝกอบรม
ดังกลาวดวย จะขอบคุณมาก
ตัวอยางเหตุที่มีหนังสือไป ๒ ตอน
ตามที่สํานักงาน ก.พ. ไดอนุเคราะหใหกรมสรรพากรใชหองของสถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือนเพื่อฝกอบรม
เจาหนาที่ธุรการของกรมสรรพากรตามหลักสูตรการเขียนหนังสือราชการในระหวางวันที่ ๑-๑๐ กุมภาพันธ ๒๕๓๔ นั้น
บัดนี้ การฝกอบรมหลักสูตรดังกลาวไดเสร็จสิ้นลงแลวในการฝกอบรมครั้งนี้ เจาหนาที่ของสถาบันพัฒนาขาราชการพล
เรือนไดอํานวยความสะดวก และใหความชวยเหลืออยางดียิ่งทําใหการฝกอบรมสําเร็จเปนผลดีสมความมุงหมาย
หนังสือตามตัวอยางนี้ แจงเหตุที่มีหนังสือไปมีขอความ ๒ ตอน ตอนแรกเปนขอความเริ่มตนกลาวถึงเรื่องเดิมที่
สํานักงาน ก.พ. ใหกรมสรรพากรใชหองสําหรับฝกอบรม ตอนที่ ๒ เปนขอความสืบเนื่องตอมา ซึ่งกรมสรรพากรแจงใหสํานักงาน
ก.พ. ทราบวา การฝกอบรมเสร็จสิ้นแลว และไดรับความชวยเหลือจากเจาหนาที่ของสถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือนเปนอยางดี
จบเหตุที่มีหนังสือไปเพียงแคนี้ ตอไปก็จะยอหนาขึ้นบรรทัดใหม เปนการแจงจุดประสงคที่มีหนังสือไป เชน เขียนจุดประสงควา
จึงเรียนมาเพื่อทราบ และขอขอบคุณมา ณ ที่นี้
ตัวอยางเหตุที่มีหนังสือไป ๓ ตอน
ตามที่มีบัญชาใหกรมปาไมดําเนินการใหราษฎรในจังหวัดชุมพรที่บานเรือนเสียหายเพราะวาตภัยสําหรับปลูกสรางบานเรือนของ
ตนเอง นั้น
กรมปาไมไดดําเนินการตามบัญชาแลว แตยังมีตนไมที่โคนลมกระจัดกระจายอยูอีกจํานวนมาก ซึ่งใชปลูกสราง
ซอมแซมบานเรือนไมได และไดรับรายงานจากจังหวัดชุมพรวาตนไมดังกลาวอาจถูกกระแสพัดพาไหลไปปะทะบานเรือนราษฎรที่
ปลูกใหมอีกเมื่อถึงฤดูฝน จังหวัดจึงขอความชวยเหลือมายังกรมปาไมใหชักลากไมเหลานั้นออกไปใหพนเขตอันตรายดังกลาว
กรมปาไมไมไดพิจารณาแลวเห็นควรขอความรวมมือไปยังองคการอุตสาหกรรมปาไมเพื่อดําเนินการตามที่จังหวัดขอ
ความชวยเหลือมา
หนังสือตามตัวอยางสมมุติ มีเหตุที่มีหนังสือไป 3 ตอน ตอนแรก เปนขอความเริ่มตนอางถึงเรื่องเดิม ตอนที่ ๒ เปน
ขอความที่บอกเรื่องสืบเนื่องตอมา และตอนที่ ๓ เปนขอความอันเปนผลสืบเนื่องตอไป จบเหตุที่มีหนังสือไปเพียงแคนี้ ตอจากนี้
จะเปนจุดประสงคที่มีหนังสือไป ซึ่งจะยอหนาขึ้นบรรทัดใหม เชน เขียนจุดประสงควา
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา หากชอบดวยดําริ โปรดสั่งใหองคการอุตสาหกรรมปาไม พิจารณาใหความชวยเหลือ
แกจังหวัดตอไป
ขอความในสวนจุดประสงคที่มีหนังสือไป
จุดประสงคที่มีหนังสือไป ของหนังสือภายนอก คือขอความแสดงความมุงหมายที่มีหนังสือไปวาประสงคจะใหผูรับหนังสือทํา
อะไร หรือทําอยางไร
ขอความนี้ ผูรางหนังสือจะตองเขียน การเขียน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” ควรเขียนยอหนาขึ้นบรรทัดใหมเปนอีกตอน
หนึ่งตางหากจาก “เหตุที่มีหนังสือไป” แมวา “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” จะอยูในความหมายของคําวา “ขอความ” ตามแบบ
หนังสือภายนอก เชนเดียวกับ “เหตุที่มีหนังสือไป” โดยปกติมักจะเขียน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” ขึ้นตนดวยคําวา “จึง....”
เชน
จึงเรียนมาเพื่อทราบ
จึงขอเรียนหารือมาวา........
การเขียนหนังสือราชการ เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ หนา 3
จึงเรียนขอความกรุณามาเพื่อไดโปรดอนุเคราะห........
จึงขอกําชับมาเพื่อจักไดระมัดระวังมิใหเกิดกรณีเชนนี้ขึ้นอีก
รายการตาง ๆ ในสวนทายหนังสือ
ทายหนังสือ ของหนังสือภายนอก จะมีรายการตาง ๆ ดังนี้
คําลงทายใหใชคําลงทายตามฐานะของผูรับหนังสือตามที่กําหนดไวในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ
รายการนี้ ผูรางหนังสือจะตองเขียน ซึ่งศึกษาวิธีเขียนไดในตอนที่ ๒
ลงชื่อ และตําแหนงใหลงลายมือชื่อเจาของหนังสือ และใหพิมพชื่อเต็มของเจาของลายมือชื่อไวใตลายมือชื่อกับลงตําแหนงของ
เจาของหนังสือ
รายการนี้ ผูรางหนังสือไมตองเขียน ปลอยวางไวใหหัวหนาสวนราชการเจาของหนังสือหรือผูแทนลงลายมือชื่อ และให
เจาหนาที่สารบรรณเขียนหรือตีตราชื่อเต็มพรอมทั้งตําแหนงของผูลงลายมือชื่อ
สวนราชการเจาของเรื่อง และโทร. ใหลงชื่อสวนราชการเจาของเรื่อง หรือหนวยงานที่ออกหนังสือ ถาเจาของหนังสืออยูใน
ระดับกระทรวงหรือทบวงใหลงชื่อสวนราชการเจาของเรื่องทั้งระดับกรมและกอง ถาเจาของหนังสืออยูในระดับกรมลงมา ใหลง
ชื่อสวนราชการ เจาของเรื่องเพียงระดับกองหรือหนวยงานที่รับผิดชอบ พรอมดวยหมายเลขโทรศัพทของสวนราชการเจาของ
เรื่อง และหมายเลขภายในตูสาขา (ถามี)
รายการนี้ ผูรางหนังสืออาจตองเขียนดวย เวนแตพนักงานพิมพดีดทราบอยูแลว ก็อาจปลอยวางไวใหพนักงานพิมพดีด
พิมพเอง
สําเนาสง ในกรณีที่จัดสงสําเนาใหสวนราชการหรือบุคคลอื่นทราบ และประสงคใหผูรับหนังสือทราบวาไดสงสําเนาใหผูใดทราบ
แลว ใหพิมพชื่อเต็มหรือชื่อยอของสวนราชการ หรือชื่อบุคคลที่สงสําเนาไปให เพื่อใหเปนที่เขาใจระหวาผูมีหนังสือไปกับผูรับ
หนังสือ ถามีรายชื่อสงสําเนาใหมาก ใหพิมพวาสงไปตามรายชื่อที่แนบ และแนบรายชื่อไปดวย
รายการนี้ ถาพนักงานพิมพดีดไมทราบวาสงสําเนาใหใครบาง ผูรางหนังสือจะตองเขียนใหดวย แตถาไมมีการสงสําเนาให
ใคร ก็ไมตองเขียน
ลักษณะของหนังสือภายใน
ความหมาย และกรณีที่ใช หนังสือภายใน คือหนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีนอยกวาหนังสือภายนอก เปนหนังสือติดต
อภายในกระทรวงทบวงกรมหรือจังหวัดเดียวกัน
รูปแบบ
หนังสือภายใน ใชเขียนในกระดาษบันทึกขอความ มีรูปแบบดังนี้
โครงสราง
หนังสือภายใน มีโครงสรางประกอบดวยสวนสําคัญ ๔ สวน คือ หัวหนังสือ เหตุที่มีหนังสือไป จุดประสงคที่มีหนังสือไป ทาย
หนังสือ
รายการในสวนตาง ๆ ของหนังสือภายใน
รายการภายในโครงสรางสวนตาง ๆ ของหนังสือภายใน เขียนทํานองเดียวกับหนังสือภายนอก
เวนแต
(๑) สวนราชการ ที่เขียนในสวนหัวหนังสือของหนังสือภายใน ไมไดเขียน “สวนราชการเจาของหนังสือ” ดังเชน ที่เขียนในสวน
หัวหนังสือของหนังสือภายนอก แตเขียน “สวนราชการเจาของเรื่อง” เหมือนสวนทายหนังสือของหนังสือภายนอก กลาวคือ ให
ลงชื่อสวนราชการเจาของเรื่อง หรือหนวยงานที่ออกหนังสือโดยมีรายละเอียดพอสมควร โดยปกติ ถาสวนราชการที่ออกหนังสือ
อยูในระดับกรมขึ้นไป ใหลงชื่อสวนราชการเจาของเรื่องทั้งระดับกรม และกอง ถาสวนราชการที่ออกหนังสืออยูในระดับต่ํากวา
กรมลงมา ใหลงชื่อสวนราชการเจาของเรื่องเพียงระดับกองหรือสวนราชการเจาของเรื่อง พรอมทั้งหมายเลขโทรศัพท (ถามี)
การเขียนหนังสือราชการ เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ หนา 4
เชนเขียนวา
สวนราชการ สํานักงาน ก.พ. กองกลาง โทร. ๒๘๒๗๓๖๕
ทั้งนี้ สวนราชการ ของหนังสือภายใน ไมไดเขียนวา “สํานัก ก.พ. ถนนพิษณุโลก ก.ท.๑๐๓๐๐” ดังเชนที่เขียนในหนังสือ
ภายนอก และที่ทายหนังสือของหนังสือภายใน ไมมีชื่อสวนราชการเจาของเรื่อง
(๒) คําลงทาย หนังสือภายในไมมีคําลงทาย ดังเชนที่เขียนในหนังสือภายนอก
ความหมาย
หนังสือประทับตรา คือ หนังสือติดตอราชการที่ใชประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไป โดยให
หัวหนาสวนราชการระดับกองหรือผูที่ไดรับมอบหมายจากหัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไปเปนผูรับผิดชอบและลงชื่อยอ
กํากับตรา
กรณีที่ใช
หนังสือประทับตราใชไดทั้งระหวางสวนราชการกับสวนราชการ หรือกับหนวยงานที่ไมใชสวนราชการ และกับ
บุคคลภายนอก แตใชไดเฉพาะกรณีที่ไมใชเรื่องสําคัญ ซึ่งไดแก
(๑) การขอรายละเอียดเพิ่มเติม
(๒) การสงสําเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสาร
(๓) การตอบรับทราบที่ไมเกี่ยวกับราชการสําคัญ หรือการเงิน
(๔) การแจงผลงานที่ไดดําเนินการไปแลวใหสวนราชการที่เกี่ยวของทราบ
(๕) การเตือนเรื่องคาง
(๖) เรื่องซึ่งหัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไป กําหนดโดยทําเปนคําสั่งใหใชหนังสือประทับตรา
รูปแบบ หนังสือประทับตรา มีรูปแบบดังนี้
โครงสราง หนังสือประทับตรา มีโครงสรางประกอบดวยสวนสําคัญ 4 สวน หรือ 3 สวน แลวแตเรื่อง ดังนี้
โครงสราง 4 สวน หัวหนังสือ เหตุที่มีหนังสือไป จุดประสงคที่มีหนังสือไป ทายหนังสือ
โครงสราง 3 สวน หนังสือ เหตุและจุดประสงคที่มีหนังสือไป ทายหนังสือ
รายการในสวนตาง ๆ ของหนังสือประทับตรา
รายการภายในโครงสรางสวนตาง ๆ ของหนังสือประทับตรา เขียนทํานองเดียวกับหนังสือภายนอก
เวนแต
ก. สวนหัวหนังสือ
(๑) ไมมีสถานที่หรือชื่อสวนราชการเจาของหนังสือในสวนหัวหนังสือ แตเอาชื่อสวนราชการเจาของหนังสือ หรือสวน
ราชการที่สงหนังสือออกไปไวในสวนทายหนังสือ
(๒) ไมมีวันเดือนปที่ออกหนังสือในสวนหัวหนังสือ แตเอาวันเดือนปที่ออกหนังสือไปไวในสวนทายหนังสือ
(๓) ไมมีชื่อเรื่องของหนังสือ
(๔) คําขึ้นตนใชคําวา “ถึง” ไมใชคําวา “เรียน” หรือ “กราบเรียน” ดังเชน ที่ใชในหนังสือภายนอก และหลังคําวา “ถึง” ให
ระบุชื่อสวนราชการที่มีหนังสือถึง ไมใชระบุตําแหนงหัวหนาสวนราชการที่มีหนังสือถึงดังเชนที่ใชในหนังสือภายนอก
ถึง กรมสรรพากร
ไมใช “ถึง อธิการกรมสรรพากร”
แตถาเปนหนังสือถึงบุคคล ก็ระบุชื่อบุคคลเชนเดียวกับหนังสือภายนอก แตใชคําขึ้นตน วา “ถึง” ไมใชคําวา “เรียน”
อยางหนังสือภายนอก
การเขียนหนังสือราชการ เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ หนา 5
รายการในสวนตาง ๆ ของหนังสือประทับตรา(ตอ)
ข. สวนจุดประสงคที่มีหนังสือไป
อาจเขียนจุดประสงคที่มีหนังสือไปแยกกันเปนคนละตอนกับสวนเหตุที่มีหนังสือไปหรือเขียนรวมในสวนเดียวกับสวนเหตุ
ที่มีหนังสือไปโดยไมยอหนาขึ้นบรรทัดใหมก็ได เพราะหนังสือประทับตราสวนมากจะเปนหนังสือสงสําเนาหนังสือหรือสิ่งของ
หนังสือตอบรับทราบหรือหนังสือเตือนเรื่องคาง ซึ่งมีขอความสั้น ๆ บางทีมีแตจุดประสงคที่มีหนังสือไปโดยไมตองอางเหตุที่ตองมี
หนังสือไปก็มี เชน
ตัวอยางหนังสือที่มีจุดประสงคที่มีหนังสือไป
ตัวอยางหนังสือที่รวมเหตุที่มีหนังสือไปกับจุดประสงคที่มีหนังสือไป
ตัวอยางแยกจุดประสงคที่มีหนังสือไปเปนคนละตอนกับเหตุที่มีหนังสือไป
ค. ทายหนังสือ
(๑) ไมมีคําลงทาย ดังเชนที่เขียนในหนังสือภายนอก
(๒) ไมมีการลงชื่อหัวหนาสวนราชการเจาของหนังสือหรือผูแทน ดังเชนที่มีในหนังสือภายนอก แตใชตราสวนราชการประทับ
และลงชื่อยอของผูไดรับมอบหมายจากหัวหนาสวนราชการกํากับตรานั้นแทน
(๓) ลงวันเดือนปที่ออกหนังสือไวในสวนทายหนังสือ แทนที่จะลงในสวนหัวหนังสือดังเชนที่ลงในหนังสือภายนอก
(๔) ระบุชื่อสวนราชการที่สงหนังสือออก หรือสวนราชการเจาของหนังสือไวในสวนทายหนังสือ
สวนการระบุชื่อสวนราชการเจาของเรื่อง รวมทั้งหมายเลขโทรศัพทในสวนทายหนังสือคงมีเหมือนกับหนังสือ
ภายนอก แตอาจตองลงสถานที่ตั้งของสวนราชการเจาของเรื่องไวในสวนนี้ดวย เพราะในหนังสือประทับตราไมไดระบุ
สถานที่ตั้งไวในสวนหัวหนังสือ จึงตองนํามาระบุไวในสวนทายหนังสือ เพื่อความสะดวกในการติดตอ
ตัวอยางหนังสือประทับตรา
การเขียนขอความในหนังสือติดตอราชการ
หนังสือติดตอราชการ มีโครงสรางประกอบดวยสวนสําคัญ 4 สวน ดังกลาวแลวในบทที่ ๑ คือ
สวนหัวหนังสือ
สวนเหตุที่มีหนังสือไป
สวนจุดประสงคที่มีหนังสือไป
สวนทายหนังสือ
ภายในโครงสรางแตละสวนของหนังสือติดตอราชการมีขอความรายละเอียดที่ตองการเขียนใหถูก เชน
ในสวนหัวหนังสือ มีชื่อเรื่อง และคําขึ้นตน ซึ่งจะตองเขียนใหถูก
ในสวนเหตุที่มีหนังสือไป จะตองเขียนเริ่มตนดวยคําที่เหมาะสม อางเหตุที่มีหนังสือไปใหถูกและใชคําสรรพนามใหเหมาะสม
ในสวนจุดประสงคที่มีหนังสือไป จะตองเขียนใหตรงกับลักษณะของเรื่อง และความมุงหมายที่มีหนังสือไป
ในสวนทายหนังสือ จะตองเขียนคําลงทายในหนังสือภายนอกใหถูก และเขียนรายการอื่น ๆ ในหนังสือทุกชนิดใหถูกตอง
การเขียนขอความในสวนหัวหนังสือ
ในสวนหัวหนังสือของหนังสือติดตอราชการ มีรายการสําคัญที่ผูรางหนังสือจะตองเขียนอยู ๒ รายการ คือ
เรื่อง
“เรื่อง” คือ ใจความที่ยอสั้นที่สุดของหนังสือ ผูรางหนังสือมักจะประสบกับปญหาวา ยอใจความของหนังสือใหสั้นที่สุด
ไดอยางไร และควรเขียนชื่อเรื่องของหนังสือแตละฉบับวาอยางไร
“เรื่อง” จะตองเขียนเฉพาะในหนังสือภายนอก และหนังสือภายในเทานั้น สวนหนังสือประทับตรา ไมตองเขียน “เรื่อง”
คําขึ้นตน
คําขึ้นตน ตองเขียนทั้งในหนังสือภายนอก หนังสือภายใน และหนังสือประทับตราโดยใชคําตามที่กําหนดไวในระเบียบ
สํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ
การเขียนหนังสือราชการ เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ หนา 6
การเขียน “เรื่อง”
การเขียน “เรื่อง” ของหนังสือภายนอกและหนังสือภายใน ตองเขียนใหบรรลุจุดมุงหมายอยางนอย ๒ ประการ คือ
ประการที่ ๑ ใหพอรูใจความที่ยอสั้นที่สุดของหนังสือ
ประการที่ ๒ ใหสะดวกแกการเก็บคนอางอิง
“เรื่อง” ที่เขียนดี จะมีลักษณะดังนี้
(๑) ยอสั้นที่สุด ไมควรใหยาวเกินกวา ๒ บรรทัด ยิ่งถายอใหไดเพียงครึ่งบรรทัดยิ่งดี
(๒) เปนประโยคหรือวลี เพราะถาเปนเพียงคํานาม หรือคํากริยา จะไมไดใจความ
(๓) พอรูใจความวาเปนเรื่องอะไร เพราะผูรับหนังสือยอมอยากจะทราบในเบื้องตน กอนอานละเอียดทั้งฉบับวาเปนเรื่อง
เกี่ยวกับอะไร
(๔) เก็บคนอางอิงไดงาย กลาวคือ
ผูเก็บ พออานชื่อเรื่อง ก็สามารถแยกเก็บเขาหมวดหมูตามประเภทเรื่องได โดยไมตองอานรายละเอียดทั้งฉบับ
ผูคน พอบอกชื่อเรื่อง ก็สามารถคนหาไดโดยไมยุงยากสับสน
ผูอางอิง สามารถบอกชื่อเรื่องใหผูอื่นเขาใจไดโดยไมสับสนไขวเขว
เพื่อใหเก็บคนอางอิงไดงายนี่เอง ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณจึงกําหนดวา ในกรณีที่เปน
หนังสือตอเนื่อง โดยปกติใหลงชื่อเรื่องของหนังสือฉบับเดิม คือ ถาหนังสือฉบับเดิมที่มีไปมาติดตอกันมากอนใชชื่อเรื่องอยางไร
หนังสือฉบับตอไปที่มีไปอีกในเรื่องนั้น โดยปกติใหใชชื่อเรื่องของหนังสือฉบับเดิม หรือถาอางถึงหนังสือฉบับเดิมที่ผูรับหนังสือมี
มาโดยใชชื่อเรื่องอยางไร หนังสือที่จะมีตอบไปโดยปกติควรใชชื่อเดียวกัน ทั้งนี้เพื่อใหเก็บคนอางอิงไดงาย
อยางไรก็ดี ถาหนังสือฉบับเดิมที่มีไปหรือมีมาเขียนชื่อเรื่องไมดีหรือเขียนไมถูกจะปรับปรุงถอยคําใหดีขึ้น หรือให
ถูกตองก็ได หรือถาไมเหมาะที่จะใชชื่อเรื่องของหนังสือฉบับเดิม จะใชชื่อเรื่องใหมใหเหมาะโดยมีเคาความใกลเคียงกับชื่อเรื่อง
เดิมก็ได เชน หนังสือฉบับเดิมที่ผูรับหนังสือมีมาเปนคําขอ ซึ่งอาจจะเปน ขออนุมัติ ขออนุญาต ขอผอนผัน ขอความอรุเคราะห
หรือของเงินหรือสิ่งของใด ๆ หนังสือฉบับเดิมนั้นอาจใชชื่อเรื่องวา
ขออนุมัติเลื่อนเงินเดือนขาราชการเปนกรณีพิเศษ
ขออนุญาตนําเงินตราออกนอกประเทศ
ขอผอนผันการคัดเลือกเขารับราชการทหาร
ขอความอนุเคราะหชวยเหลือคาใชจายในการสัมมนา
หนังสือที่ตอบคําขอเหลานี้ไป ถาใชชื่อเรื่องเดิม ความจะกลายเปนวา ผูตอบกลับเปนผูขอไปยังผูขอ ซึ่งไมถูกตอง จึงควรจะ
ปรับปรุงชื่อเรื่องที่ตอบไป โดยเติมคําวา “การ” ลงไปขางหนา เปน
การขออนุมัติเลื่อนเงินเดือนขาราชการเปนกรณีพิเศษ
การขออนุญาตนําเงินตราออกนอกประเทศ
การขอผอนผันการคัดเลือกเขารับราชการทหาร
การขอความชวยเหลือคาใชจายในการสัมมนา
หรือถาเปนกรณีตอบวาใหตามคําขอ จะตอบโดยใชชื่อเรื่องดังนี้ก็ได คือ
อนุมัติใหเลื่อนเงินเดือนขาราชการเปนกรณีพิเศษ
อนุญาตใหนําเงินตราออกนอกประเทศ
ผอนผันการคัดเลือกเขารับราชการทหาร
ชวยเหลือคาใชจายในการสัมมนา
แตถาเปนกรณีตอบวา ไมอนุมัติ ไมอนุญาต ไมผอนผัน ไมอนุเคราะหชวยเหลือ ไมพึ่งใชเรื่องในลักษณะปฏิเสธ
ไมอนุมัติใหเลื่อนเงินเดือนขาราชการเปนกรณีพิเศษ
ไมอนุญาตใหนําเงินตราออกนอกประเทศ
การเขียนหนังสือราชการ เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ หนา 7
ไมผอนผันการคัดเลือกเขารับราชการทหาร
ไมชวยเหลือคาใชจายในการสัมมนา
ทั้งนี้ เพราะถาใชชื่อเรื่องในลักษณะปฏิเสธเชนนี้ อาจทําใหผูรับหนังสือรูสึกไมพอใจและเสียความสัมพันธอันดีตอกันไป
ในกรณีที่ตองตอบปฏิเสธดังกลาว ควรใชชื่อเรื่องโดยเติมคําวา “การ” ลงขางหนาชื่อเรื่องเดิมดังกลาวขางตน เชน
การขออนุมัติใหเลื่อนเงินเดือนขาราชการเปนกรณีพิเศษ
การขอความชวยเหลือคาใชจายในการสัมมนา
ดังนี้ เปนตน
(5)แยกความแตกตางจากเรื่องอื่นได ชื่อเรื่องแตละเรื่องควรเปนชื่อเฉพาะเรื่องนั้น ซึ่งไมซ้ํากับเรื่องอื่น เพราะถาตั้งชื่อเรื่องซ้ํา
กับเรื่องอื่นโดยไมสามารถแยกความแตกตางจากเรื่องอื่นได จะทําใหสับสน ไมสะดวกแกการเก็บคนอางอิง
ตัวอยาง “เรื่อง” ที่ยาวเกินจําเปน
ตัวอยาง “เรื่อง” ที่ไมเปนประโยคหรือวลี
ตัวอยาง “เรื่อง” ที่ไมรูใจความ
ตัวอยาง “เรื่อง” ที่แยกความแตกตางจากเรื่องอื่นไมได
การเขียนคําขึ้นตน
ก. คําขึ้นตนของหนังสือภายนอกและหนังสือภายใน
คําขึ้นตนของหนังสือภายนอก และหนังสือภายในใชเหมือนกัน โดยใชตามฐานะของผูรับหนังสือตามที่กําหนดไวใน
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ คือ
หนังสือถึงพระบรมวงศานุวงศใชคําขึ้นตนตามที่กําหนดไวในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ
หนังสือถึงพระภิกษุใชคําขึ้นตนตามที่กําหนดไวในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ
หนังสือถึงผูดํารงตําแหนงสูงเปนพิเศษ หนังสือถึงผูดํารงตําแหนงสูงเปนพิเศษดังตอไปนี้ ใชคําขึ้นตนวา “กราบเรียน” คือ
ประธานองคมนตรี ประธานศาลปกครองสูงสุด
นายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการการเลือกตั้ง
ประธานรัฐสภา ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแหชาติ
ประธานวุฒิสภา ประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ
ประธานสภาผูแทนราษฎร ประธานกรรมการตรวจเงินแผนดิน
ประธานศาลฏีกา ผูตรวจการแผนดินรัฐสภา
ประธานศาลรัฐธรรมนูญ รัฐบุรุษ
หนังสือถึงผูดํารงตําแหนงอื่นหรือบุคคลอื่น หนังสือถึงผูดํารงตําแหนงอื่นนอกจากที่กลาวในขอ (๓) และถึงบุคคลอื่นนอกจากที่
กลาวในขอ (๑) และขอ (๒) ใชคําขึ้นตนวา “เรียน” เหมือนกันทั้งหมด
ข. คําขึ้นตนของหนังสือประทับตรา
คําขึ้นตนของหนังสือประทับตรา ใชคําวา “ถึง” คําเดียวเหมือนกันหมดทุกกรณี และถาถึงสวนราชการ หรือหนวยงาน
ก็ตอทายดวยชื่อสวนราชการหรือหนวยงาน ไมไดตอดวยตําแหนงของหัวหนาสวนราชการหรือหนวยงาน
แบบฝกปฏิบัติและเฉลย (ไฟล pdf)
การเขียนขอความในสวนเหตุที่มีหนังสือไป
ลักษณะของเหตุที่มีหนังสือไป
เหตุที่มีหนังสือไป คือ ขอความที่ผูมีหนังสือไปแจงไปยังผูรับหนังสือ เปนการบอกกลาววาเหตุใดจึงตองมีหนังสือไป ซึ่งจะ
เขียนยอหนาตอจากคําขึ้นตน
เหตุที่มีหนังสือไปของหนังสือภายนอก และหนังสือภายใน อาจเปนขอความตอนเดียว หรือ ๒ ตอน หรือ ๓ ตอน
แลวแตกรณี ซึ่งอาจกลาวถึงเหตุที่มีหนังสือไปเพียงตอนเดียวแลวก็แจงจุดประสงค หรือกลาวถึงเรื่องเดิมที่เคยติดตอกันมาตอน
หนึ่ง และเรื่องสืบเนื่องตอมาอีกตอนหนึ่ง แลวก็แจงจุดประสงค หรือกลาวถึงเรื่องเดิมที่เคยติดตอกันมาตอนหนึ่ง เรื่องสืบเนื่อง
การเขียนหนังสือราชการ เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ หนา 8
ตอมาอีกตอนหนึ่ง และผลสืบเนื่องตอไป หรือเรื่องเกี่ยวของอีกตอนหนึ่ง แลวก็แจงจุดประสงค แลวแตกรณี
ดังตัวอยางที่กลาวแลวในตอนที่ ๑.๑ เรื่องที่ ๑.๑.๖
สวนเหตุที่มีหนังสือไปของหนังสือประทับตรา มักจะเปนขอความตอนเดียว เพราะเปนเรื่องที่ไมมีสาระสําคัญมากนัก
คําเริ่มตนแจงเหตุที่มีหนังสือไป
การเริ่มตนแจงเหตุที่มีหนังสือไปของหนังสือภายนอกและหนังสือภายใน จะเริ่มดวยคําใด คําหนึ่งใน ๕ คํา ดังตอไปนี้
ดวย เนื่องจาก ตาม ตามที่ อนุสนธิ
สวนคําเริ่มตนของหนังสือประทับตรา จะเริ่มดวยคําวา “ดวย” “เนื่องจาก” “ตาม” “ตามที่” หรือ “อนุสนธิ” แลวแตกรณีอยาง
หนังสือภายนอก และหนังสือภายใน ก็ได
ในบางกรณีหนังสือประทับตรา เปนหนังสือที่แจงความประสงคไปเลย ก็อาจเขียนเพียงจุดประสงคที่มีหนังสือไปโดยไม
ตองบอกเหตุที่มีหนังสือไปก็ได
การเริ่มตนโดยใชคําวา “ดวย” หรือ “เนื่องจาก”
การเริ่มตนโดยใชคําวา “ดวย” หรือ “เนื่องจาก” ใชในกรณีที่เปนเรื่องใหม ซึ่งไมเคยติดตอหรือรับรูกันมากอนระหวางผู
มีหนังสือไปกับผูรับหนังสือเกี่ยวกับเรื่องนั้น
การใชคําวา “ดวย”
การเริ่มตนโดยใชคําวา “ดวย” ควรใชในกรณีที่บอกกลาวเลาเหตุที่มีหนังสือไปโดยเกริ่นขึ้นมาลอย ๆ
การใชคําวา “เนื่องจาก”
การเริ่มตนโดยใชคําวา “เนื่องจาก” ควรใชในกรณีที่อางเปนเหตุอันหนักแนนจําเปนตองมีหนังสือไป เพื่อใหผูรับหนังสือ
ดําเนินการอยางใดอยางหนึ่ง
การเริ่มตนโดยใชคําวา “ตาม” “ตามที่” หรือ “อนุสนธิ”
การเริ่มตนโดยใชคําวา “ตาม” “ตามที่” หรือ “อนุสนธิ” ใชในกรณีที่เคยมี เรื่องติดตอหรือรับรูกันมากอน ระหวางผูมี
หนังสือไปกับผูรับหนังสือ ซึ่งจะอางเรื่องที่เคยติดตอหรือรับรูกันมากอนดังกลาวนั้น เชน
การใชคําวา “ตาม”
การเริ่มตนโดยใชคําวา “ตาม” จะตอดวยคํานาม
เชน
ตามหนังสือที่อางถึง...........................................นั้น
การใชคําวา “ตามที่”
การเริ่มตนโดยใชคําวา “ตามที่” จะตอดวยประโยค
เชน
ตามที่มีขาวในหนังสือพิมพวา...............................นั้น
การใชคําวา “อนุสนธิ”
การเริ่มตนโดยใชคําวา “อนุสนธิ” จะตอดวยคํานาม
เชน
อนุสนธิมติ ก.พ. ในการประชุมครั้งที่..........เมื่อวันที่.................ให.......................................................................นั้น
การเขียนเหตุที่มีหนังสือไป
เหตุที่มีหนังสือไป ซึ่งเขียนในเนื้อเรื่องของหนังสือ อาจมีที่มาจากหลายทาง เชน
(1) เหตุจากผูมีหนังสือไป
(2) เหตุจากบุคคลภายนอก
(3) เหตุจากเหตุการณที่ปรากฏขึ้น
(4) เหตุจากผูรับหนังสือ
การเขียนหนังสือราชการ เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ หนา 9
(1) เหตุจากผูมีหนังสือไป เหตุที่มีหนังสือไป อาจเกิดจากผูมีหนังสือไปเอง เชน
ขอพึงสังเกต
เหตุที่มีหนังสือไปซึ่งเกิดจากผูมีหนังสือไปเอง มีไดทั้งเรื่องใหม ที่ไมเคยติดตอหรือรับรูกันมากอน ซึ่งเริ่มตนดวยคําวา
“ดวย” หรือ “เนื่องจาก” (ดังตัวอยาง ๑) และมีไดทั้ง เรื่องที่เคยติดตอหรือรับรูกันมากอน ซึ่งเริ่มตนดวยคําวา “ตาม” “ตามที่”
หรือ “อนุสนธิ” (ดังตัวอยาง ๒)
(2) เหตุจากบุคคลภายนอก เหตุที่มีหนังสือไป อาจเกิดจากบุคคลภายนอก โดยบุคคลภายนอกวามา หรือขอมา หรือแจงความ
ประสงคมา หรือบุคคลภายนอกกระทําการอยางใดอยางหนึ่งที่เปนเหตุใหตองมีหนังสือไปเชน
ขอพึงสังเกต
เหตุที่มีหนังสือไป ซึ่งเกิดจากบุคคลภายนอก มีไดทั้งเรื่องใหม ที่ไมเคยติดตอหรือรับรูกันมากอน ซึ่งเริ่มตนดวยคําวา
“ดวย” หรือ “เนื่องจาก” (ดังตัวอยาง ๑) และมีไดทั้ง เรื่องที่เคยติดตอหรือรับรูกันมากอน ซึ่งเริ่มตนดวยคําวา “ตาม” “ตามที่”
หรือ “อนุสนธิ” (ดังตัวอยาง ๒)
(3) เหตุจากเหตุการณที่ปรากฏขึ้น เหตุที่มีหนังสือไป อาจเกิดจากเหตุการณที่ปรากฏขึ้น ซึ่งเปนเหตุใหตองมีหนังสือไป เชน
ขอพึงสังเกต
เหตุที่มีหนังสือไป ซึ่งเกิดจากเหตุการณที่ปรากฏขึ้น มีไดทั้งเรื่องใหม ที่ไมเคยติดตอหรือรับรูกันมากอน ซึ่งเริ่มตนดวย
คําวา “ดวย” หรือ “เนื่องจาก” (ดังตัวอยาง ๑) และมีไดทั้ง เรื่องที่เคยติดตอหรือรับรูกันมากอน ซึ่งเริ่มตนดวยคําวา “ตาม”
“ตามที่” หรือ “อนุสนธิ” (ดังตัวอยาง ๒)
(4) เหตุจากผูรับหนังสือ เหตุที่มีหนังสือไป อาจเกิดจากผูรับหนังสือนั้นเอง โดยผูรับหนังสือแจงมา หรือขออะไรมา หรือผูรับ
หนังสือกระทําการอยางใดอยางหนึ่งซึ่งเปนเหตุใหตองมีหนังสือไป เชน
ขอพึงสังเกต
เหตุที่มีหนังสือไป ซึ่งเกิดจากผูรับหนังสือ มีไดทั้งเรื่องใหม ที่ไมเคยติดตอหรือรับรูกันมากอน ซึ่งเริ่มตนดวยคําวา
“ดวย” หรือ “เนื่องจาก” (ดังตัวอยาง ๑) และมีไดทั้ง เรื่องที่เคยติดตอหรือรับรูกันมากอน ซึ่งเริ่มตนดวยคําวา “ตาม” “ตามที่”
หรือ “อนุสนธิ” (ดังตัวอยาง ๒)
การใชคําสรรพนาม
คําสรรพนามที่ใชแทนเจาของหนังสือและผูรับหนังสือ ใชดังนี้
ก. หนังสือถึงพระบรมวงศานุวงศ
ข. หนังสือถึงพระภิกษุ
ค. หนังสือถึงผูดํารงตําแหนงสูงเปนพิเศษ
ง. หนังสือถึงหัวหนาสวนราชการ หรือหัวหนาหนวยงาน
จ. หนังสือถึงบุคคลธรรมดาทั่วไป
ก.หนังสือถึงพระบรมวงศานุวงศ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ กําหนดใหใชคําสรรพนามแทนเจาของ
หนังสือและผูรับหนังสือ
ข. หนังสือถึงพระภิกษุ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ กําหนดใหใชคําสรรพนามแทนเจาของหนังสือและ
ผูรับหนังสือ
ค. หนังสือถึงผูดํารงตําแหนงสูงเปนพิเศษ
ผูดํารงตําแหนงสูงเปนพิเศษ ไดแก
ประธานองคมนตรี ประธานศาลปกครองสูงสุด
นายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการการเลือกตั้ง
ประธานรัฐสภา ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแหชาติ
ประธานวุฒิสภา ประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ
ประธานสภาผูแทนราษฎร ประธานกรรมการตรวจเงินแผนดิน
การเขียนหนังสือราชการ เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ หนา 10
ประธานศาลฏีกา ผูตรวจการแผนดินรัฐสภา
ประธานศาลรัฐธรรมนูญ รัฐบุรุษ
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ ใหใชคําสรรพนามแทนเจาของหนังสือวา “ขาพเจา” หรือกระผม”
หรือ “ผม” (ชาย) หรือ “ดิฉัน” หรือ “ขาพเจา” (หญิง) และแทนผูรับหนังสือวา “ทาน”
อยางไรก็ดี การใชคําสรรพนามแทนผูรับหนังสือวา “ทาน” อาจเปนที่ระคายหูสําหรับผูรับหนังสือที่เปนผูใหญ ถาละไวใน
ฐานที่เขาใจเสียไดโดยไมเอยถึงคําสรรพนามแทนผูรับหนังสือวา “ทาน” อาจจะเหมาะสมกวา เชน
แทนที่จะเขียนวา ขอทานไดโปรด ก็ละคําวา “ทาน” ไวในฐานที่เขาใจเสีย โดยเขียนเพียงวา ขอไดโปรด อยางนี้จะ
เหมาะสมกวา
สวนคําสรรพนามแทนชื่อผูมีหนังสือไป ถาเปนหนังสือจากสวนราชการ เชน จากกระทรวงหรือกรม ก็เปนหนังสือของ
สวนราชการ ไมใชหนังสือของบุคคลผูลงชื่อในหนังสือนั้นจึงไมใชสรรพนามแทนเจาของหนังสือวา “ขาพเจา” “กระผม” “ผม”
หรือ “ดิฉัน” แตใชชื่อสวนราชการที่มีหนังสือไป เชน
กรมสรรพากรขอกราบเรียนวา.........................................
หรือไมก็ละไวในฐานที่เขาใจโดยไมระบุชื่อสวนราชการที่มีหนังสือไปเลยก็ได เชน
ขอกราบเรียนวา.................................................................
ง. หนังสือถึงหัวหนาสวนราชการหรือหัวหนาหนวยงาน ถาเปนหนังสือจากบุคคล ใชคําสรรพนามแทนเจาของหนังสือวา
“ขาพเจา” หรือ “กระผม” หรือ “ผม” (ชาย) หรือ “ขาพเจา” หรือ “ดิฉัน” (หญิง) หรือไมก็ละไวในฐานที่เขาใจ เชน
แทนที่จะเขียนวา ขาพเจาขอเรียนวา........................................ ก็ละคําวา “ขาพเจา” ไวในฐานที่เขาใจ โดยเขียนเพียงวา ขอ
เรียนวา.....................................................................................
สวนคําสรรพนามแทนผูรับหนังสือ ไมใชคําวา “ทาน” เพราะเปนหนังสือถึงสวนราชการ ไมใชถึงตัวบุคคล จึงใชชื่อสวน
ราชการที่มีหนังสือถึงนั้นเอง เชน
ขอกรมสรรพากรไดโปรด..........................................หรือไมก็ละชื่อผูรับหนังสือไวในฐานที่เขาใจ โดยเขียนเพียงวา
ขอไดโปรด........................................................................
ถาเปนหนังสือจากสวนราชการ ไมใชคําสรรพนามแทนเจาของหนังสือวา “ขาพเจา” หรือ “กระผม” หรือ “ผม”
เพราะเปนหนังสือของสวนราชการ ไมใชหนังสือของตัวบุคคลผูลงชื่อในหนังสือ จึงใชชื่อสวนราชการที่มีหนังสือไปนั้นเอง เชน
กรมสรรพากรขอเรียนวา..........................................หรือไมก็ละไวในฐานที่เขาใจโดยไมระบุชื่อสวนราชการที่มีหนังสือไปเลยก็
ได เชน
ขอเรียนวา.................................................................
สวนคําสรรพนามแทนผูรับหนังสือ เนื่องจากเปนหนังสือถึงสวนราชการ มิใชถึงตัวบุคคล จึงใชคําวา “ทาน”
ไมได ตองใชชื่อสวนราชการผูรับหนังสือ เชน
ขอกรมสรรพากรไดโปรด..........................................หรือไมก็ละชื่อผูรับหนังสือไวในฐานที่เขาใจ โดยเขียนเพียงวา
ขอไดโปรด........................................................................
จ. หนังสือถึงบุคคลธรรมดาทั่วไป หนังสือถึงบุคคลธรรมดาทั่วไป ซึ่งมิใชกรณีตามขอ ก. ขอ ข. ขอ ค. และ ขอ ง. ระเบียบสํานัก
นายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณใหใชคําสรรพนามแทนเจาของหนังสือวา “ขาพเจา” “กระผม” หรือ “ผม” (ชาย) และ
“ขาพเจา” หรือ “ดิฉัน” (หญิง) ใชสรรพนามแทนผูรับหนังสือวา “ทาน”
อยางไรก็ดี คําสรรพนามแทนผูรับหนังสือวา “ทาน” หากละไวในฐานที่เขาใจไดก็ควรละไวโดยไมระบุคําวา
“ทาน” เพื่อไมใหเปนที่ระคายหูผูรับหนังสือที่เปนผูใหญ เชนแทนที่จะเขียนวา
ขอทานไดโปรด...................................................................
ก็ละคําวา “ทาน” ไวในฐานที่เขาใจ คงเขียนเพียงวา
การเขียนหนังสือราชการ เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ หนา 11
ขอไดโปรด......................................................................
สวนคําสรรพนามแทนผูมีหนังสือไป หากเปนหนังสือจากสวนราชการ ก็เปนหนังสือของสวนราชการ ไมใชหนังสือของ
บุคคลผูลงชื่อในหนังสือนั้น จึงไมใชคําวา “ขาพเจา” “กระผม” “ผม” หรือ “ดิฉัน” แตใชชื่อสวนราชการที่มีหนังสือไป เชน
กรมสรรพากรขอเรียนวา..........................................หรือไมก็ละชื่อผูรับหนังสือไวในฐานที่เขาใจ คงเขียนเพียงวา
ขอไดโปรด........................................................................
การเขียนขอความในสวนจุดประสงค
ลักษณะของ “จุดประสงคที่มีหนังสือไป”
ในรูปแบบหนังสือติดตอราชการ ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณทั้งหนังสือภายนอก หนังสือ
ภายใน และหนังสือประทับตรา จะมีสวนสําคัญที่เรียกวา “ขอความ” ใน “ขอความ” นี้อาจแบงไดเปนสวนยอย 2 สวน คือ สวน
ที่เปน “เหตุที่มีหนังสือไป” และสวนที่เปน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป”
“เหตุที่มีหนังสือไป” จะบอกวามีเหตุอยางไร จึงตองมีหนังสือไป
“จุดประสงคที่มีหนังสือไป” จะบอกความมุงหมายที่มีหนังสือไปวาประสงคจะใหผูรับหนังสือทําอะไร หรือทําอยางไร
ดังนั้น “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” จึงเปน ผล ของเหตุที่มีหนังสือไปในลักษณะดังนี้
“ดวย” ตาม (เหตุที่มีหนังสือไป)................................................
..................................................................................................จึง (จุดประสงคที่มีหนังสือไป)...................................................
..................................................................................................
ทั้งนี้ โดยเขียน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” เปนขอความยอหนาขึ้นบรรทัดใหมเปนคนละตอนกับ “เหตุที่มีหนังสือไป”
แตสําหรับหนังสือประทับตราซึ่งมีขอความสั้น ๆ อาจเขียน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” รวมไวในตอนเดียวกับ “เหตุที่มีหนังสือ
ไป” โดยไมยอหนาก็ไดหรือบางกรณีหนังสือประทับตราอาจมีแต “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” โดยไมมีเหตุที่มีหนังสือไปก็มีดังที่
ไดกลาวมาแลวในเรื่องที่ ๑.๓.๕
โดยที่ “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” มีลักษณะดังกลาว จึงมักจะเขียนเริ่มตน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” วา
จึง...........................................................................
ทั้งนี้ “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” อาจมีลักษณะ และความมุงหมายอยางใดอยางหนึ่ง ดังตอไปนี้
ตัวอยาง “จุดประสงคที่มีหนังสือไป”
วิธีเขียน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป”
การเขียน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” ตองเขียนใหผูรับหนังสือรูชัดเจนวา ผูมีหนังสือไปมีจุดประสงคที่จะใหผูรับหนังสือทําอะไร
หรือทําอยางไร
สําหรับหนังสือภายนอก และหนังสือภายใน ซึ่งมีขอความยาว ควรเขียน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” โดยยอหนาขึ้นบรรทัด
ใหมแยกตางหากจาก “เหตุที่มีหนังสือไป” ไมควรเขียนรวมไวในตอนเดียวกัน “เหตุที่มีหนังสือไป”
การเขียนแจง “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” ไปยังผูรับหนังสือในบางเรื่อง อาจตองมีขอความประกอบบางอยาง เพื่อความสมบูรณ
เพื่อความสละสลวย เพื่อความสุขภาพ เพื่อโนมนาวจูงใจ หรือเพื่อผูกมัดจิตใจ
คําขอรอง ในกรณีที่จะตองขอใหผูรับหนังสือชวยทําอะไรบางอยางให จะตองเขียน “คําขอรอง” ประกอบ “จุดประสงคที่มี
หนังสือไป” เพื่อความสุภาพ และโนมนาวจูงใจใหผูรับหนังสือยินดีทําตามจุดประสงค เชน
จึงเรียนมาเพื่อโปรดนําเสนอ ก.พ. พิจารณาตอไปดวย
จึงเรียนขอความอนุเคราะหมา เพื่อขอไดโปรดอนุญาตใหใชหองฝกอบรมดังกลาวดวย
จึงเรียนขอความกรุณามาเพื่อไดโปรดชวยเหลือคาใชจายในการนี้ตามสมควรดวย
การเขียนหนังสือราชการ เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ หนา 12
คําขอบคุณ ในกรณีที่จะตองขอความชวยเหลือจากผูรับหนังสือ ควรเขียน “คําขอบคุณ” ประกอบเพื่อใหเปนไปตามประเพณีใน
สังคม และผูกมัดจิตใจของผูรับหนังสือใหชวยเหลือตามจุดประสงค เชน
จึงเรียนมาเพื่อโปรดนําเสนอ ก.พ. พิจารณาตอไปดวย จะขอบคุณมาก
จึงเรียนมาเพื่อขอไดโปรดพิจารณาอนุญาตดวย จะเปน
พระคุณยิ่ง
จึงเรียนมาเพื่อขอไดโปรดชวยเหลือคาใชจายในการนี้ตามสมควรดวย ทั้งนี้หวังเปนอยางยิ่งวาคงจะไดรับความกรุณาจาก
ทาน จึงขอขอบพระคุณมา ณ ที่นี้
เรื่องเกี่ยวเนื่อง ในบางกรณีมีเรื่องเกี่ยวเนื่องที่จะตองแจงไปยังผูรับหนังสือดวย ก็เขียนเรื่องเกี่ยวเนื่องนั้นตอจาก “จุดประสงคที่
มีหนังสือไป”
เรื่องอื่นที่ไมเกี่ยวเนื่อง ถาเรื่องที่แจงไปมีจุดประสงคอยางหนึ่ง และมีเรื่องอื่นที่ไมเกี่ยวเนื่องกับเรื่องนั้นแตจะถือโอกาสแจงไป
ดวย ก็อาจเขียนตอจาก “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” โดยยอหนาขึ้นตอนใหม เริ่มตนดวยคําวา “อนึ่ง” เชน
จึงเรียนมาเพื่อทราบ
อนึ่ง ตั้งแตวันที่......................................เปนตนไป
สํานักงานนี้จะยายไปอยูที่................................และเปลี่ยน
เลขหมายโทรศัพทเปน.................................หากจะติดตอ
ตั้งแตวันดังกลาว ขอไดโปรดติดตอตามสถานที่ และเลขโทรศัพทใหมนี้
หลักในการเขียน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป”
การเขียน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” ในหนังสือติดตอราชการ พึงยึดหลัก ดังนี้
หลักประการที่ 1 เขียนใหตรงกับลักษณะและความมุงหมาย
เมือจะเขียน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” ในลักษณะใด โดยมีความมุงหมายอยางไรก็ตองเขียนในลักษณะนั้น โดยมีขอความ
แสดงความมุงหมายอยางนั้น ดังตัวอยางที่ยกมาใหเห็นแลวในหัวขอ “ลักษณะของจุดประสงคที่มีหนังสือไป” ขางตน
หลักประการที่ 2 เขียนแจงจุดประสงคใหชัดเจน
การเขียน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” ในหนังสือติดตอราชการ ตองเขียนแจงจุดประสงคใหชัดเจนวา ผูมีหนังสือไปตองการให
ผูรับหนังสือทําอะไร หรือทําตองการอยางไร ถามีจุดประสงคหลายประการ ก็ตองแจงใหครบทุกประการ
เชน
(๑) ถาจุดประสงคตองการถาม และขอใหตอบดวยก็ตองเขียนทั้งถามและขอใหตอบดวย
ตัวอยาง
จึงเรียนมาเพื่อขอทราบวา ทานจะไปรวมงานนี้ไดหรือไม ขอไดโปรดแจงใหทราบดวยจะขอบคุณมาก
(๒) ถาจุดประสงคตองการขอหลาย ๆ อยาง ก็ตองเขียนคําขอใหครบทุกอยาง
ตัวอยาง
จึงเรียนมาเพื่อทราบ และขอไดโปรดไปรวมประชุมตามวัน เวลา และสถานที่ดังกลาวดวย
หลักประการที่ 3 เขียนโดยใชถอยคําใหเหมาะสมตามควรแกกรณี
การเขียน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” ในหนังสือติดตอราชการ ตองใชถอยคําใหเหมาะกับบุคคล และลักษณะของจุดประสงค
เชน
(๑) ถาหนังสือถึงผูดํารงตําแหนงที่ใชคําขึ้นตนวา “เรียน” ก็เขียนจุดประสงควา “จึงเรียน..........” ถาหนังสือถึงผู
ดํารงตําแหนงที่ใชคําขึ้นตนวา “กราบเรียน” ก็ตองเขียนจุดประสงควา “จึงกราบเรียน...............”
(๒) ถาลักษณะ “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” เปน “คําขอ” ควรเพิ่มคําวา “โปรด” และตอทายดวย “คําขอบคุณ”
ซึ่งโดยทั่วไปมักจะใชวา “จะขอบคุณมาก” แตถาเปนหนังสือถึงผูใหญอาจใชคําวา “จะเปนพระคุณยิ่ง”
ตัวอยาง (หนา๗๑)
การเขียนหนังสือราชการ เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ หนา 13
Official letter writing-doc-week1
Official letter writing-doc-week1
Official letter writing-doc-week1
Official letter writing-doc-week1
Official letter writing-doc-week1
Official letter writing-doc-week1
Official letter writing-doc-week1

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1
แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1
แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1Mayuree Kung
 
ตัวอย่างหนังสือภายนอก
ตัวอย่างหนังสือภายนอกตัวอย่างหนังสือภายนอก
ตัวอย่างหนังสือภายนอกWoodyThailand
 
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณวิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณdirectorcherdsak
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...Prachoom Rangkasikorn
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครูเอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครูJaratpong Moonjai
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน(คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน(คู่)แบบเสนอโครงร่างโครงงาน(คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน(คู่)Nuttanicha Ardharn
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดguestf57acc
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศsutima piboon
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2teerachon
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565MungMink2
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินpupphawittayacom
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)Petsa Petsa
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3Wareerut Hunter
 

What's hot (20)

แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1
แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1
แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1
 
Verb to_..
Verb  to_..Verb  to_..
Verb to_..
 
ตัวอย่างหนังสือภายนอก
ตัวอย่างหนังสือภายนอกตัวอย่างหนังสือภายนอก
ตัวอย่างหนังสือภายนอก
 
ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2
 
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณวิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครูเอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน(คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน(คู่)แบบเสนอโครงร่างโครงงาน(คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน(คู่)
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
 
แบบสอบถามการใช้เทคโนโลยี
แบบสอบถามการใช้เทคโนโลยีแบบสอบถามการใช้เทคโนโลยี
แบบสอบถามการใช้เทคโนโลยี
 

Official letter writing-doc-week1

  • 1. การเขียนหนังสือราชการ : เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘หมวด 1 ชนิดของ หนังสือ ขอ 9 หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เปนหลักฐานในราชการ ไดแก ๙.๑ หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ ๙.๒ หนังสือที่สวนราชการมีไปถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่มีไปถึง บุคคลภายนอก ๙.๓ หนังสือที่หนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่บุคคลภายนอกมีมาถึงสวน ราชการ ๙.๔ เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นเพื่อเปนหลักฐานในราชการ ๙.๕ เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับ ๙.๖ ขอมูลขาวสารหรือหนังสือที่ไดรับจากระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ หมวด 1 ชนิดของ หนังสือ ขอ ๑๐ หนังสือ มี ๖ ชนิด คือ ๑๐.๑ หนังสือภายนอก ใชในการติดตอราชการทั่วไป ๑๐.๒ หนังสือภายใน ใชในการติดตอราชการภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกัน ๑๐.๓ หนังสือประทับตรา ใชในการติดตอราชการเฉพาะกรณีที่ไมใชเรื่องสําคัญ ๑๐.๔ หนังสือสั่งการ ไดแก คําสั่ง ระเบียบ ขอบังคับ ๑๐.๕ หนังสือประชาสัมพันธ ไดแก ประกาศ แถลงการณ และขาว ๑๐.๖ หนังสือที่เจาหนาที่ทําขึ้นหรือรับไวเปนหลักฐานในราชการไดแก หนังสือรับรอง รายงานการประชุม บันทึก หรือหนังสือ อื่น ในบรรดาหนังสือราชการ 6 ชนิดดังกลาว มี 3 ชนิดแรกเปนหนังสือติดตอราชการ คือ หนังสือภายนอก หนังสือภายใน หนังสือประทับตรา หนังสือติดตอราชการแตละชนิดดังกลาวมีลักษณะดังตอไปนี้ บทที่ 1 การเขียนใหถูกตอง 1.1 เขียนใหถูกแบบ ลักษณะของหนังสือภายนอก ความหมาย หนังสือภายนอก คือหนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธี ใชกระดาษตราครุฑเขียนเปนหนังสือติดตอระหวางสวน ราชการ หรือสวนราชการมีถึงหนวยงานอื่นใดที่มิใชสวนราชการหรือมีถึงบุคคลภายนอก กรณีที่ใชหนังสือภายนอกใชติดตอราชการระหวางกระทรวงหนึ่ง หรือกรมหนึ่ง หรือจังหวัดหนึ่ง หรือสวนราชการแหงใดแหง หนึ่ง กับกระทรวงอื่น หรือกรมอื่น หรือจังหวัดอื่น หรือหนวยงานอื่น หรือกับบุคคลภายนอก รูปแบบ หนังสือภายนอกมีรูปแบบดังนี้ โครงสราง หนังสือภายนอกมีโครงสรางประกอบดวยสวนสําคัญ 4 สวน คือ หัวหนังสือ เหตุที่มีหนังสือไป จุดประสงคที่มีหนังสือไป ทายหนังสือ การเขียนหนังสือราชการ เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ หนา 1
  • 2. รายการตาง ๆ ในสวนของหัวหนังสือ ในสวนหัวหนังสือมีรายการตาง ๆ ดังนี้ 1. ที่ ใหลงรหัสตัวพยัญชนะและเลขประจําของเจาของเรื่อง (สวนราชการหรือหนวยงานที่ออกหนังสือ ตามที่กําหนดไวใน ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ)ทับเลขทะเบียนหนังสือสง ตัวอยาง ที่ นร. ๐๖๐๑/๑๒๕ ตัวพยัชนะ นร. คือสํานักนายกรัฐมนตรี ตัวเลข ๐๖๐๑ เปนเลขประจําของเจาของเรื่อง (๐๖ คือ สํานักงาน ก.พ. ๐๑ คือกองกลาง) ตัวเลข ๑๒๕ คือเลขทะเบียบหนังสือสง สําหรับหนังสือของคณะกรรมการใหกําหนดรหัสตัวพยัญชนะ เพิ่มขึ้นไดตามความจําเปน สําหรับหนังสือที่มีถึงผูรับจํานวนมาก โดยมีขอความอยางเดียวกัน ซึ่งเรียกวา “หนังสือเวียน” ใหเพิ่มรหัสตัวพยัชนะ “ว” หนาเลขทะเบียนหนังสือสง ซึ่งกําหนดเปนเลขที่ของหนังสือทั่วไปตามแบบหนังสือภายนอกอยางหนึ่งอยางใดก็ไดรายการนี้ ผูรางหนังสือไมตองเขียน ปลอยไวใหเปนหนาที่ของพนักงานพิมพดีดและเจาหนาที่สารบรรณดําเนินการตอไป 2. สวนราชการเจาของหนังสือ ใหลงชื่อสวนราชการ สถานที่ราชการหรือคณะกรรมการที่เปนเจาของหนังสือนั้น และโดย ปกติใหลงที่ตั้งดวย ตัวอยาง สํานักงาน ก.พ. ถนนพิษณุโลก กท. ๑๐๓๐๐ รายการนี้ ถาเปนหนังสือของกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัด ซึ่งเปนสวนราชการที่ออกหนังสืออยูเปนประจํา ผูราง หนังสือจะไมเขียนก็ได เพราะหนักงานพิมพดีดรูอยูแลวปลอยวางไวใหพนักงานพิมพดีดพิมพเองได แตถาเปนหนังสือของ คณะกรรมการ หรือหนวยงานพิเศษที่พนักงานพิมพดีดไมคุนเคยผูรางหนังสือตองเขียนดวย ขอสังเกตสวนราชการที่ลงในสวนหัว หนังสือ เปนสวนราชการเจาของหนังสือ แตสวนราชการที่ลงในสวนทายหนังสือ เปนสวนราชการเจาของเรื่อง เชน หนังสือของกรม ที่ดินกรมที่ดินเปนเจาของหนังสือและถาหนังสือนั้นจัดทําโดยกองการเจาหนาที่ กองการเจาหนาที่เปนเจาของเรื่อง 3. วัน เดือน ป ใหลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของป พ.ศ. ที่ออกหนังสือ ตัวอยาง ๕ มกราคม ๒๕๓๔ รายการนี้ ผูรางหนังสือไมตองเขียน ปลอยไวใหเปนหนาที่ของพนักงานพิมพดีดและเจาหนาที่สารบรรณดําเนินการเอง 4. เรื่อง ใหลงเรื่องยอที่เปนใจความที่สั้นที่สุดของหนังสือนั้น ในกรณีที่เปนหนังสือตอเนื่องโดยปกติใหลงเรื่องของหนังสือฉบับ เดิม รายการนี้ ผูรางหนังสือจะตองเขียน ซึ่งศึกษาวิธีเขียน “เรื่อง” ไดนตอนที่ ๒.๑ 5. คําขึ้นตนใหใชคําขึ้นตนตามฐานะของผูรับหนังสือตามที่กําหนดไวในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ แลว ลงชื่อตําแหนงของผูที่หนังสือนั้นมีถึง หรือชื่อบุคคลในกรณีที่มีหนังสือถึงตัวบุคคลโดยไมเกี่ยวกับตําแหนงหนาที่ รายการนี้ ผูรางหนังสือจะตองเขียน ซึ่งศึกษาวิธีเขียนไดในตอนที่ ๒.๑ 6. อางถึง ถามีการอางถึงหนังสือที่เคยมีติดตอกันมาที่สวนราชการผูรับหนังสือไดรับมากอนใหลงชื่อสวนราชการเจาของ หนังสือ และเลขที่หนังสือ วันเดือนป พ.ศ. ของหนังสือนั้น ตัวอยาง อางถึง หนังสือกรมวิชาการที่ ศธ. ๐๖๐๑/๕๗๘๐ ลง วันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๓๓ รายการนี้ ผูรางหนังสือจะตองเขียน แตถาไมมีการอางถึงหนังสือที่เคยติดตอกันมาก็ไมตองเขียนรายการนี้ 7. สิ่งที่สงมาดวย ถามีสิ่งที่จะสงไปกับหนังสือนั้นดวย ก็ใหลงชื่อสิ่งของ หรือเอกสารที่สงไปกับหนังสือนั้น ในกรณีที่ไมสามารถ สงไปในซองเดียวกัน ใหแจงวาสงไปโดยทางใด ตัวอยาง สิ่งที่สงมาดวย คําชี้แจงประกอบคําขอ ๓๐ รายการนี้ ผูรางหนังสือจะตอง แตถาไมมีสิ่งใดสงไปกับหนังสือนั้น ก็ไมตองเขียนรายการนี้ ขอความในสวนเหตุที่มีหนังสือไป เหตุที่มีหนังสือไป คือ ขอความที่ผูมีหนังสือไปแจงเหตุที่ตองมีหนังสือไปยังผูรับหนังสือ ซึ่งผูรางหนังสือจะตองเขียนเองทั้งหมด เหตุที่มีหนังสือไป อาจเปนขอความตอนเดียว หรือ 2 ตอน หรือ 3 ตอน ก็ได ตัวอยางเหตุที่มีหนังสือไปตอนเดียว การเขียนหนังสือราชการ เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ หนา 2
  • 3. ดวยกรมสรรพากรจะจัดการฝกอบรมเจาหนาที่ธุรการของกรมสรรพากรจํานวน ๓๐ คน ตามหลักสูตรการเขียนหนังสือ ราชการ ในระหวางวันที่ ๑-๑๐ กุมภาพันธ ๒๕๓๔ เต็มวันในเวลาราชการ ในการนี้กรมสรรพากรใครขอใชหองฝกอบรมของ สถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือนสํานักงาน ก.พ. สําหรับฝกอบรมดังกลาว หนังสือตามตัวอยางนี้ มีเหตุที่มีหนังสือไปเพียงตอนเดียว ซึ่งแจงไปวาจะจัดการฝกอบรม และใครขอใชหอง จบเหตุที่มี หนังสือไปเพียงแคนี้ ตอไปก็จะยอหนาขึ้นบรรทัดใหมเปนการแจงจุดประสงคที่มีหนังสือไป เชนเขียนจุดประสงควา จึงเรียนมาเพื่อขอไดโปรดอนุเคราะหใหกรมสรรพากรใชหองของสถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือนสําหรับการฝกอบรม ดังกลาวดวย จะขอบคุณมาก ตัวอยางเหตุที่มีหนังสือไป ๒ ตอน ตามที่สํานักงาน ก.พ. ไดอนุเคราะหใหกรมสรรพากรใชหองของสถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือนเพื่อฝกอบรม เจาหนาที่ธุรการของกรมสรรพากรตามหลักสูตรการเขียนหนังสือราชการในระหวางวันที่ ๑-๑๐ กุมภาพันธ ๒๕๓๔ นั้น บัดนี้ การฝกอบรมหลักสูตรดังกลาวไดเสร็จสิ้นลงแลวในการฝกอบรมครั้งนี้ เจาหนาที่ของสถาบันพัฒนาขาราชการพล เรือนไดอํานวยความสะดวก และใหความชวยเหลืออยางดียิ่งทําใหการฝกอบรมสําเร็จเปนผลดีสมความมุงหมาย หนังสือตามตัวอยางนี้ แจงเหตุที่มีหนังสือไปมีขอความ ๒ ตอน ตอนแรกเปนขอความเริ่มตนกลาวถึงเรื่องเดิมที่ สํานักงาน ก.พ. ใหกรมสรรพากรใชหองสําหรับฝกอบรม ตอนที่ ๒ เปนขอความสืบเนื่องตอมา ซึ่งกรมสรรพากรแจงใหสํานักงาน ก.พ. ทราบวา การฝกอบรมเสร็จสิ้นแลว และไดรับความชวยเหลือจากเจาหนาที่ของสถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือนเปนอยางดี จบเหตุที่มีหนังสือไปเพียงแคนี้ ตอไปก็จะยอหนาขึ้นบรรทัดใหม เปนการแจงจุดประสงคที่มีหนังสือไป เชน เขียนจุดประสงควา จึงเรียนมาเพื่อทราบ และขอขอบคุณมา ณ ที่นี้ ตัวอยางเหตุที่มีหนังสือไป ๓ ตอน ตามที่มีบัญชาใหกรมปาไมดําเนินการใหราษฎรในจังหวัดชุมพรที่บานเรือนเสียหายเพราะวาตภัยสําหรับปลูกสรางบานเรือนของ ตนเอง นั้น กรมปาไมไดดําเนินการตามบัญชาแลว แตยังมีตนไมที่โคนลมกระจัดกระจายอยูอีกจํานวนมาก ซึ่งใชปลูกสราง ซอมแซมบานเรือนไมได และไดรับรายงานจากจังหวัดชุมพรวาตนไมดังกลาวอาจถูกกระแสพัดพาไหลไปปะทะบานเรือนราษฎรที่ ปลูกใหมอีกเมื่อถึงฤดูฝน จังหวัดจึงขอความชวยเหลือมายังกรมปาไมใหชักลากไมเหลานั้นออกไปใหพนเขตอันตรายดังกลาว กรมปาไมไมไดพิจารณาแลวเห็นควรขอความรวมมือไปยังองคการอุตสาหกรรมปาไมเพื่อดําเนินการตามที่จังหวัดขอ ความชวยเหลือมา หนังสือตามตัวอยางสมมุติ มีเหตุที่มีหนังสือไป 3 ตอน ตอนแรก เปนขอความเริ่มตนอางถึงเรื่องเดิม ตอนที่ ๒ เปน ขอความที่บอกเรื่องสืบเนื่องตอมา และตอนที่ ๓ เปนขอความอันเปนผลสืบเนื่องตอไป จบเหตุที่มีหนังสือไปเพียงแคนี้ ตอจากนี้ จะเปนจุดประสงคที่มีหนังสือไป ซึ่งจะยอหนาขึ้นบรรทัดใหม เชน เขียนจุดประสงควา จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา หากชอบดวยดําริ โปรดสั่งใหองคการอุตสาหกรรมปาไม พิจารณาใหความชวยเหลือ แกจังหวัดตอไป ขอความในสวนจุดประสงคที่มีหนังสือไป จุดประสงคที่มีหนังสือไป ของหนังสือภายนอก คือขอความแสดงความมุงหมายที่มีหนังสือไปวาประสงคจะใหผูรับหนังสือทํา อะไร หรือทําอยางไร ขอความนี้ ผูรางหนังสือจะตองเขียน การเขียน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” ควรเขียนยอหนาขึ้นบรรทัดใหมเปนอีกตอน หนึ่งตางหากจาก “เหตุที่มีหนังสือไป” แมวา “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” จะอยูในความหมายของคําวา “ขอความ” ตามแบบ หนังสือภายนอก เชนเดียวกับ “เหตุที่มีหนังสือไป” โดยปกติมักจะเขียน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” ขึ้นตนดวยคําวา “จึง....” เชน จึงเรียนมาเพื่อทราบ จึงขอเรียนหารือมาวา........ การเขียนหนังสือราชการ เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ หนา 3
  • 4. จึงเรียนขอความกรุณามาเพื่อไดโปรดอนุเคราะห........ จึงขอกําชับมาเพื่อจักไดระมัดระวังมิใหเกิดกรณีเชนนี้ขึ้นอีก รายการตาง ๆ ในสวนทายหนังสือ ทายหนังสือ ของหนังสือภายนอก จะมีรายการตาง ๆ ดังนี้ คําลงทายใหใชคําลงทายตามฐานะของผูรับหนังสือตามที่กําหนดไวในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ รายการนี้ ผูรางหนังสือจะตองเขียน ซึ่งศึกษาวิธีเขียนไดในตอนที่ ๒ ลงชื่อ และตําแหนงใหลงลายมือชื่อเจาของหนังสือ และใหพิมพชื่อเต็มของเจาของลายมือชื่อไวใตลายมือชื่อกับลงตําแหนงของ เจาของหนังสือ รายการนี้ ผูรางหนังสือไมตองเขียน ปลอยวางไวใหหัวหนาสวนราชการเจาของหนังสือหรือผูแทนลงลายมือชื่อ และให เจาหนาที่สารบรรณเขียนหรือตีตราชื่อเต็มพรอมทั้งตําแหนงของผูลงลายมือชื่อ สวนราชการเจาของเรื่อง และโทร. ใหลงชื่อสวนราชการเจาของเรื่อง หรือหนวยงานที่ออกหนังสือ ถาเจาของหนังสืออยูใน ระดับกระทรวงหรือทบวงใหลงชื่อสวนราชการเจาของเรื่องทั้งระดับกรมและกอง ถาเจาของหนังสืออยูในระดับกรมลงมา ใหลง ชื่อสวนราชการ เจาของเรื่องเพียงระดับกองหรือหนวยงานที่รับผิดชอบ พรอมดวยหมายเลขโทรศัพทของสวนราชการเจาของ เรื่อง และหมายเลขภายในตูสาขา (ถามี) รายการนี้ ผูรางหนังสืออาจตองเขียนดวย เวนแตพนักงานพิมพดีดทราบอยูแลว ก็อาจปลอยวางไวใหพนักงานพิมพดีด พิมพเอง สําเนาสง ในกรณีที่จัดสงสําเนาใหสวนราชการหรือบุคคลอื่นทราบ และประสงคใหผูรับหนังสือทราบวาไดสงสําเนาใหผูใดทราบ แลว ใหพิมพชื่อเต็มหรือชื่อยอของสวนราชการ หรือชื่อบุคคลที่สงสําเนาไปให เพื่อใหเปนที่เขาใจระหวาผูมีหนังสือไปกับผูรับ หนังสือ ถามีรายชื่อสงสําเนาใหมาก ใหพิมพวาสงไปตามรายชื่อที่แนบ และแนบรายชื่อไปดวย รายการนี้ ถาพนักงานพิมพดีดไมทราบวาสงสําเนาใหใครบาง ผูรางหนังสือจะตองเขียนใหดวย แตถาไมมีการสงสําเนาให ใคร ก็ไมตองเขียน ลักษณะของหนังสือภายใน ความหมาย และกรณีที่ใช หนังสือภายใน คือหนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีนอยกวาหนังสือภายนอก เปนหนังสือติดต อภายในกระทรวงทบวงกรมหรือจังหวัดเดียวกัน รูปแบบ หนังสือภายใน ใชเขียนในกระดาษบันทึกขอความ มีรูปแบบดังนี้ โครงสราง หนังสือภายใน มีโครงสรางประกอบดวยสวนสําคัญ ๔ สวน คือ หัวหนังสือ เหตุที่มีหนังสือไป จุดประสงคที่มีหนังสือไป ทาย หนังสือ รายการในสวนตาง ๆ ของหนังสือภายใน รายการภายในโครงสรางสวนตาง ๆ ของหนังสือภายใน เขียนทํานองเดียวกับหนังสือภายนอก เวนแต (๑) สวนราชการ ที่เขียนในสวนหัวหนังสือของหนังสือภายใน ไมไดเขียน “สวนราชการเจาของหนังสือ” ดังเชน ที่เขียนในสวน หัวหนังสือของหนังสือภายนอก แตเขียน “สวนราชการเจาของเรื่อง” เหมือนสวนทายหนังสือของหนังสือภายนอก กลาวคือ ให ลงชื่อสวนราชการเจาของเรื่อง หรือหนวยงานที่ออกหนังสือโดยมีรายละเอียดพอสมควร โดยปกติ ถาสวนราชการที่ออกหนังสือ อยูในระดับกรมขึ้นไป ใหลงชื่อสวนราชการเจาของเรื่องทั้งระดับกรม และกอง ถาสวนราชการที่ออกหนังสืออยูในระดับต่ํากวา กรมลงมา ใหลงชื่อสวนราชการเจาของเรื่องเพียงระดับกองหรือสวนราชการเจาของเรื่อง พรอมทั้งหมายเลขโทรศัพท (ถามี) การเขียนหนังสือราชการ เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ หนา 4
  • 5. เชนเขียนวา สวนราชการ สํานักงาน ก.พ. กองกลาง โทร. ๒๘๒๗๓๖๕ ทั้งนี้ สวนราชการ ของหนังสือภายใน ไมไดเขียนวา “สํานัก ก.พ. ถนนพิษณุโลก ก.ท.๑๐๓๐๐” ดังเชนที่เขียนในหนังสือ ภายนอก และที่ทายหนังสือของหนังสือภายใน ไมมีชื่อสวนราชการเจาของเรื่อง (๒) คําลงทาย หนังสือภายในไมมีคําลงทาย ดังเชนที่เขียนในหนังสือภายนอก ความหมาย หนังสือประทับตรา คือ หนังสือติดตอราชการที่ใชประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไป โดยให หัวหนาสวนราชการระดับกองหรือผูที่ไดรับมอบหมายจากหัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไปเปนผูรับผิดชอบและลงชื่อยอ กํากับตรา กรณีที่ใช หนังสือประทับตราใชไดทั้งระหวางสวนราชการกับสวนราชการ หรือกับหนวยงานที่ไมใชสวนราชการ และกับ บุคคลภายนอก แตใชไดเฉพาะกรณีที่ไมใชเรื่องสําคัญ ซึ่งไดแก (๑) การขอรายละเอียดเพิ่มเติม (๒) การสงสําเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสาร (๓) การตอบรับทราบที่ไมเกี่ยวกับราชการสําคัญ หรือการเงิน (๔) การแจงผลงานที่ไดดําเนินการไปแลวใหสวนราชการที่เกี่ยวของทราบ (๕) การเตือนเรื่องคาง (๖) เรื่องซึ่งหัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไป กําหนดโดยทําเปนคําสั่งใหใชหนังสือประทับตรา รูปแบบ หนังสือประทับตรา มีรูปแบบดังนี้ โครงสราง หนังสือประทับตรา มีโครงสรางประกอบดวยสวนสําคัญ 4 สวน หรือ 3 สวน แลวแตเรื่อง ดังนี้ โครงสราง 4 สวน หัวหนังสือ เหตุที่มีหนังสือไป จุดประสงคที่มีหนังสือไป ทายหนังสือ โครงสราง 3 สวน หนังสือ เหตุและจุดประสงคที่มีหนังสือไป ทายหนังสือ รายการในสวนตาง ๆ ของหนังสือประทับตรา รายการภายในโครงสรางสวนตาง ๆ ของหนังสือประทับตรา เขียนทํานองเดียวกับหนังสือภายนอก เวนแต ก. สวนหัวหนังสือ (๑) ไมมีสถานที่หรือชื่อสวนราชการเจาของหนังสือในสวนหัวหนังสือ แตเอาชื่อสวนราชการเจาของหนังสือ หรือสวน ราชการที่สงหนังสือออกไปไวในสวนทายหนังสือ (๒) ไมมีวันเดือนปที่ออกหนังสือในสวนหัวหนังสือ แตเอาวันเดือนปที่ออกหนังสือไปไวในสวนทายหนังสือ (๓) ไมมีชื่อเรื่องของหนังสือ (๔) คําขึ้นตนใชคําวา “ถึง” ไมใชคําวา “เรียน” หรือ “กราบเรียน” ดังเชน ที่ใชในหนังสือภายนอก และหลังคําวา “ถึง” ให ระบุชื่อสวนราชการที่มีหนังสือถึง ไมใชระบุตําแหนงหัวหนาสวนราชการที่มีหนังสือถึงดังเชนที่ใชในหนังสือภายนอก ถึง กรมสรรพากร ไมใช “ถึง อธิการกรมสรรพากร” แตถาเปนหนังสือถึงบุคคล ก็ระบุชื่อบุคคลเชนเดียวกับหนังสือภายนอก แตใชคําขึ้นตน วา “ถึง” ไมใชคําวา “เรียน” อยางหนังสือภายนอก การเขียนหนังสือราชการ เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ หนา 5
  • 6. รายการในสวนตาง ๆ ของหนังสือประทับตรา(ตอ) ข. สวนจุดประสงคที่มีหนังสือไป อาจเขียนจุดประสงคที่มีหนังสือไปแยกกันเปนคนละตอนกับสวนเหตุที่มีหนังสือไปหรือเขียนรวมในสวนเดียวกับสวนเหตุ ที่มีหนังสือไปโดยไมยอหนาขึ้นบรรทัดใหมก็ได เพราะหนังสือประทับตราสวนมากจะเปนหนังสือสงสําเนาหนังสือหรือสิ่งของ หนังสือตอบรับทราบหรือหนังสือเตือนเรื่องคาง ซึ่งมีขอความสั้น ๆ บางทีมีแตจุดประสงคที่มีหนังสือไปโดยไมตองอางเหตุที่ตองมี หนังสือไปก็มี เชน ตัวอยางหนังสือที่มีจุดประสงคที่มีหนังสือไป ตัวอยางหนังสือที่รวมเหตุที่มีหนังสือไปกับจุดประสงคที่มีหนังสือไป ตัวอยางแยกจุดประสงคที่มีหนังสือไปเปนคนละตอนกับเหตุที่มีหนังสือไป ค. ทายหนังสือ (๑) ไมมีคําลงทาย ดังเชนที่เขียนในหนังสือภายนอก (๒) ไมมีการลงชื่อหัวหนาสวนราชการเจาของหนังสือหรือผูแทน ดังเชนที่มีในหนังสือภายนอก แตใชตราสวนราชการประทับ และลงชื่อยอของผูไดรับมอบหมายจากหัวหนาสวนราชการกํากับตรานั้นแทน (๓) ลงวันเดือนปที่ออกหนังสือไวในสวนทายหนังสือ แทนที่จะลงในสวนหัวหนังสือดังเชนที่ลงในหนังสือภายนอก (๔) ระบุชื่อสวนราชการที่สงหนังสือออก หรือสวนราชการเจาของหนังสือไวในสวนทายหนังสือ สวนการระบุชื่อสวนราชการเจาของเรื่อง รวมทั้งหมายเลขโทรศัพทในสวนทายหนังสือคงมีเหมือนกับหนังสือ ภายนอก แตอาจตองลงสถานที่ตั้งของสวนราชการเจาของเรื่องไวในสวนนี้ดวย เพราะในหนังสือประทับตราไมไดระบุ สถานที่ตั้งไวในสวนหัวหนังสือ จึงตองนํามาระบุไวในสวนทายหนังสือ เพื่อความสะดวกในการติดตอ ตัวอยางหนังสือประทับตรา การเขียนขอความในหนังสือติดตอราชการ หนังสือติดตอราชการ มีโครงสรางประกอบดวยสวนสําคัญ 4 สวน ดังกลาวแลวในบทที่ ๑ คือ สวนหัวหนังสือ สวนเหตุที่มีหนังสือไป สวนจุดประสงคที่มีหนังสือไป สวนทายหนังสือ ภายในโครงสรางแตละสวนของหนังสือติดตอราชการมีขอความรายละเอียดที่ตองการเขียนใหถูก เชน ในสวนหัวหนังสือ มีชื่อเรื่อง และคําขึ้นตน ซึ่งจะตองเขียนใหถูก ในสวนเหตุที่มีหนังสือไป จะตองเขียนเริ่มตนดวยคําที่เหมาะสม อางเหตุที่มีหนังสือไปใหถูกและใชคําสรรพนามใหเหมาะสม ในสวนจุดประสงคที่มีหนังสือไป จะตองเขียนใหตรงกับลักษณะของเรื่อง และความมุงหมายที่มีหนังสือไป ในสวนทายหนังสือ จะตองเขียนคําลงทายในหนังสือภายนอกใหถูก และเขียนรายการอื่น ๆ ในหนังสือทุกชนิดใหถูกตอง การเขียนขอความในสวนหัวหนังสือ ในสวนหัวหนังสือของหนังสือติดตอราชการ มีรายการสําคัญที่ผูรางหนังสือจะตองเขียนอยู ๒ รายการ คือ เรื่อง “เรื่อง” คือ ใจความที่ยอสั้นที่สุดของหนังสือ ผูรางหนังสือมักจะประสบกับปญหาวา ยอใจความของหนังสือใหสั้นที่สุด ไดอยางไร และควรเขียนชื่อเรื่องของหนังสือแตละฉบับวาอยางไร “เรื่อง” จะตองเขียนเฉพาะในหนังสือภายนอก และหนังสือภายในเทานั้น สวนหนังสือประทับตรา ไมตองเขียน “เรื่อง” คําขึ้นตน คําขึ้นตน ตองเขียนทั้งในหนังสือภายนอก หนังสือภายใน และหนังสือประทับตราโดยใชคําตามที่กําหนดไวในระเบียบ สํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ การเขียนหนังสือราชการ เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ หนา 6
  • 7. การเขียน “เรื่อง” การเขียน “เรื่อง” ของหนังสือภายนอกและหนังสือภายใน ตองเขียนใหบรรลุจุดมุงหมายอยางนอย ๒ ประการ คือ ประการที่ ๑ ใหพอรูใจความที่ยอสั้นที่สุดของหนังสือ ประการที่ ๒ ใหสะดวกแกการเก็บคนอางอิง “เรื่อง” ที่เขียนดี จะมีลักษณะดังนี้ (๑) ยอสั้นที่สุด ไมควรใหยาวเกินกวา ๒ บรรทัด ยิ่งถายอใหไดเพียงครึ่งบรรทัดยิ่งดี (๒) เปนประโยคหรือวลี เพราะถาเปนเพียงคํานาม หรือคํากริยา จะไมไดใจความ (๓) พอรูใจความวาเปนเรื่องอะไร เพราะผูรับหนังสือยอมอยากจะทราบในเบื้องตน กอนอานละเอียดทั้งฉบับวาเปนเรื่อง เกี่ยวกับอะไร (๔) เก็บคนอางอิงไดงาย กลาวคือ ผูเก็บ พออานชื่อเรื่อง ก็สามารถแยกเก็บเขาหมวดหมูตามประเภทเรื่องได โดยไมตองอานรายละเอียดทั้งฉบับ ผูคน พอบอกชื่อเรื่อง ก็สามารถคนหาไดโดยไมยุงยากสับสน ผูอางอิง สามารถบอกชื่อเรื่องใหผูอื่นเขาใจไดโดยไมสับสนไขวเขว เพื่อใหเก็บคนอางอิงไดงายนี่เอง ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณจึงกําหนดวา ในกรณีที่เปน หนังสือตอเนื่อง โดยปกติใหลงชื่อเรื่องของหนังสือฉบับเดิม คือ ถาหนังสือฉบับเดิมที่มีไปมาติดตอกันมากอนใชชื่อเรื่องอยางไร หนังสือฉบับตอไปที่มีไปอีกในเรื่องนั้น โดยปกติใหใชชื่อเรื่องของหนังสือฉบับเดิม หรือถาอางถึงหนังสือฉบับเดิมที่ผูรับหนังสือมี มาโดยใชชื่อเรื่องอยางไร หนังสือที่จะมีตอบไปโดยปกติควรใชชื่อเดียวกัน ทั้งนี้เพื่อใหเก็บคนอางอิงไดงาย อยางไรก็ดี ถาหนังสือฉบับเดิมที่มีไปหรือมีมาเขียนชื่อเรื่องไมดีหรือเขียนไมถูกจะปรับปรุงถอยคําใหดีขึ้น หรือให ถูกตองก็ได หรือถาไมเหมาะที่จะใชชื่อเรื่องของหนังสือฉบับเดิม จะใชชื่อเรื่องใหมใหเหมาะโดยมีเคาความใกลเคียงกับชื่อเรื่อง เดิมก็ได เชน หนังสือฉบับเดิมที่ผูรับหนังสือมีมาเปนคําขอ ซึ่งอาจจะเปน ขออนุมัติ ขออนุญาต ขอผอนผัน ขอความอรุเคราะห หรือของเงินหรือสิ่งของใด ๆ หนังสือฉบับเดิมนั้นอาจใชชื่อเรื่องวา ขออนุมัติเลื่อนเงินเดือนขาราชการเปนกรณีพิเศษ ขออนุญาตนําเงินตราออกนอกประเทศ ขอผอนผันการคัดเลือกเขารับราชการทหาร ขอความอนุเคราะหชวยเหลือคาใชจายในการสัมมนา หนังสือที่ตอบคําขอเหลานี้ไป ถาใชชื่อเรื่องเดิม ความจะกลายเปนวา ผูตอบกลับเปนผูขอไปยังผูขอ ซึ่งไมถูกตอง จึงควรจะ ปรับปรุงชื่อเรื่องที่ตอบไป โดยเติมคําวา “การ” ลงไปขางหนา เปน การขออนุมัติเลื่อนเงินเดือนขาราชการเปนกรณีพิเศษ การขออนุญาตนําเงินตราออกนอกประเทศ การขอผอนผันการคัดเลือกเขารับราชการทหาร การขอความชวยเหลือคาใชจายในการสัมมนา หรือถาเปนกรณีตอบวาใหตามคําขอ จะตอบโดยใชชื่อเรื่องดังนี้ก็ได คือ อนุมัติใหเลื่อนเงินเดือนขาราชการเปนกรณีพิเศษ อนุญาตใหนําเงินตราออกนอกประเทศ ผอนผันการคัดเลือกเขารับราชการทหาร ชวยเหลือคาใชจายในการสัมมนา แตถาเปนกรณีตอบวา ไมอนุมัติ ไมอนุญาต ไมผอนผัน ไมอนุเคราะหชวยเหลือ ไมพึ่งใชเรื่องในลักษณะปฏิเสธ ไมอนุมัติใหเลื่อนเงินเดือนขาราชการเปนกรณีพิเศษ ไมอนุญาตใหนําเงินตราออกนอกประเทศ การเขียนหนังสือราชการ เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ หนา 7
  • 8. ไมผอนผันการคัดเลือกเขารับราชการทหาร ไมชวยเหลือคาใชจายในการสัมมนา ทั้งนี้ เพราะถาใชชื่อเรื่องในลักษณะปฏิเสธเชนนี้ อาจทําใหผูรับหนังสือรูสึกไมพอใจและเสียความสัมพันธอันดีตอกันไป ในกรณีที่ตองตอบปฏิเสธดังกลาว ควรใชชื่อเรื่องโดยเติมคําวา “การ” ลงขางหนาชื่อเรื่องเดิมดังกลาวขางตน เชน การขออนุมัติใหเลื่อนเงินเดือนขาราชการเปนกรณีพิเศษ การขอความชวยเหลือคาใชจายในการสัมมนา ดังนี้ เปนตน (5)แยกความแตกตางจากเรื่องอื่นได ชื่อเรื่องแตละเรื่องควรเปนชื่อเฉพาะเรื่องนั้น ซึ่งไมซ้ํากับเรื่องอื่น เพราะถาตั้งชื่อเรื่องซ้ํา กับเรื่องอื่นโดยไมสามารถแยกความแตกตางจากเรื่องอื่นได จะทําใหสับสน ไมสะดวกแกการเก็บคนอางอิง ตัวอยาง “เรื่อง” ที่ยาวเกินจําเปน ตัวอยาง “เรื่อง” ที่ไมเปนประโยคหรือวลี ตัวอยาง “เรื่อง” ที่ไมรูใจความ ตัวอยาง “เรื่อง” ที่แยกความแตกตางจากเรื่องอื่นไมได การเขียนคําขึ้นตน ก. คําขึ้นตนของหนังสือภายนอกและหนังสือภายใน คําขึ้นตนของหนังสือภายนอก และหนังสือภายในใชเหมือนกัน โดยใชตามฐานะของผูรับหนังสือตามที่กําหนดไวใน ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ คือ หนังสือถึงพระบรมวงศานุวงศใชคําขึ้นตนตามที่กําหนดไวในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ หนังสือถึงพระภิกษุใชคําขึ้นตนตามที่กําหนดไวในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ หนังสือถึงผูดํารงตําแหนงสูงเปนพิเศษ หนังสือถึงผูดํารงตําแหนงสูงเปนพิเศษดังตอไปนี้ ใชคําขึ้นตนวา “กราบเรียน” คือ ประธานองคมนตรี ประธานศาลปกครองสูงสุด นายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการการเลือกตั้ง ประธานรัฐสภา ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแหชาติ ประธานวุฒิสภา ประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ ประธานสภาผูแทนราษฎร ประธานกรรมการตรวจเงินแผนดิน ประธานศาลฏีกา ผูตรวจการแผนดินรัฐสภา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ รัฐบุรุษ หนังสือถึงผูดํารงตําแหนงอื่นหรือบุคคลอื่น หนังสือถึงผูดํารงตําแหนงอื่นนอกจากที่กลาวในขอ (๓) และถึงบุคคลอื่นนอกจากที่ กลาวในขอ (๑) และขอ (๒) ใชคําขึ้นตนวา “เรียน” เหมือนกันทั้งหมด ข. คําขึ้นตนของหนังสือประทับตรา คําขึ้นตนของหนังสือประทับตรา ใชคําวา “ถึง” คําเดียวเหมือนกันหมดทุกกรณี และถาถึงสวนราชการ หรือหนวยงาน ก็ตอทายดวยชื่อสวนราชการหรือหนวยงาน ไมไดตอดวยตําแหนงของหัวหนาสวนราชการหรือหนวยงาน แบบฝกปฏิบัติและเฉลย (ไฟล pdf) การเขียนขอความในสวนเหตุที่มีหนังสือไป ลักษณะของเหตุที่มีหนังสือไป เหตุที่มีหนังสือไป คือ ขอความที่ผูมีหนังสือไปแจงไปยังผูรับหนังสือ เปนการบอกกลาววาเหตุใดจึงตองมีหนังสือไป ซึ่งจะ เขียนยอหนาตอจากคําขึ้นตน เหตุที่มีหนังสือไปของหนังสือภายนอก และหนังสือภายใน อาจเปนขอความตอนเดียว หรือ ๒ ตอน หรือ ๓ ตอน แลวแตกรณี ซึ่งอาจกลาวถึงเหตุที่มีหนังสือไปเพียงตอนเดียวแลวก็แจงจุดประสงค หรือกลาวถึงเรื่องเดิมที่เคยติดตอกันมาตอน หนึ่ง และเรื่องสืบเนื่องตอมาอีกตอนหนึ่ง แลวก็แจงจุดประสงค หรือกลาวถึงเรื่องเดิมที่เคยติดตอกันมาตอนหนึ่ง เรื่องสืบเนื่อง การเขียนหนังสือราชการ เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ หนา 8
  • 9. ตอมาอีกตอนหนึ่ง และผลสืบเนื่องตอไป หรือเรื่องเกี่ยวของอีกตอนหนึ่ง แลวก็แจงจุดประสงค แลวแตกรณี ดังตัวอยางที่กลาวแลวในตอนที่ ๑.๑ เรื่องที่ ๑.๑.๖ สวนเหตุที่มีหนังสือไปของหนังสือประทับตรา มักจะเปนขอความตอนเดียว เพราะเปนเรื่องที่ไมมีสาระสําคัญมากนัก คําเริ่มตนแจงเหตุที่มีหนังสือไป การเริ่มตนแจงเหตุที่มีหนังสือไปของหนังสือภายนอกและหนังสือภายใน จะเริ่มดวยคําใด คําหนึ่งใน ๕ คํา ดังตอไปนี้ ดวย เนื่องจาก ตาม ตามที่ อนุสนธิ สวนคําเริ่มตนของหนังสือประทับตรา จะเริ่มดวยคําวา “ดวย” “เนื่องจาก” “ตาม” “ตามที่” หรือ “อนุสนธิ” แลวแตกรณีอยาง หนังสือภายนอก และหนังสือภายใน ก็ได ในบางกรณีหนังสือประทับตรา เปนหนังสือที่แจงความประสงคไปเลย ก็อาจเขียนเพียงจุดประสงคที่มีหนังสือไปโดยไม ตองบอกเหตุที่มีหนังสือไปก็ได การเริ่มตนโดยใชคําวา “ดวย” หรือ “เนื่องจาก” การเริ่มตนโดยใชคําวา “ดวย” หรือ “เนื่องจาก” ใชในกรณีที่เปนเรื่องใหม ซึ่งไมเคยติดตอหรือรับรูกันมากอนระหวางผู มีหนังสือไปกับผูรับหนังสือเกี่ยวกับเรื่องนั้น การใชคําวา “ดวย” การเริ่มตนโดยใชคําวา “ดวย” ควรใชในกรณีที่บอกกลาวเลาเหตุที่มีหนังสือไปโดยเกริ่นขึ้นมาลอย ๆ การใชคําวา “เนื่องจาก” การเริ่มตนโดยใชคําวา “เนื่องจาก” ควรใชในกรณีที่อางเปนเหตุอันหนักแนนจําเปนตองมีหนังสือไป เพื่อใหผูรับหนังสือ ดําเนินการอยางใดอยางหนึ่ง การเริ่มตนโดยใชคําวา “ตาม” “ตามที่” หรือ “อนุสนธิ” การเริ่มตนโดยใชคําวา “ตาม” “ตามที่” หรือ “อนุสนธิ” ใชในกรณีที่เคยมี เรื่องติดตอหรือรับรูกันมากอน ระหวางผูมี หนังสือไปกับผูรับหนังสือ ซึ่งจะอางเรื่องที่เคยติดตอหรือรับรูกันมากอนดังกลาวนั้น เชน การใชคําวา “ตาม” การเริ่มตนโดยใชคําวา “ตาม” จะตอดวยคํานาม เชน ตามหนังสือที่อางถึง...........................................นั้น การใชคําวา “ตามที่” การเริ่มตนโดยใชคําวา “ตามที่” จะตอดวยประโยค เชน ตามที่มีขาวในหนังสือพิมพวา...............................นั้น การใชคําวา “อนุสนธิ” การเริ่มตนโดยใชคําวา “อนุสนธิ” จะตอดวยคํานาม เชน อนุสนธิมติ ก.พ. ในการประชุมครั้งที่..........เมื่อวันที่.................ให.......................................................................นั้น การเขียนเหตุที่มีหนังสือไป เหตุที่มีหนังสือไป ซึ่งเขียนในเนื้อเรื่องของหนังสือ อาจมีที่มาจากหลายทาง เชน (1) เหตุจากผูมีหนังสือไป (2) เหตุจากบุคคลภายนอก (3) เหตุจากเหตุการณที่ปรากฏขึ้น (4) เหตุจากผูรับหนังสือ การเขียนหนังสือราชการ เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ หนา 9
  • 10. (1) เหตุจากผูมีหนังสือไป เหตุที่มีหนังสือไป อาจเกิดจากผูมีหนังสือไปเอง เชน ขอพึงสังเกต เหตุที่มีหนังสือไปซึ่งเกิดจากผูมีหนังสือไปเอง มีไดทั้งเรื่องใหม ที่ไมเคยติดตอหรือรับรูกันมากอน ซึ่งเริ่มตนดวยคําวา “ดวย” หรือ “เนื่องจาก” (ดังตัวอยาง ๑) และมีไดทั้ง เรื่องที่เคยติดตอหรือรับรูกันมากอน ซึ่งเริ่มตนดวยคําวา “ตาม” “ตามที่” หรือ “อนุสนธิ” (ดังตัวอยาง ๒) (2) เหตุจากบุคคลภายนอก เหตุที่มีหนังสือไป อาจเกิดจากบุคคลภายนอก โดยบุคคลภายนอกวามา หรือขอมา หรือแจงความ ประสงคมา หรือบุคคลภายนอกกระทําการอยางใดอยางหนึ่งที่เปนเหตุใหตองมีหนังสือไปเชน ขอพึงสังเกต เหตุที่มีหนังสือไป ซึ่งเกิดจากบุคคลภายนอก มีไดทั้งเรื่องใหม ที่ไมเคยติดตอหรือรับรูกันมากอน ซึ่งเริ่มตนดวยคําวา “ดวย” หรือ “เนื่องจาก” (ดังตัวอยาง ๑) และมีไดทั้ง เรื่องที่เคยติดตอหรือรับรูกันมากอน ซึ่งเริ่มตนดวยคําวา “ตาม” “ตามที่” หรือ “อนุสนธิ” (ดังตัวอยาง ๒) (3) เหตุจากเหตุการณที่ปรากฏขึ้น เหตุที่มีหนังสือไป อาจเกิดจากเหตุการณที่ปรากฏขึ้น ซึ่งเปนเหตุใหตองมีหนังสือไป เชน ขอพึงสังเกต เหตุที่มีหนังสือไป ซึ่งเกิดจากเหตุการณที่ปรากฏขึ้น มีไดทั้งเรื่องใหม ที่ไมเคยติดตอหรือรับรูกันมากอน ซึ่งเริ่มตนดวย คําวา “ดวย” หรือ “เนื่องจาก” (ดังตัวอยาง ๑) และมีไดทั้ง เรื่องที่เคยติดตอหรือรับรูกันมากอน ซึ่งเริ่มตนดวยคําวา “ตาม” “ตามที่” หรือ “อนุสนธิ” (ดังตัวอยาง ๒) (4) เหตุจากผูรับหนังสือ เหตุที่มีหนังสือไป อาจเกิดจากผูรับหนังสือนั้นเอง โดยผูรับหนังสือแจงมา หรือขออะไรมา หรือผูรับ หนังสือกระทําการอยางใดอยางหนึ่งซึ่งเปนเหตุใหตองมีหนังสือไป เชน ขอพึงสังเกต เหตุที่มีหนังสือไป ซึ่งเกิดจากผูรับหนังสือ มีไดทั้งเรื่องใหม ที่ไมเคยติดตอหรือรับรูกันมากอน ซึ่งเริ่มตนดวยคําวา “ดวย” หรือ “เนื่องจาก” (ดังตัวอยาง ๑) และมีไดทั้ง เรื่องที่เคยติดตอหรือรับรูกันมากอน ซึ่งเริ่มตนดวยคําวา “ตาม” “ตามที่” หรือ “อนุสนธิ” (ดังตัวอยาง ๒) การใชคําสรรพนาม คําสรรพนามที่ใชแทนเจาของหนังสือและผูรับหนังสือ ใชดังนี้ ก. หนังสือถึงพระบรมวงศานุวงศ ข. หนังสือถึงพระภิกษุ ค. หนังสือถึงผูดํารงตําแหนงสูงเปนพิเศษ ง. หนังสือถึงหัวหนาสวนราชการ หรือหัวหนาหนวยงาน จ. หนังสือถึงบุคคลธรรมดาทั่วไป ก.หนังสือถึงพระบรมวงศานุวงศ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ กําหนดใหใชคําสรรพนามแทนเจาของ หนังสือและผูรับหนังสือ ข. หนังสือถึงพระภิกษุ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ กําหนดใหใชคําสรรพนามแทนเจาของหนังสือและ ผูรับหนังสือ ค. หนังสือถึงผูดํารงตําแหนงสูงเปนพิเศษ ผูดํารงตําแหนงสูงเปนพิเศษ ไดแก ประธานองคมนตรี ประธานศาลปกครองสูงสุด นายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการการเลือกตั้ง ประธานรัฐสภา ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแหชาติ ประธานวุฒิสภา ประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ ประธานสภาผูแทนราษฎร ประธานกรรมการตรวจเงินแผนดิน การเขียนหนังสือราชการ เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ หนา 10
  • 11. ประธานศาลฏีกา ผูตรวจการแผนดินรัฐสภา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ รัฐบุรุษ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ ใหใชคําสรรพนามแทนเจาของหนังสือวา “ขาพเจา” หรือกระผม” หรือ “ผม” (ชาย) หรือ “ดิฉัน” หรือ “ขาพเจา” (หญิง) และแทนผูรับหนังสือวา “ทาน” อยางไรก็ดี การใชคําสรรพนามแทนผูรับหนังสือวา “ทาน” อาจเปนที่ระคายหูสําหรับผูรับหนังสือที่เปนผูใหญ ถาละไวใน ฐานที่เขาใจเสียไดโดยไมเอยถึงคําสรรพนามแทนผูรับหนังสือวา “ทาน” อาจจะเหมาะสมกวา เชน แทนที่จะเขียนวา ขอทานไดโปรด ก็ละคําวา “ทาน” ไวในฐานที่เขาใจเสีย โดยเขียนเพียงวา ขอไดโปรด อยางนี้จะ เหมาะสมกวา สวนคําสรรพนามแทนชื่อผูมีหนังสือไป ถาเปนหนังสือจากสวนราชการ เชน จากกระทรวงหรือกรม ก็เปนหนังสือของ สวนราชการ ไมใชหนังสือของบุคคลผูลงชื่อในหนังสือนั้นจึงไมใชสรรพนามแทนเจาของหนังสือวา “ขาพเจา” “กระผม” “ผม” หรือ “ดิฉัน” แตใชชื่อสวนราชการที่มีหนังสือไป เชน กรมสรรพากรขอกราบเรียนวา......................................... หรือไมก็ละไวในฐานที่เขาใจโดยไมระบุชื่อสวนราชการที่มีหนังสือไปเลยก็ได เชน ขอกราบเรียนวา................................................................. ง. หนังสือถึงหัวหนาสวนราชการหรือหัวหนาหนวยงาน ถาเปนหนังสือจากบุคคล ใชคําสรรพนามแทนเจาของหนังสือวา “ขาพเจา” หรือ “กระผม” หรือ “ผม” (ชาย) หรือ “ขาพเจา” หรือ “ดิฉัน” (หญิง) หรือไมก็ละไวในฐานที่เขาใจ เชน แทนที่จะเขียนวา ขาพเจาขอเรียนวา........................................ ก็ละคําวา “ขาพเจา” ไวในฐานที่เขาใจ โดยเขียนเพียงวา ขอ เรียนวา..................................................................................... สวนคําสรรพนามแทนผูรับหนังสือ ไมใชคําวา “ทาน” เพราะเปนหนังสือถึงสวนราชการ ไมใชถึงตัวบุคคล จึงใชชื่อสวน ราชการที่มีหนังสือถึงนั้นเอง เชน ขอกรมสรรพากรไดโปรด..........................................หรือไมก็ละชื่อผูรับหนังสือไวในฐานที่เขาใจ โดยเขียนเพียงวา ขอไดโปรด........................................................................ ถาเปนหนังสือจากสวนราชการ ไมใชคําสรรพนามแทนเจาของหนังสือวา “ขาพเจา” หรือ “กระผม” หรือ “ผม” เพราะเปนหนังสือของสวนราชการ ไมใชหนังสือของตัวบุคคลผูลงชื่อในหนังสือ จึงใชชื่อสวนราชการที่มีหนังสือไปนั้นเอง เชน กรมสรรพากรขอเรียนวา..........................................หรือไมก็ละไวในฐานที่เขาใจโดยไมระบุชื่อสวนราชการที่มีหนังสือไปเลยก็ ได เชน ขอเรียนวา................................................................. สวนคําสรรพนามแทนผูรับหนังสือ เนื่องจากเปนหนังสือถึงสวนราชการ มิใชถึงตัวบุคคล จึงใชคําวา “ทาน” ไมได ตองใชชื่อสวนราชการผูรับหนังสือ เชน ขอกรมสรรพากรไดโปรด..........................................หรือไมก็ละชื่อผูรับหนังสือไวในฐานที่เขาใจ โดยเขียนเพียงวา ขอไดโปรด........................................................................ จ. หนังสือถึงบุคคลธรรมดาทั่วไป หนังสือถึงบุคคลธรรมดาทั่วไป ซึ่งมิใชกรณีตามขอ ก. ขอ ข. ขอ ค. และ ขอ ง. ระเบียบสํานัก นายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณใหใชคําสรรพนามแทนเจาของหนังสือวา “ขาพเจา” “กระผม” หรือ “ผม” (ชาย) และ “ขาพเจา” หรือ “ดิฉัน” (หญิง) ใชสรรพนามแทนผูรับหนังสือวา “ทาน” อยางไรก็ดี คําสรรพนามแทนผูรับหนังสือวา “ทาน” หากละไวในฐานที่เขาใจไดก็ควรละไวโดยไมระบุคําวา “ทาน” เพื่อไมใหเปนที่ระคายหูผูรับหนังสือที่เปนผูใหญ เชนแทนที่จะเขียนวา ขอทานไดโปรด................................................................... ก็ละคําวา “ทาน” ไวในฐานที่เขาใจ คงเขียนเพียงวา การเขียนหนังสือราชการ เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ หนา 11
  • 12. ขอไดโปรด...................................................................... สวนคําสรรพนามแทนผูมีหนังสือไป หากเปนหนังสือจากสวนราชการ ก็เปนหนังสือของสวนราชการ ไมใชหนังสือของ บุคคลผูลงชื่อในหนังสือนั้น จึงไมใชคําวา “ขาพเจา” “กระผม” “ผม” หรือ “ดิฉัน” แตใชชื่อสวนราชการที่มีหนังสือไป เชน กรมสรรพากรขอเรียนวา..........................................หรือไมก็ละชื่อผูรับหนังสือไวในฐานที่เขาใจ คงเขียนเพียงวา ขอไดโปรด........................................................................ การเขียนขอความในสวนจุดประสงค ลักษณะของ “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” ในรูปแบบหนังสือติดตอราชการ ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณทั้งหนังสือภายนอก หนังสือ ภายใน และหนังสือประทับตรา จะมีสวนสําคัญที่เรียกวา “ขอความ” ใน “ขอความ” นี้อาจแบงไดเปนสวนยอย 2 สวน คือ สวน ที่เปน “เหตุที่มีหนังสือไป” และสวนที่เปน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” “เหตุที่มีหนังสือไป” จะบอกวามีเหตุอยางไร จึงตองมีหนังสือไป “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” จะบอกความมุงหมายที่มีหนังสือไปวาประสงคจะใหผูรับหนังสือทําอะไร หรือทําอยางไร ดังนั้น “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” จึงเปน ผล ของเหตุที่มีหนังสือไปในลักษณะดังนี้ “ดวย” ตาม (เหตุที่มีหนังสือไป)................................................ ..................................................................................................จึง (จุดประสงคที่มีหนังสือไป)................................................... .................................................................................................. ทั้งนี้ โดยเขียน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” เปนขอความยอหนาขึ้นบรรทัดใหมเปนคนละตอนกับ “เหตุที่มีหนังสือไป” แตสําหรับหนังสือประทับตราซึ่งมีขอความสั้น ๆ อาจเขียน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” รวมไวในตอนเดียวกับ “เหตุที่มีหนังสือ ไป” โดยไมยอหนาก็ไดหรือบางกรณีหนังสือประทับตราอาจมีแต “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” โดยไมมีเหตุที่มีหนังสือไปก็มีดังที่ ไดกลาวมาแลวในเรื่องที่ ๑.๓.๕ โดยที่ “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” มีลักษณะดังกลาว จึงมักจะเขียนเริ่มตน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” วา จึง........................................................................... ทั้งนี้ “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” อาจมีลักษณะ และความมุงหมายอยางใดอยางหนึ่ง ดังตอไปนี้ ตัวอยาง “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” วิธีเขียน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” การเขียน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” ตองเขียนใหผูรับหนังสือรูชัดเจนวา ผูมีหนังสือไปมีจุดประสงคที่จะใหผูรับหนังสือทําอะไร หรือทําอยางไร สําหรับหนังสือภายนอก และหนังสือภายใน ซึ่งมีขอความยาว ควรเขียน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” โดยยอหนาขึ้นบรรทัด ใหมแยกตางหากจาก “เหตุที่มีหนังสือไป” ไมควรเขียนรวมไวในตอนเดียวกัน “เหตุที่มีหนังสือไป” การเขียนแจง “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” ไปยังผูรับหนังสือในบางเรื่อง อาจตองมีขอความประกอบบางอยาง เพื่อความสมบูรณ เพื่อความสละสลวย เพื่อความสุขภาพ เพื่อโนมนาวจูงใจ หรือเพื่อผูกมัดจิตใจ คําขอรอง ในกรณีที่จะตองขอใหผูรับหนังสือชวยทําอะไรบางอยางให จะตองเขียน “คําขอรอง” ประกอบ “จุดประสงคที่มี หนังสือไป” เพื่อความสุภาพ และโนมนาวจูงใจใหผูรับหนังสือยินดีทําตามจุดประสงค เชน จึงเรียนมาเพื่อโปรดนําเสนอ ก.พ. พิจารณาตอไปดวย จึงเรียนขอความอนุเคราะหมา เพื่อขอไดโปรดอนุญาตใหใชหองฝกอบรมดังกลาวดวย จึงเรียนขอความกรุณามาเพื่อไดโปรดชวยเหลือคาใชจายในการนี้ตามสมควรดวย การเขียนหนังสือราชการ เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ หนา 12
  • 13. คําขอบคุณ ในกรณีที่จะตองขอความชวยเหลือจากผูรับหนังสือ ควรเขียน “คําขอบคุณ” ประกอบเพื่อใหเปนไปตามประเพณีใน สังคม และผูกมัดจิตใจของผูรับหนังสือใหชวยเหลือตามจุดประสงค เชน จึงเรียนมาเพื่อโปรดนําเสนอ ก.พ. พิจารณาตอไปดวย จะขอบคุณมาก จึงเรียนมาเพื่อขอไดโปรดพิจารณาอนุญาตดวย จะเปน พระคุณยิ่ง จึงเรียนมาเพื่อขอไดโปรดชวยเหลือคาใชจายในการนี้ตามสมควรดวย ทั้งนี้หวังเปนอยางยิ่งวาคงจะไดรับความกรุณาจาก ทาน จึงขอขอบพระคุณมา ณ ที่นี้ เรื่องเกี่ยวเนื่อง ในบางกรณีมีเรื่องเกี่ยวเนื่องที่จะตองแจงไปยังผูรับหนังสือดวย ก็เขียนเรื่องเกี่ยวเนื่องนั้นตอจาก “จุดประสงคที่ มีหนังสือไป” เรื่องอื่นที่ไมเกี่ยวเนื่อง ถาเรื่องที่แจงไปมีจุดประสงคอยางหนึ่ง และมีเรื่องอื่นที่ไมเกี่ยวเนื่องกับเรื่องนั้นแตจะถือโอกาสแจงไป ดวย ก็อาจเขียนตอจาก “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” โดยยอหนาขึ้นตอนใหม เริ่มตนดวยคําวา “อนึ่ง” เชน จึงเรียนมาเพื่อทราบ อนึ่ง ตั้งแตวันที่......................................เปนตนไป สํานักงานนี้จะยายไปอยูที่................................และเปลี่ยน เลขหมายโทรศัพทเปน.................................หากจะติดตอ ตั้งแตวันดังกลาว ขอไดโปรดติดตอตามสถานที่ และเลขโทรศัพทใหมนี้ หลักในการเขียน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” การเขียน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” ในหนังสือติดตอราชการ พึงยึดหลัก ดังนี้ หลักประการที่ 1 เขียนใหตรงกับลักษณะและความมุงหมาย เมือจะเขียน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” ในลักษณะใด โดยมีความมุงหมายอยางไรก็ตองเขียนในลักษณะนั้น โดยมีขอความ แสดงความมุงหมายอยางนั้น ดังตัวอยางที่ยกมาใหเห็นแลวในหัวขอ “ลักษณะของจุดประสงคที่มีหนังสือไป” ขางตน หลักประการที่ 2 เขียนแจงจุดประสงคใหชัดเจน การเขียน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” ในหนังสือติดตอราชการ ตองเขียนแจงจุดประสงคใหชัดเจนวา ผูมีหนังสือไปตองการให ผูรับหนังสือทําอะไร หรือทําตองการอยางไร ถามีจุดประสงคหลายประการ ก็ตองแจงใหครบทุกประการ เชน (๑) ถาจุดประสงคตองการถาม และขอใหตอบดวยก็ตองเขียนทั้งถามและขอใหตอบดวย ตัวอยาง จึงเรียนมาเพื่อขอทราบวา ทานจะไปรวมงานนี้ไดหรือไม ขอไดโปรดแจงใหทราบดวยจะขอบคุณมาก (๒) ถาจุดประสงคตองการขอหลาย ๆ อยาง ก็ตองเขียนคําขอใหครบทุกอยาง ตัวอยาง จึงเรียนมาเพื่อทราบ และขอไดโปรดไปรวมประชุมตามวัน เวลา และสถานที่ดังกลาวดวย หลักประการที่ 3 เขียนโดยใชถอยคําใหเหมาะสมตามควรแกกรณี การเขียน “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” ในหนังสือติดตอราชการ ตองใชถอยคําใหเหมาะกับบุคคล และลักษณะของจุดประสงค เชน (๑) ถาหนังสือถึงผูดํารงตําแหนงที่ใชคําขึ้นตนวา “เรียน” ก็เขียนจุดประสงควา “จึงเรียน..........” ถาหนังสือถึงผู ดํารงตําแหนงที่ใชคําขึ้นตนวา “กราบเรียน” ก็ตองเขียนจุดประสงควา “จึงกราบเรียน...............” (๒) ถาลักษณะ “จุดประสงคที่มีหนังสือไป” เปน “คําขอ” ควรเพิ่มคําวา “โปรด” และตอทายดวย “คําขอบคุณ” ซึ่งโดยทั่วไปมักจะใชวา “จะขอบคุณมาก” แตถาเปนหนังสือถึงผูใหญอาจใชคําวา “จะเปนพระคุณยิ่ง” ตัวอยาง (หนา๗๑) การเขียนหนังสือราชการ เสริมทักษะในการเขียนหนังสือราชการ หนา 13