SlideShare a Scribd company logo
บทที่1
บทนำ
ที่มำและควำมสำคัญ
เนื่องจากอาชีพเลี้ยงกุ้งเป็นอีกอาชีพหนึ่ งที่สามารถสร้างรายได้ให้กับคนลุ่มน้าทะเลสาบสงขลาได้
แ ล ะ ก็ ยั ง เ ป็ น อ า ชี พ ที่ ไ ม่ มี ค ว า ม ยุ่ ง ย า ก ล ง ทุ น ไ ม่ ม า ก เ ลี้ ย ง ง่ า ย
และยังทาให้คนลุ่มน้าทะเลสาบสงขลามีรายได้ดีและอาจจะสูงมากในบางรายที่เลี้ยงดี
ดั ง นั้ น ก ลุ่ ม ข อ ง ข้ า พ เ จ้ า จึ ง มี ค ว า ม ส น ใ จ ใ น อ า ชี พ เ ลี้ ย ง กุ้ ง
เพื่อให้ผู้ที่สนใจและผู้ที่ต้องการความรู้เกี่ยวกับวิธีการเลี้ยงกุ้งได้อ่านและนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้มา
กยิ่งขึ้น
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาวิธีการเพาะเลี้ยงกุ้ง
2. เพื่อศึกษาปัญหาในการเพาะเลี้ยงกุ้ง
3. เพื่อฝึกกระบวนการทารายงาน 5 บท
สมมุติฐำนของกำรศึกษำค้นคว้ำ
การศึกษาอาชีพเลี้ยงกุ้งน่าจะช่วยให้ผู้ที่สนใจนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้
ขอบเขตของกำรศึกษำ
การศึกษาได้แบ่งข้อมูลที่จะศึกษาค้นคว้าออกเป็น 3 ประเภท คือ การเพาะเลี้ยงกุ้ง ปัญหาในการเลี้ยงกุ้ง
ผลผลิตที่ได้จากการเลี้ยงกุ้ง
นิยำมศัพท์
1. กุ้ง หมายถึง ชื่อสัตว์น้าไม่มีกระดูกสันหลังในชั้น Crustacea อันดับ Decapoda มีหลายวงศ์
หายใจด้วยเหงือก ลาตัวยาว แบนหรือกลม แบ่งเป็นปล้องๆ เปลือกที่หุ้มท่อนหัวและ
อกก้ามและขาอยู่ที่ส่วนหัวและอก มี 10ขา มีทั้งในน้าจืดและน้าเค็ม]
2.อาชีพ หมายถึง การเลี้ยงชีวิต,การทามาหากิน
บทที่2
เอกสำรที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มของข้าพเจ้าได้ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนี้โดยแบ่งการศึกษาเป็น 3ประการ ดังนี้
หัวข้อย่อยที่ 1 สืบค้นเรื่อง “การเลี้ยงกุ้ง ”
หัวข้อย่อยที่ 2 สืบค้นเรื่อง “ปัญหาในการเลี้ยงกุ้ง ”
หัวข้อย่อยที่ 3 สืบค้นเรื่อง “ผลผลิตที่ได้จากการเลี้ยงกุ้ง ”
มีข้อมูลที่ได้ คือ
1. กำรเลี้ยงกุ้ง
ภำพที่ 1ฟำร์มเลี้ยงกุ้ง
กำรเลี้ยง
ปกติจะปล่อยลูกกุ้งขนาดลาตัวยาว ๑-๒ เซนติเมตร ซึ่งยังเป็นขนาดเล็ก
หากคนที่ไม่เคยสังเกตมาก่อนจะไม่รู้เลยว่าลูกกุ้งก้ามกรามต่างกับกุ้งฝอยอย่างไร
จึงมักมีข่าวอยู่เสมอว่าซื้อลูกกุ้งก้ามกรามไปปล่อยแล้วกลายเป็นกุ้งฝอย
ฉะนั้นจึงขอแนะวิธีสังเกตลูกกุ้งก้ามกรามกับกุ้งฝอยดังตารางข้างล่างนี้ถ้าเลี้ยงในกระชังไม้หรือที่ล้อมขัง ควรจะ
ปล่อยกุ้งที่มีขนาดใหญ่กว่าขนาดดังกล่าว คือ กุ้งจะต้องมีขนาดลาตัวยาวไม่น้อยกว่า ๒นิ้ว
กำรขนส่งลูกกุ้ง
ตามปกติจะบรรจุลงในถุงพลาสติกขนาด ๔๕x๗๕ เซนติเมตร ใส่น้าประมาณ ๓-๕ลิตร บรรจุลูกกุ้ง
๑,๕๐๐-๒,๐๐๐ ตัว (ขนาด ๑.๒-๒ เซนติเมตร) เดินทางในระยะไม่เกิน ๖ชั่วโมง
ถ้าจะต้องเดินทางไกลกว่านี้ หรือลูกกุ้งมีขนาดใหญ่จะต้องบรรจุลูกกุ้งน้อยกว่านี้ หรือลดอุณหภูมิให้อยู่ในระดับ
๒๐-๒๔ องศาเซลเซียส จะทาให้ลูกกุ้งมีโอกาสรอดมากขึ้น โดยใช้น้าแข็งใส่ข้างๆ ถุง
ข้อสาคัญในขณะลาเลียงอย่าให้ถุงกุ้งก้ามกรามถูกแดดหรือให้น้าอุ่นเป็นอันขาด
เพราะจะทาให้ลูกกุ้งใช้ออกซิเจนมากขึ้นและออกซิเจนในถุงหมดเร็ว
เมื่อถึงปลายทางลูกกุ้งจะอ่อนแอจมอยู่ก้นถุงและตายได้
ฉะนั้นเมื่อปล่อยลงบ่อหากไม่ได้ตรวจแล้วบางทีอาจเหลืออยู่ไม่กี่ตัว
อัตรำกำรปล่อยลูกกุ้ง
ก่อนปล่อยลูกกุ้งต้องสูบน้าเข้าบ่อไว้ก่อน
๑ วัน ถ้าเป็นบ่อใหม่ไม่ควรสูบน้าใส่บ่อนานเพราะจะทาให้แมลงปอมาไข่และเกิดตัวอ่อน
ซึ่งสามารถจับลูกกุ้งกินได้
ถ้าเป็นบ่อเก่าที่เลี้ยงอยู่แล้ว ควรใช้อวนมุ้งไนล่อนสีฟ้ากั้นเป็นคอกภายในบ่อไว้ส่วนหนึ่งสาหรับอนุบาลลูกกุ้งร
ะยะหนึ่ง ประมาณ ๑ เดือน
ในกรณีที่เลี้ยงกุ้งอย่างเดียวและมีน้าถ่ายเทดี ควรปล่อยกุ้งในอัตราส่วน ๑๕-๓๐ ตัวต่อตารางเมตร
เมื่อกุ้งมีอายุได้ประมาณ ๒-๓ เดือน จึงคัดกุ้งที่มีขนาดใกล้เคียงกันไปเลี้ยงในบ่อเดียวกัน ในอัตราส่วน ๕-๑๐
ตัวต่อตารางเมตร ซึ่งจะทาให้กุ้งในบ่อที่เลี้ยงหลังจากการคัดขนาดแล้ว มีอัตราการเจริญเติบโตที่ใกล้เคียงกัน
ถ้าน้าถ่ายเทไม่มากต้องลดจานวนลงเหลือ ๓-๕ตัวต่อตารางเมตร
จากการสารวจผู้เลี้ยงกุ้งในจังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดฉะเชิงเทรา ที่ปล่อยกุ้งในอัตราส่วน ๕-
๑๐ ตัวต่อตารางเมตร จะได้ผลิตผล ๑๕๐-๒๐๐ กิโลกรัมต่อไร่ ในระยะ ๗-๘ เดือน
ถ้าปล่อยกุ้งแน่นเกินไปกุ้งจะโตช้า
ในกรณีที่ใช้วิธีทยอยจับกุ้งโตออกตลอดปี ควรปล่อยกุ้งเป็นระยะทุก ๓-๔ เดือน
ในจานวนที่มากกว่ากุ้งที่จับออก ๓ เท่าเช่น ถ้าจับกุ้งใหญ่ขาย ๑,๐๐๐ ตัว ในระยะ ๔ เดือน
ก็ต้องปล่อยกุ้งเล็กลงไปแทนประมาณ ๓,๐๐๐ ตัว เป็นต้น
ในกรณีที่เลี้ยงรวมกับปลา อาจปล่อยกุ้งได้น้อย คือ ไม่เกิน ๕ ตัวต่อตารางเมตร ปลาที่เลี้ยงรวมกับกุ้งได้ คือ
ปลาที่กินพืช เช่น ปลาสลิดและปลาจาพวกปลาจีน ได้แก่ปลาลิ่น ปลาซ่ง และปลาเฉา ในอัตราไม่เกิน ๔๐
ตัวต่อไร่ สาหรับปลาจีนสามารถปล่อยเลี้ยงได้ ๒รุ่นในรอบปี
อย่างไรก็ดีมีข้อพิจารณาว่าถ้าต้องการเลี้ยงกุ้งเพื่อธุรกิจการค้าแล้วควรเลี้ยงกุ้งเพียงอย่างเดียว
ทั้งนี้เพราะการปล่อยปลาลงเลี้ยงรวมด้วยจะมีปัญหาตามมา ๒ ประการ คือ ปลาแย่งอาหารกุ้ง
ทาให้เสียค่าอาหารเพิ่มขึ้น
และปลาจะรบกวนในขณะใช้อวนลากกุ้ง นอกจากนี้ การเลี้ยงปลารวมกับกุ้งยังได้ผลิตผลต่ากว่าการเลี้ยงกุ้งอย่า
งเดียว
ในบางแห่งนิยมเลี้ยงปลากินยุงไว้ให้แพร่พันธุ์ในบ่อกุ้ง
ทั้งนี้เพราะปลากินยุงกินอยู่บนผิวน้าจึงใช้กาจัดตัวอ่อนของแมลงผิวน้าและแมลงปอ ซึ่งชอบกินลูกกุ้ง
ปลาชนิดนี้มีขนาดใหญ่ไม่เกิน ๒ นิ้ว กินลูกกุ้งไม่ได้ แต่กุ้งจับเป็นอาหารได้หรือถ้ามีมากๆ
ก็บดให้กุ้งกินเป็นอาหาร จึงควรเลี้ยงไว้ในบ่อกุ้ง
ภำพที่ 2กำรให้อำหำรกุ้ง
อำหำรและกำรให้อำหำร
ส่วนประกอบของอำหำร กุ้งเป็นสัตว์ที่กินอาหารไม่เลือก ทั้งซากสัตว์และเมล็ดพืช
กุ้งหากินในเวลากลางคืนตามพื้นก้นบ่อ ฉะนั้นอาหารที่ใช้เลี้ยงกุ้งในบ่อจึงได้แก่เนื้อปลาสด เนื้อหอย
และอาหารผสมบดและอัดเม็ดตากแห้ง และเนื่องจากกุ้งกินอาหารช้า อาหารผสมจึงควรจมอยู่ในน้าได้นาน
ไม่ละลายน้าเร็ว อย่างน้อยจะต้องคงรูปอยู่ได้นานไม่ต่ากว่า ๓ ชั่วโมง ส่วนผสมของอาหารควรมีโปรตีนร้อยละ
๒๐-๓๐ และมีอัตราส่วนผสมโดยน้าหนัก ดังนี้
ปัจจุบันนี้มีอาหารเม็ดสาเร็จรูปขายเป็นถุงมีปริมาณบรรจุถุงละ ๒๐-๒๕ กิโลกรัม ในราคากิโลกรัมละประมาณ
๑๐ บาท นับว่าสะดวกดี
กำรให้อำหำร สาหรับกุ้งเล็กที่มีขนาด ๑-๒ เซนติเมตร
ที่เลี้ยงในบ่อดิน เริ่มให้อาหารตั้งแต่วันแรกที่ปล่อยลูกกุ้งลงเลี้ยงประมาณ ๑/๒ กิโลลกรัมต่อจานวนกุ้ง ๑๐,๐๐๐
ตัวต่อวัน หว่านให้กินวันละ ๒ ครั้ง เช้าและเย็นและให้เพิ่มอีกประมาณร้อยละ ๓๐-๕๐
ของน้าหนักอาหารเดิมต่อทุก ๒ สัปดาห์ จนอายุประมาณ ๔ เดือน จึงให้เพิ่มในอัตราร้อยละ ๒๕-๓๐
ของน้าหนักอาหารเดิมต่อทุก ๓-๔ สัปดาห์ โดยลดจานวนครั้งเหลือเพียงครั้งเดียวในเวลาเย็น
ในการพิจารณาให้อาหารเรามีวิธีการพิจารณาดังนี้ ถ้าเป็นกุ้งเล็กต่ากว่า ๑๐๐
ตัวต่อกิโลกรัมให้อาหารประมาณร้อยละ ๑๐-๑๒ ของน้าหนักกุ้ง ถ้าเป็นกุ้งขนาด๕๐-๘๐
ตัวต่อกิโลกรัมให้อาหารประมาณร้อยละ ๕-๘ ของน้าหนักกุ้ง ถ้ากุ้งใหญ่กว่านี้ให้อาหารประมาณร้อยละ ๑-๓
ของน้าหนักกุ้ง ถ้าเป็นอาหารสดจะต้องให้มากกว่านี้ประมาณ ๓-๕
เท่า อาหารเม็ดแห้งต้องใช้ประมาณ ๓ กิโลกรัม จึงจะเทียบได้กับอัตราส่วนน้าหนักกุ้ง ๑ กิโลกรัม
ราคาอาหารเม็ดกิโลกรัมละประมาณ ๘-๑๐ บาท เพราะฉะนั้นค่าใช้จ่ายสาหรับอาหารที่ใช้เลี้ยงกุ้งประมาณ ๓๐-
๔๐ บาทต่อน้าหนักกุ้ง ๑ กิโลกรัม โดยมีอัตรารอดตายประมาณร้อยละ ๓๐-๔๐
ปัญหำในกำรเลี้ยงกุ้ง
ปัญหาสาคัญที่พบเสมอในการเลี้ยงกุ้ง ซึ่งไม่ใช่โรคและศัตรูแต่ทาให้เกิดความเสียหาย มีดังนี้
๑. การขาดแคลนออกซิเจนในบ่อ มักเป็นกับบ่อที่เลี้ยงกุ้งไว้หลังจากอายุ ๔ เดือนเป็นต้นไป
โดยเฉพาะในฤดูร้อนน้าน้อยและวันที่มีอากาศครึ้ม อบอ้าว อาการที่แสดงว่าขาดออกซิเจน คือ
ในตอนเช้ามืดกุ้งจะขึ้นมาปรากฏอยู่ที่ขอบบ่อมากผิดปกติ บางตัวอาจจะกระโดดขึ้นมาบนตลิ่ง
ซึ่งแสดงว่ามีออกซิเจนในน้าต่ากว่า ๑.๕ ส่วนในล้าน ต้องรีบแก้ไข มิฉะนั้น กุ้งอาจตายหมดบ่อ
การแก้ไขกระทาโดยสูบน้าเข้าทันทีพร้อมทั้งให้อากาศ หรือใช้เครื่องตีน้าเพิ่มออกซิเจนในเวลากลางคืน
ปริมาณออกซิเจนในบ่อควรให้มีไม่ต่ากว่า ๓ ส่วนในล้าน
๒. กุ้งไม่โตเนื่องจากกุ้งไม่ลอกคราบ จะปรากฏลักษณะคล้ายตะไคร่น้าจับที่เปลือกกุ้ง ทาให้กุ้งผอม
น้าหนักเบาสาเหตุเนื่องจากให้อาหารน้อยและอาหารมีคุณค่าไม่เพียงพอ หรือให้อาหารมากเกินไป
ซึ่งทาให้ดินและน้าในบ่อเกิดการเน่าเสีย วิธีป้องกันคือ ไม่ปล่อยกุ้งลงเลี้ยงจนแน่นบ่อ ต้องถ่ายน้าบ่อยๆ
หรือใส่โล่ติ๊นหรือกากเมล็ดชาในอัตราส่วนตามที่กล่าวมาแล้ว
นอกจากปัญหาดังกล่าวแล้วยังพบปัญหาอื่นอีก คือ กุ้งก้ามโตแต่ตัวเล็กที่เรียกว่า
"กุ้งจิ๊กโก๋" ปัญหานี้เกิดจากความไม่สมดุลของจานวนกุ้งในบ่อ กล่าวคือ มีกุ้งตัวผู้น้อยกว่ากุ้งตัวเมียหลายเท่า
ทาให้กุ้งตัวผู้เสียพลังงานไปกับการผสมพันธุ์ อันเป็นเหตุให้กุ้งตัวผู้แคระแกร็น ไม่สมส่วน
สามารถแก้ไขได้โดยการจับตัวเมียออกให้เหลือจานวนใกล้เคียงกับตัวผู้
โรคและศัตรู
การเลี้ยงกุ้งในบ่อไม่ค่อยมีปัญหาเกี่ยวกับโรคมากนัก เท่าที่พบเป็นโรคที่ไม่รุนแรง ได้แก่
๑.โรคเหงือกดา เกิดจากเชื้อบัคเตรีจับที่เหงือก มองเห็นเป็นสีดา ทาให้กุ้งหายใจไม่สะดวก
สาเหตุเกิดจากพื้นบ่อมีการหมักหมม น้ามีออกซิเจนต่า วิธีป้องกันและแก้ไข คือ
เปลี่ยนน้าแล้วย้ายกุ้งไปเลี้ยงในบ่อซึ่งเตรียมใหม่ให้ลอกคราบ เชื้อบัคเตรีที่จับอยู่ก็จะหลุดหายไป
๒.โรคเปลือกเน่า เกิดจากเชื้อบัคเตรีทาให้ขอบหรือปลายเหงือกมีสีดาและขาดหายไป
ถ้าเกิดที่ปลายขาจะทาให้ขากุด โรคนี้จะค่อยๆ ลุกลามไป ทาให้กุ้งเกิดการระคายเคือง
ไม่กินอาหารและตายในที่สุด สาเหตุเกิดจากการเลี้ยงกุ้งหนาแน่นและเปลี่ยนน้าไม่เพียงพอ
๓. ศัตรู ศัตรูของกุ้งที่เลี้ยงในบ่อมีหลายชนิด เช่นนกเป็ดน้า นกยาง กบ เต่า งูปลากินเนื้อทุกชนิด
โดยเฉพาะปลาช่อน แม้ขนาดเล็กก็สามารถกินลูกกุ้งได้ เมื่อจับได้จะพบลูกกุ้งอยู่ในท้องเสมอ
จึงเป็นปลาที่มีอันตรายและป้ องกันยากมากชนิดหนึ่ง เพราะสามารถกระโดดข้ามขอบบ่อได้และมีอยู่ทุกแห่ง
ส่วนปลาอื่นๆ ที่ไม่กินลูกกุ้งโดยตรงก็จะแย่งอาหาร
ทาให้เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น การป้องกันทาได้โดยใช้อวนมุ้งไนล่อนกั้นรอบบ่อและกรองน้าก่อนปล่อยเข้าบ่อกุ้ง เ
พื่อป้องกันไข่และลูกปลา สาหรับการกาจัดปลานั้นทาได้โดยสูบน้าออกให้เหลือประมาณ ๕๐ เซนติเมตร
แล้วจึงใช้กากเมล็ดชาป่น แช่น้าในอัตรา ๒๕-๓๐ กรัมต่อน้า ๑ ตัน หรือใช้โล่ติ๊นสดในอัตรา ๑ กิโลกรัมต่อน้า
๑๐๐ ตัน ทุบโล่ติ๊นแช่น้า ๑ คืนแล้วสาดให้ทั่วบ่อ ปลาจะตายหมดแต่กุ้งไม่ตาย
หลังจากนั้นจึงสูบน้าให้เข้าไปเท่าเดิม
ภำพที่ 3กุ้งตัวขนำดโตพอที่จะจำหน่ำยได้
ผลิตผล
กุ้งที่เลี้ยงควรจะใช้เวลาไม่น้อยกว่า ๗ เดือน ควรจับเมื่อตัวผู้มีน้าหนักไม่ต่ากว่า ๘๐ กรัม
และตัวเมียไม่ควรต่ากว่า ๕๐ กรัม
ปริมาณผลิตผลนั้นไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่างคือ การจัดการแหล่งน้าและอาหาร
ในต่างประเทศ เช่น ที่ฮาวายได้ผลิตผลสูงกว่า ๔๐๐ กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี
สาหรับในบ้านเราเท่าที่มีผู้เลี้ยงมาจะได้ผลิตผลประมาณ ๑๕๐-๒๕๐ กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี
กำรจับกุ้ง
ในการจับกุ้งนั้นเราควรพิจารณาปัจจัย ๒ประการ คือ ขนาดที่ตลาดต้องการ
และขนาดที่กุ้งเจริญเติบโตถึงจุดอิ่มตัว
ผู้เลี้ยงย่อมทราบดีว่ากุ้งโตไม่เท่ากัน ยิ่งเลี้ยงไปตัวผู้ยิ่งโตกว่าตัวเมียเมื่ออายุประมาณ ๘-๑๒
เดือน ตัวผู้จะโตกว่าตัวเมียประมาณ ๒ เท่าจากการสังเกตการเลี้ยงกุ้งก้ามกรามในบ่อพบว่า
ควรจับกุ้งเมื่อตัวผู้มีขนาด ๘-๑๐ ตัวต่อกิโลกรัมและตัวเมียมีขนาด ๑๕-๑๘ ตัวต่อกิโลกรัม
ซึ่งเป็นระยะที่กุ้งก้ามกรามในบ่อมีอัตราการเจริญเติบโตเร็วที่สุด ถ้าพ้นจากนี้ไปจะโตช้า
สาหรับการจับกุ้งนั้นทาได้ ๒ วิธี คือ จับเป็นครั้งคราวโดยใช้อวนไนล่อน และจับโดยการสูบน้าออกหมดบ่อ
ในการเลี้ยงกุ้งเพื่อเป็นธุรกิจนั้น ควรจับกุ้งโดยใช้อวนจะเหมาะกว่าวิธีอื่น ทั้งนี้เพราะกุ้งโตไม่เท่ากัน
การใช้อวนทาให้สามารถเลือกจับกุ้งที่โตออกขายก่อน กุ้งไม่บอบช้า ช่วยให้ได้ราคาดี
และประหยัดทั้งกาลังคนและอุปกรณ์ อย่างไรก็ตาม ไม่ควรจับกุ้งที่กาลังลอกคราบหรือเพิ่งลอกคราบใหม่ๆ
เปลือกยังนิ่ม เพราะจะเกิดบาดแผลง่ายทาให้เน่าเสียเร็ว และไม่ควรจับกุ้งขังไว้ค้างคืน
เพราะจะทาให้กุ้งได้รับความเสียหายเนื่องจากกุ้งลอกคราบ ประมาณร้อยละ ๕-๑๐
และส่วนมากจะถูกกุ้งตัวอื่นกิน เหลือบางส่วนเท่านั้น
อวนที่ใช้จับกุ้งก้ามกรามในบ่อควรใช้อวนไนล่อน ที่มีขนาดตากว้าง ๑.๒-๑.๕ นิ้ว เส้นอวนเบอร์ ๑๗
ยาวไม่น้อยกว่าความกว้างของบ่อ และลึกเป็น ๓ เท่าของความลึกของน้า ใช้ลากไปตามความยาวของบ่อ
วิธีนี้จะจับกุ้งขนาดน้าหนักไม่ต่ากว่าตัวละ ๕๐ กรัม
ส่วนกุ้งขนาดเล็กจะลอดไปได้ ทาให้สามารถคัดเอากุ้งที่มีขนาดที่ต้องการได้ในเวลารวดเร็ว และกุ้งไม่บอบช้า
ส่วนวิธีสูบน้าออกจนหมดบ่อแล้วจึงจับนั้น ควรทาเมื่อกุ้งเหลือน้อยและต้องการจะล้างบ่อ
เพราะเมื่อสูบน้าออกแล้วจะมีกุ้งขนาดเล็กอยู่จานวนหนึ่งซึ่งยังจาหน่ายไม่ได้ จาเป็นจะต้องเลี้ยงต่อไป
การจับโดยวิธีสูบน้าออกหมดนี้จะทาให้กุ้งบอบช้ามาก
การเลี้ยงกุ้งก้ามกรามในเชิงการค้านั้น มีปัญหาหลายประการ เช่น
ผลิตผลต่าเนื่องจากธรรมชาติของกุ้งชอบกินกุ้งด้วยกัน มีอัตราการเจริญเติบโตช้า
และมีปัญหาเกี่ยวกับแหล่งน้าที่ใช้เลี้ยง
บทที่3
วิธีดำเนินกำรศึกษำ
ข้าพเจ้าได้ออกแบบ วางแผน ในการเก็บข้อมูล รวบรวมข้อมูล ดังนี้
1. กาหนดจุดมุ่งหมาย /แหล่งที่มาของข้อมูล
2. เลือกวิธีเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้
2.1 การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสังเกต เช่น การสังเกตจากหนังสือ ใบความรู้ต่างๆที่ได้รับมา
2.2 การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสอบถาม
- โดยการสัมภาษณ์เป็นส่วนตัว เช่น การซักถามพูดคุยโต้ตอบกัน
- โดยการส่งแบบข้อมูลทางไปรษณีย์
- โดยการลงทะเบียน ซึ่งเป็นวิธีตามกฎหมายโดยการบันทึกข้อมูลลงในทะเบียน
3. นาเสนอข้อมูลที่ได้รวบรวม
บทที่ 4
ผลกำรศึกษำ
การเลี้ยงกุ้งก้ามกรามทาได้หลายวิธี เช่น เลี้ยงในกระชัง เลี้ยงในคอกเฝือก หรือที่ล้อมขังในร่องสวน
และในบ่อ แต่ถ้าจะเลี้ยงให้ได้ผลจริงจังแล้ว ควรเลี้ยงในบ่อดิน
ปัญหาที่สาคัญที่สุดในการเลี้ยงกุ้งก้ามกราม คือ น้า ดังนั้น ในการพิจารณาสถานที่ที่จะเลี้ยงกุ้ง
จึงต้องพิจารณาหาแหล่งน้าที่มีอยู่ใกล้ๆ เช่นแม่น้า ลาธาร
คลองที่มีน้าไหลผ่านตลอดปีและน้านั้นจะต้องมีคุณภาพดี มีค่าความเป็นกรด-ด่างระหว่าง ๗.๕-
๘.๕ ปลอดสารพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม และดินจะต้องสามารถเก็บกักน้าได้
ไม่ควรเป็นดินทรายหรือดินที่มีทรายเกินกว่าร้อยละ ๓๐ เพราะจะมีปัญหาในการเก็บกักน้าในฤดูแล้ง
ซึ่งถ้าจะแก้ไขจะต้องลงทุนสูง อีกประการหนึ่งที่จะต้องพิจารณาด้วย คือ ทางคมนาคม
ถ้าอยู่ใกล้ทางคมนาคมติดต่อสะดวก การขนส่งไม่ทาให้ลูกกุ้งบอบช้ามาก สามารถจับกุ้งส่งตลาดได้รวดเร็ว
กุ้งไม่เสื่อมคุณภาพและราคาไม่ตก ในบางแห่งอาจใช้น้าบาดาลเลี้ยงกุ้งก็ได้แต่ต้องลงทุนสูง
สาหรับการเลี้ยงในร่องสวนหรือในที่ล้อมขังที่มีน้าอยู่แล้วและไม่สามารถสูบน้าออกหมดได้
ก่อนปล่อยกุ้งต้องฆ่าปลาที่มีอยู่เดิมออกให้หมด มิฉะนั้นปลาเหล่านี้อาจแย่งอาหารหรือกินลูกกุ้งได้
โดยใช้รากโล่ติ๊นสดทุบแช่น้าไว้ ๑ คืน แล้วขยาให้ยางซึ่งมีสีขาวเหมือนน้านมออกให้มากที่สุด
แล้วสาดลงในน้าให้ทั่วในอัตราส่วนโล่ติ๊นสด ๑ กิโลกรัมต่อน้า ๑๐๐ ลูกบาศก์เมตร
หรือกากเมล็ดชาป่นในอัตรา ๒๕-๓๐ กรัมต่อน้า ๑ ลูกบาศก์เมตร หรือจะใช้โซเดียมไซยาไนด์ (Sodium
cyanide) ในอัตราส่วน ๑-๓ กรัมต่อน้า ๑ ตัน แต่การใช้โซเดียมไซยาไนด์ค่อนข้างเป็นอันตราย
ต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง หลังจากนั้นปลาใหญ่น้อยจะแสดงอาการสาลักน้า
ว่ายน้าผิดปกติขึ้นมาที่ผิวน้าหรือขอบๆ บ่อ ต้องรีบจับก่อนจะจมลงไปเน่าเสียหมด
สาหรับบ่อเก่าที่สูบน้าทิ้งจนแห้งโดยทั่วๆ ไปแล้วจะโรยปูนขาว ในอัตราไร่ละ ๑๕๐-๒๐๐ กิโลกรัม
ควรตรวจวัดความเป็นกรด-ด่าง
ของดินที่พื้นบ่อเสียก่อน แล้วจึงคานวณปริมาณปูนขาวที่จะใส่ ซึ่งเป็นวิธีที่ถูกต้องที่สุด แล้วปล่อยทิ้งไว้สัก ๗
วัน จึงปล่อยน้าเข้าและเลี้ยงกุ้งได้ทันที
ถ้าเป็นบ่อเก่าหรือร่องสวนที่มีอยู่เดิมให้ปรับแต่งคันบ่อให้สูงพ้นระดับน้าท่วม ถ้าก้นบ่อมีดินเลนต้องขุดลอกออ
ก แล้วตากบ่อและโรยปูนขาวดังที่กล่าวมาแล้ว
ถ้าเป็นที่ใหม่ยังไม่ได้ขุดบ่อจะต้องวางผังให้ถูกต้อง ประการแรกจะต้องตรวจสอบระดับดินว่าพื้นเรียบและน้าท่
วมหรือไม่ เพื่อจะได้กาหนดระดับขอบคันบ่อให้พ้นน้าไว้ การวางผังบ่อจะต้องให้ด้านยาวมากกว่าด้านกว้าง
และยาวไปตามทิศทางของลม คือจากเหนือไปใต้ ขนาดของบ่อไม่ควรจะเล็กหรือใหญ่เกินไป ควรมีขนาด ๑-๕
ไร่กว้าง ๒๕-๓๐ เมตร เพราะถ้าเล็กเกินไปจะเลี้ยงกุ้งได้น้อย ระดับความลึก ๘๐-๑๐๐ เซนติเมตร
ให้คันบ่อมีความลาด ๑:๒ หรือ ๑:๓ ถ้าไม่เป็นดินเหนียว ความกว้างบนคันบ่อไม่ควรต่ากว่า ๓ เมตร
พร้อมทั้งบดอัดคันบ่อให้แน่น เพื่อป้องกันน้ารั่วซึม และใช้ปลูกต้นไม้เป็นร่มเงาได้
ขอบบ่อควรปลูกหญ้าคลุมดินเพื่อป้ องกันคันดินขอบบ่อพัง ตรงท้ายบ่อควรปักไม้ไผ่หรือปลูกพืชลอยน้า เช่น
ผักบุ้ง หรือผักตบชวาไว้รอบๆ เพื่อลดการปะทะของคลื่นลมและเป็นที่หลบซ่อนของกุ้งด้วย
แต่ละบ่อจะต้องมีประตูน้าสาหรับระบายน้าออก และมีท่อส่งน้าเข้าบ่อทุกบ่อเป็นอิสระ
ท่อส่งน้าสาหรับบ่อขนาด ๑-๒ ไร่ควรมีเส้นผ่าศูนย์กลางไม่น้อยกว่า ๖ นิ้ว และประตูน้ามีขนาดกว้าง ๐.๘๐-
๑.๒๐ เมตร จะต้องทาร่องเพื่อใส่ตะแกรงไว้ป้องกันไม่ให้ลูกกุ้งออกและลูกปลาเข้าในขณะระบายน้าออก
นอกจากจะต้องถมคันบ่อด้านนอกสุดให้สูงเพื่อป้องกันน้าท่วมแล้ว ยังต้องใช้ตาข่ายไนล่อนสีฟ้าหรือเฝื
อกกั้นรอบบ่อทั้งนี้เพื่อป้องกันปลาหรือสัตว์เลื้อยคลานอื่นที่จะไปกินกุ้งในบ่อ
สาหรับด้านท้ายบ่อจะต้องขุดคูเพื่อระบายน้าออกจากบ่อด้วย
ถ้าใช้น้าจากธรรมชาติเลี้ยงกุ้งจะทุ่นค่าใช้จ่ายมาก
โดยเฉพาะถ้าใช้น้าธรรมชาติจากลาธารหรือคลองส่งน้าที่มีระดับสูงกว่าระดับบ่อ เช่น
การเลี้ยงกุ้งบางแห่งในจังหวัดภาคเหนือซึ่งได้น้าจากลาธารธรรมชาติทดไหลเข้าบ่อเองโดยไม่ต้องใช้เครื่องสูบ
น้าแต่ถ้าหาทาเลที่ดีดังกล่าวไม่ได้ก็จาเป็นต้องใช้เครื่องสูบน้าหรือกังหันลมโดยปกติบ่อขนาด ๑ ไร่ ถ้าอยู่ในที่โ
ล่งมีความชื้นต่า น้าจะระเหยวันละประมาณ ๒๐ ตัน ในกรณีที่น้าไม่รั่วซึม แต่บางแห่งที่เป็นดินทราย
น้าอาจซึมหายไปมากกว่านี้ ฉะนั้นปริมาณน้าที่ใช้ทั้งหมดสาหรับบ่อขนาด ๒ ไร่จานวน ๕ บ่อ ประมาณ ๒๐๐
ตันต่อวัน ดังนั้น จะต้องใช้เครื่องสูบน้าที่มีกาลังพอที่จะสูบน้าได้วันละไม่ต่ากว่า ๒๐๐ ตันต่อวัน
น้าที่ใช้เลี้ยงกุ้งจะต้องกรองเสียก่อน โดยใช้ถุงผ้ากรองไนล่อนหรือตะแกรงลวดไร้สนิม
ขนาดตาถี่ไม่น้อยกว่า ๖๐ ตาต่อนิ้ว กรองน้าดังกล่าว และต้องหมั่นทาความสะอาด มิฉะนั้น ตะแกรงจะอุดตัน
บทที่5
สรุปและอภิปรำยผลกำรศึกษำ
สรุปผลกำรศึกษำ
การทารายงานเรื่อง อาชีพเลี้ยงกุ้ง ผลปรากฏว่า ทาให้เราทราบวีธีการเลี้ยงกุ้ง ปัญหาการเลี้ยงกุ้ง
และผลตอบแทนการเลี้ยงกุ้งมากขึ้นกว่าเมื่อก่อน
ประโยชน์ที่ได้รับ
1. ช่วยให้เราทราบวิธีการเลี้ยงกุ้ง ปัญหาและผลตอบแทนที่ได้จากการเลี้ยงกุ้ง
2. สามารถศึกษาข้อมูลการเลี้ยงกุ้งได้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น
3. ทาให้คนหลายๆคนได้ทราบว่า “ การเลี้ยงกุ้ง ” มีวิธีการเลี้ยงอย่างไร
ข้อเสนอแนะ
1. การศึกษาเรื่อง “อาชีพเลี้ยงกุ้ง ”สามรถทาให้เราทราบถึงข้อมูลต่างๆที่ทาให้กุ้งตายในช่วง 4-6เดือน
ว่ามาจากสาเหตุใดบ้าง
2. ใ น การศึ กษาเราไม่อาจท ราบ ว่า ข้อมูลที่ ได้มาเป็ น ข้อเท็ จจริ ง ห รื อไม่ ดังนั้ น
จึงต้องสอบถามผู้รู้หรือผู้ที่สามารถหาคาปรึกษาได้
3. ในการศึกษาเราต้องตั้งใจและเข้าใจเนื้อหาที่สืบค้นมาได้อย่างแท้จริง เพื่อที่จะได้อธิบายให้ผู้อี่นได้
ภำคผนวก
ภำพที่ 4กำรเตรียมบ่อเลี้ยงกุ้ง
ภำพที่ 5กำรบรรจุลูกกุ้งลงในถุงพลำสติกเพื่อขนส่งไปปล่อยในบ่อเลี้ยง
ภำพที่ 6 กุ้งก้ำมกรำมขนำดใหญ่อำยุ ๔ - ๖ เดือน ตำยด้วยอำกำรต่ำง ๆเช่น ขำเดินมีสีน้ำตำลตัวแดง
ภำพที่ 7เครื่องเป่ำอำกำศเพื่อช่วยเพิ่มออกซิเจนในน้ำ
ภำพที่ 8กำรจับกุ้งเพื่อนำไปจำหน่ำย

More Related Content

Viewers also liked

Africa 2 nairobi-kenya-(catherine)
Africa 2 nairobi-kenya-(catherine)Africa 2 nairobi-kenya-(catherine)
Africa 2 nairobi-kenya-(catherine)Catherine Dewilde
 
Instrumentos de evaulacion
Instrumentos de evaulacionInstrumentos de evaulacion
Instrumentos de evaulacionEdgar68
 
Geotub panel - COFRAJ REFOLOSIBIL PENTRU COLOANE DREPTE
Geotub panel - COFRAJ REFOLOSIBIL PENTRU COLOANE DREPTEGeotub panel - COFRAJ REFOLOSIBIL PENTRU COLOANE DREPTE
Geotub panel - COFRAJ REFOLOSIBIL PENTRU COLOANE DREPTEREDA SRL
 
Outra vez, é natal
Outra vez, é natalOutra vez, é natal
Outra vez, é natal
Helio Cruz
 
Matemática
MatemáticaMatemática
Matemática
Kátia Santos
 
Floram
FloramFloram
Parabéns!!
Parabéns!!Parabéns!!
Parabéns!!
Eliete Arruda
 
Approach to Responsive Web Design - Part 1
Approach to Responsive Web Design - Part 1Approach to Responsive Web Design - Part 1
Approach to Responsive Web Design - Part 1
Hải Trần
 
祝端午節快樂
祝端午節快樂祝端午節快樂
祝端午節快樂Jaing Lai
 
各國的特色
各國的特色各國的特色
各國的特色Jaing Lai
 
My memories
My memoriesMy memories
My memories
Yabniel Lit Jingga
 
Diagramas de-actividades
Diagramas de-actividadesDiagramas de-actividades
Diagramas de-actividades
Julio Parra
 
Gi u7 t2_aa1_oswaldo q m
Gi u7 t2_aa1_oswaldo q mGi u7 t2_aa1_oswaldo q m
Gi u7 t2_aa1_oswaldo q m
Oswaldo Quintero Muñoz
 
[Creategies] Os segredos para a expansão do seu escritório de advocacia.
[Creategies] Os segredos para a expansão do seu escritório de advocacia.[Creategies] Os segredos para a expansão do seu escritório de advocacia.
[Creategies] Os segredos para a expansão do seu escritório de advocacia.
creategies
 
Siamo tutti colpevoli e chi chiude gli occhi lo è anche di più!!
Siamo tutti colpevoli e chi chiude gli occhi lo è anche di più!!Siamo tutti colpevoli e chi chiude gli occhi lo è anche di più!!
Siamo tutti colpevoli e chi chiude gli occhi lo è anche di più!!
Rossella Beltempo
 
Herramientas de calculo matemático antiguo
Herramientas de calculo matemático antiguoHerramientas de calculo matemático antiguo
Herramientas de calculo matemático antiguo
esteban-gomez
 
[Creategies] Advogado: impulsione os lucros do seu escritório.
[Creategies] Advogado: impulsione os lucros do seu escritório.[Creategies] Advogado: impulsione os lucros do seu escritório.
[Creategies] Advogado: impulsione os lucros do seu escritório.
creategies
 
Art auguste rodin (catherine)
Art auguste rodin  (catherine)Art auguste rodin  (catherine)
Art auguste rodin (catherine)
Catherine Dewilde
 
Z4501149153
Z4501149153Z4501149153
Z4501149153
IJERA Editor
 

Viewers also liked (20)

Africa 2 nairobi-kenya-(catherine)
Africa 2 nairobi-kenya-(catherine)Africa 2 nairobi-kenya-(catherine)
Africa 2 nairobi-kenya-(catherine)
 
Instrumentos de evaulacion
Instrumentos de evaulacionInstrumentos de evaulacion
Instrumentos de evaulacion
 
Geotub panel - COFRAJ REFOLOSIBIL PENTRU COLOANE DREPTE
Geotub panel - COFRAJ REFOLOSIBIL PENTRU COLOANE DREPTEGeotub panel - COFRAJ REFOLOSIBIL PENTRU COLOANE DREPTE
Geotub panel - COFRAJ REFOLOSIBIL PENTRU COLOANE DREPTE
 
Outra vez, é natal
Outra vez, é natalOutra vez, é natal
Outra vez, é natal
 
Matemática
MatemáticaMatemática
Matemática
 
Floram
FloramFloram
Floram
 
Parabéns!!
Parabéns!!Parabéns!!
Parabéns!!
 
Approach to Responsive Web Design - Part 1
Approach to Responsive Web Design - Part 1Approach to Responsive Web Design - Part 1
Approach to Responsive Web Design - Part 1
 
祝端午節快樂
祝端午節快樂祝端午節快樂
祝端午節快樂
 
洋茶壺
洋茶壺洋茶壺
洋茶壺
 
各國的特色
各國的特色各國的特色
各國的特色
 
My memories
My memoriesMy memories
My memories
 
Diagramas de-actividades
Diagramas de-actividadesDiagramas de-actividades
Diagramas de-actividades
 
Gi u7 t2_aa1_oswaldo q m
Gi u7 t2_aa1_oswaldo q mGi u7 t2_aa1_oswaldo q m
Gi u7 t2_aa1_oswaldo q m
 
[Creategies] Os segredos para a expansão do seu escritório de advocacia.
[Creategies] Os segredos para a expansão do seu escritório de advocacia.[Creategies] Os segredos para a expansão do seu escritório de advocacia.
[Creategies] Os segredos para a expansão do seu escritório de advocacia.
 
Siamo tutti colpevoli e chi chiude gli occhi lo è anche di più!!
Siamo tutti colpevoli e chi chiude gli occhi lo è anche di più!!Siamo tutti colpevoli e chi chiude gli occhi lo è anche di più!!
Siamo tutti colpevoli e chi chiude gli occhi lo è anche di più!!
 
Herramientas de calculo matemático antiguo
Herramientas de calculo matemático antiguoHerramientas de calculo matemático antiguo
Herramientas de calculo matemático antiguo
 
[Creategies] Advogado: impulsione os lucros do seu escritório.
[Creategies] Advogado: impulsione os lucros do seu escritório.[Creategies] Advogado: impulsione os lucros do seu escritório.
[Creategies] Advogado: impulsione os lucros do seu escritório.
 
Art auguste rodin (catherine)
Art auguste rodin  (catherine)Art auguste rodin  (catherine)
Art auguste rodin (catherine)
 
Z4501149153
Z4501149153Z4501149153
Z4501149153
 

New เอกสาร microsoft รายงาoffice word

  • 1. บทที่1 บทนำ ที่มำและควำมสำคัญ เนื่องจากอาชีพเลี้ยงกุ้งเป็นอีกอาชีพหนึ่ งที่สามารถสร้างรายได้ให้กับคนลุ่มน้าทะเลสาบสงขลาได้ แ ล ะ ก็ ยั ง เ ป็ น อ า ชี พ ที่ ไ ม่ มี ค ว า ม ยุ่ ง ย า ก ล ง ทุ น ไ ม่ ม า ก เ ลี้ ย ง ง่ า ย และยังทาให้คนลุ่มน้าทะเลสาบสงขลามีรายได้ดีและอาจจะสูงมากในบางรายที่เลี้ยงดี ดั ง นั้ น ก ลุ่ ม ข อ ง ข้ า พ เ จ้ า จึ ง มี ค ว า ม ส น ใ จ ใ น อ า ชี พ เ ลี้ ย ง กุ้ ง เพื่อให้ผู้ที่สนใจและผู้ที่ต้องการความรู้เกี่ยวกับวิธีการเลี้ยงกุ้งได้อ่านและนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้มา กยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาวิธีการเพาะเลี้ยงกุ้ง 2. เพื่อศึกษาปัญหาในการเพาะเลี้ยงกุ้ง 3. เพื่อฝึกกระบวนการทารายงาน 5 บท สมมุติฐำนของกำรศึกษำค้นคว้ำ การศึกษาอาชีพเลี้ยงกุ้งน่าจะช่วยให้ผู้ที่สนใจนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ ขอบเขตของกำรศึกษำ การศึกษาได้แบ่งข้อมูลที่จะศึกษาค้นคว้าออกเป็น 3 ประเภท คือ การเพาะเลี้ยงกุ้ง ปัญหาในการเลี้ยงกุ้ง ผลผลิตที่ได้จากการเลี้ยงกุ้ง นิยำมศัพท์ 1. กุ้ง หมายถึง ชื่อสัตว์น้าไม่มีกระดูกสันหลังในชั้น Crustacea อันดับ Decapoda มีหลายวงศ์ หายใจด้วยเหงือก ลาตัวยาว แบนหรือกลม แบ่งเป็นปล้องๆ เปลือกที่หุ้มท่อนหัวและ อกก้ามและขาอยู่ที่ส่วนหัวและอก มี 10ขา มีทั้งในน้าจืดและน้าเค็ม] 2.อาชีพ หมายถึง การเลี้ยงชีวิต,การทามาหากิน
  • 2. บทที่2 เอกสำรที่เกี่ยวข้อง กลุ่มของข้าพเจ้าได้ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนี้โดยแบ่งการศึกษาเป็น 3ประการ ดังนี้ หัวข้อย่อยที่ 1 สืบค้นเรื่อง “การเลี้ยงกุ้ง ” หัวข้อย่อยที่ 2 สืบค้นเรื่อง “ปัญหาในการเลี้ยงกุ้ง ” หัวข้อย่อยที่ 3 สืบค้นเรื่อง “ผลผลิตที่ได้จากการเลี้ยงกุ้ง ” มีข้อมูลที่ได้ คือ 1. กำรเลี้ยงกุ้ง ภำพที่ 1ฟำร์มเลี้ยงกุ้ง กำรเลี้ยง ปกติจะปล่อยลูกกุ้งขนาดลาตัวยาว ๑-๒ เซนติเมตร ซึ่งยังเป็นขนาดเล็ก หากคนที่ไม่เคยสังเกตมาก่อนจะไม่รู้เลยว่าลูกกุ้งก้ามกรามต่างกับกุ้งฝอยอย่างไร จึงมักมีข่าวอยู่เสมอว่าซื้อลูกกุ้งก้ามกรามไปปล่อยแล้วกลายเป็นกุ้งฝอย
  • 3. ฉะนั้นจึงขอแนะวิธีสังเกตลูกกุ้งก้ามกรามกับกุ้งฝอยดังตารางข้างล่างนี้ถ้าเลี้ยงในกระชังไม้หรือที่ล้อมขัง ควรจะ ปล่อยกุ้งที่มีขนาดใหญ่กว่าขนาดดังกล่าว คือ กุ้งจะต้องมีขนาดลาตัวยาวไม่น้อยกว่า ๒นิ้ว กำรขนส่งลูกกุ้ง ตามปกติจะบรรจุลงในถุงพลาสติกขนาด ๔๕x๗๕ เซนติเมตร ใส่น้าประมาณ ๓-๕ลิตร บรรจุลูกกุ้ง ๑,๕๐๐-๒,๐๐๐ ตัว (ขนาด ๑.๒-๒ เซนติเมตร) เดินทางในระยะไม่เกิน ๖ชั่วโมง ถ้าจะต้องเดินทางไกลกว่านี้ หรือลูกกุ้งมีขนาดใหญ่จะต้องบรรจุลูกกุ้งน้อยกว่านี้ หรือลดอุณหภูมิให้อยู่ในระดับ ๒๐-๒๔ องศาเซลเซียส จะทาให้ลูกกุ้งมีโอกาสรอดมากขึ้น โดยใช้น้าแข็งใส่ข้างๆ ถุง ข้อสาคัญในขณะลาเลียงอย่าให้ถุงกุ้งก้ามกรามถูกแดดหรือให้น้าอุ่นเป็นอันขาด เพราะจะทาให้ลูกกุ้งใช้ออกซิเจนมากขึ้นและออกซิเจนในถุงหมดเร็ว เมื่อถึงปลายทางลูกกุ้งจะอ่อนแอจมอยู่ก้นถุงและตายได้ ฉะนั้นเมื่อปล่อยลงบ่อหากไม่ได้ตรวจแล้วบางทีอาจเหลืออยู่ไม่กี่ตัว อัตรำกำรปล่อยลูกกุ้ง ก่อนปล่อยลูกกุ้งต้องสูบน้าเข้าบ่อไว้ก่อน ๑ วัน ถ้าเป็นบ่อใหม่ไม่ควรสูบน้าใส่บ่อนานเพราะจะทาให้แมลงปอมาไข่และเกิดตัวอ่อน ซึ่งสามารถจับลูกกุ้งกินได้ ถ้าเป็นบ่อเก่าที่เลี้ยงอยู่แล้ว ควรใช้อวนมุ้งไนล่อนสีฟ้ากั้นเป็นคอกภายในบ่อไว้ส่วนหนึ่งสาหรับอนุบาลลูกกุ้งร ะยะหนึ่ง ประมาณ ๑ เดือน ในกรณีที่เลี้ยงกุ้งอย่างเดียวและมีน้าถ่ายเทดี ควรปล่อยกุ้งในอัตราส่วน ๑๕-๓๐ ตัวต่อตารางเมตร เมื่อกุ้งมีอายุได้ประมาณ ๒-๓ เดือน จึงคัดกุ้งที่มีขนาดใกล้เคียงกันไปเลี้ยงในบ่อเดียวกัน ในอัตราส่วน ๕-๑๐ ตัวต่อตารางเมตร ซึ่งจะทาให้กุ้งในบ่อที่เลี้ยงหลังจากการคัดขนาดแล้ว มีอัตราการเจริญเติบโตที่ใกล้เคียงกัน ถ้าน้าถ่ายเทไม่มากต้องลดจานวนลงเหลือ ๓-๕ตัวต่อตารางเมตร จากการสารวจผู้เลี้ยงกุ้งในจังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดฉะเชิงเทรา ที่ปล่อยกุ้งในอัตราส่วน ๕- ๑๐ ตัวต่อตารางเมตร จะได้ผลิตผล ๑๕๐-๒๐๐ กิโลกรัมต่อไร่ ในระยะ ๗-๘ เดือน ถ้าปล่อยกุ้งแน่นเกินไปกุ้งจะโตช้า
  • 4. ในกรณีที่ใช้วิธีทยอยจับกุ้งโตออกตลอดปี ควรปล่อยกุ้งเป็นระยะทุก ๓-๔ เดือน ในจานวนที่มากกว่ากุ้งที่จับออก ๓ เท่าเช่น ถ้าจับกุ้งใหญ่ขาย ๑,๐๐๐ ตัว ในระยะ ๔ เดือน ก็ต้องปล่อยกุ้งเล็กลงไปแทนประมาณ ๓,๐๐๐ ตัว เป็นต้น ในกรณีที่เลี้ยงรวมกับปลา อาจปล่อยกุ้งได้น้อย คือ ไม่เกิน ๕ ตัวต่อตารางเมตร ปลาที่เลี้ยงรวมกับกุ้งได้ คือ ปลาที่กินพืช เช่น ปลาสลิดและปลาจาพวกปลาจีน ได้แก่ปลาลิ่น ปลาซ่ง และปลาเฉา ในอัตราไม่เกิน ๔๐ ตัวต่อไร่ สาหรับปลาจีนสามารถปล่อยเลี้ยงได้ ๒รุ่นในรอบปี อย่างไรก็ดีมีข้อพิจารณาว่าถ้าต้องการเลี้ยงกุ้งเพื่อธุรกิจการค้าแล้วควรเลี้ยงกุ้งเพียงอย่างเดียว ทั้งนี้เพราะการปล่อยปลาลงเลี้ยงรวมด้วยจะมีปัญหาตามมา ๒ ประการ คือ ปลาแย่งอาหารกุ้ง ทาให้เสียค่าอาหารเพิ่มขึ้น และปลาจะรบกวนในขณะใช้อวนลากกุ้ง นอกจากนี้ การเลี้ยงปลารวมกับกุ้งยังได้ผลิตผลต่ากว่าการเลี้ยงกุ้งอย่า งเดียว ในบางแห่งนิยมเลี้ยงปลากินยุงไว้ให้แพร่พันธุ์ในบ่อกุ้ง ทั้งนี้เพราะปลากินยุงกินอยู่บนผิวน้าจึงใช้กาจัดตัวอ่อนของแมลงผิวน้าและแมลงปอ ซึ่งชอบกินลูกกุ้ง ปลาชนิดนี้มีขนาดใหญ่ไม่เกิน ๒ นิ้ว กินลูกกุ้งไม่ได้ แต่กุ้งจับเป็นอาหารได้หรือถ้ามีมากๆ ก็บดให้กุ้งกินเป็นอาหาร จึงควรเลี้ยงไว้ในบ่อกุ้ง ภำพที่ 2กำรให้อำหำรกุ้ง อำหำรและกำรให้อำหำร
  • 5. ส่วนประกอบของอำหำร กุ้งเป็นสัตว์ที่กินอาหารไม่เลือก ทั้งซากสัตว์และเมล็ดพืช กุ้งหากินในเวลากลางคืนตามพื้นก้นบ่อ ฉะนั้นอาหารที่ใช้เลี้ยงกุ้งในบ่อจึงได้แก่เนื้อปลาสด เนื้อหอย และอาหารผสมบดและอัดเม็ดตากแห้ง และเนื่องจากกุ้งกินอาหารช้า อาหารผสมจึงควรจมอยู่ในน้าได้นาน ไม่ละลายน้าเร็ว อย่างน้อยจะต้องคงรูปอยู่ได้นานไม่ต่ากว่า ๓ ชั่วโมง ส่วนผสมของอาหารควรมีโปรตีนร้อยละ ๒๐-๓๐ และมีอัตราส่วนผสมโดยน้าหนัก ดังนี้ ปัจจุบันนี้มีอาหารเม็ดสาเร็จรูปขายเป็นถุงมีปริมาณบรรจุถุงละ ๒๐-๒๕ กิโลกรัม ในราคากิโลกรัมละประมาณ ๑๐ บาท นับว่าสะดวกดี กำรให้อำหำร สาหรับกุ้งเล็กที่มีขนาด ๑-๒ เซนติเมตร ที่เลี้ยงในบ่อดิน เริ่มให้อาหารตั้งแต่วันแรกที่ปล่อยลูกกุ้งลงเลี้ยงประมาณ ๑/๒ กิโลลกรัมต่อจานวนกุ้ง ๑๐,๐๐๐ ตัวต่อวัน หว่านให้กินวันละ ๒ ครั้ง เช้าและเย็นและให้เพิ่มอีกประมาณร้อยละ ๓๐-๕๐ ของน้าหนักอาหารเดิมต่อทุก ๒ สัปดาห์ จนอายุประมาณ ๔ เดือน จึงให้เพิ่มในอัตราร้อยละ ๒๕-๓๐ ของน้าหนักอาหารเดิมต่อทุก ๓-๔ สัปดาห์ โดยลดจานวนครั้งเหลือเพียงครั้งเดียวในเวลาเย็น ในการพิจารณาให้อาหารเรามีวิธีการพิจารณาดังนี้ ถ้าเป็นกุ้งเล็กต่ากว่า ๑๐๐ ตัวต่อกิโลกรัมให้อาหารประมาณร้อยละ ๑๐-๑๒ ของน้าหนักกุ้ง ถ้าเป็นกุ้งขนาด๕๐-๘๐ ตัวต่อกิโลกรัมให้อาหารประมาณร้อยละ ๕-๘ ของน้าหนักกุ้ง ถ้ากุ้งใหญ่กว่านี้ให้อาหารประมาณร้อยละ ๑-๓ ของน้าหนักกุ้ง ถ้าเป็นอาหารสดจะต้องให้มากกว่านี้ประมาณ ๓-๕ เท่า อาหารเม็ดแห้งต้องใช้ประมาณ ๓ กิโลกรัม จึงจะเทียบได้กับอัตราส่วนน้าหนักกุ้ง ๑ กิโลกรัม ราคาอาหารเม็ดกิโลกรัมละประมาณ ๘-๑๐ บาท เพราะฉะนั้นค่าใช้จ่ายสาหรับอาหารที่ใช้เลี้ยงกุ้งประมาณ ๓๐- ๔๐ บาทต่อน้าหนักกุ้ง ๑ กิโลกรัม โดยมีอัตรารอดตายประมาณร้อยละ ๓๐-๔๐ ปัญหำในกำรเลี้ยงกุ้ง ปัญหาสาคัญที่พบเสมอในการเลี้ยงกุ้ง ซึ่งไม่ใช่โรคและศัตรูแต่ทาให้เกิดความเสียหาย มีดังนี้ ๑. การขาดแคลนออกซิเจนในบ่อ มักเป็นกับบ่อที่เลี้ยงกุ้งไว้หลังจากอายุ ๔ เดือนเป็นต้นไป โดยเฉพาะในฤดูร้อนน้าน้อยและวันที่มีอากาศครึ้ม อบอ้าว อาการที่แสดงว่าขาดออกซิเจน คือ ในตอนเช้ามืดกุ้งจะขึ้นมาปรากฏอยู่ที่ขอบบ่อมากผิดปกติ บางตัวอาจจะกระโดดขึ้นมาบนตลิ่ง ซึ่งแสดงว่ามีออกซิเจนในน้าต่ากว่า ๑.๕ ส่วนในล้าน ต้องรีบแก้ไข มิฉะนั้น กุ้งอาจตายหมดบ่อ การแก้ไขกระทาโดยสูบน้าเข้าทันทีพร้อมทั้งให้อากาศ หรือใช้เครื่องตีน้าเพิ่มออกซิเจนในเวลากลางคืน ปริมาณออกซิเจนในบ่อควรให้มีไม่ต่ากว่า ๓ ส่วนในล้าน
  • 6. ๒. กุ้งไม่โตเนื่องจากกุ้งไม่ลอกคราบ จะปรากฏลักษณะคล้ายตะไคร่น้าจับที่เปลือกกุ้ง ทาให้กุ้งผอม น้าหนักเบาสาเหตุเนื่องจากให้อาหารน้อยและอาหารมีคุณค่าไม่เพียงพอ หรือให้อาหารมากเกินไป ซึ่งทาให้ดินและน้าในบ่อเกิดการเน่าเสีย วิธีป้องกันคือ ไม่ปล่อยกุ้งลงเลี้ยงจนแน่นบ่อ ต้องถ่ายน้าบ่อยๆ หรือใส่โล่ติ๊นหรือกากเมล็ดชาในอัตราส่วนตามที่กล่าวมาแล้ว นอกจากปัญหาดังกล่าวแล้วยังพบปัญหาอื่นอีก คือ กุ้งก้ามโตแต่ตัวเล็กที่เรียกว่า "กุ้งจิ๊กโก๋" ปัญหานี้เกิดจากความไม่สมดุลของจานวนกุ้งในบ่อ กล่าวคือ มีกุ้งตัวผู้น้อยกว่ากุ้งตัวเมียหลายเท่า ทาให้กุ้งตัวผู้เสียพลังงานไปกับการผสมพันธุ์ อันเป็นเหตุให้กุ้งตัวผู้แคระแกร็น ไม่สมส่วน สามารถแก้ไขได้โดยการจับตัวเมียออกให้เหลือจานวนใกล้เคียงกับตัวผู้ โรคและศัตรู การเลี้ยงกุ้งในบ่อไม่ค่อยมีปัญหาเกี่ยวกับโรคมากนัก เท่าที่พบเป็นโรคที่ไม่รุนแรง ได้แก่ ๑.โรคเหงือกดา เกิดจากเชื้อบัคเตรีจับที่เหงือก มองเห็นเป็นสีดา ทาให้กุ้งหายใจไม่สะดวก สาเหตุเกิดจากพื้นบ่อมีการหมักหมม น้ามีออกซิเจนต่า วิธีป้องกันและแก้ไข คือ เปลี่ยนน้าแล้วย้ายกุ้งไปเลี้ยงในบ่อซึ่งเตรียมใหม่ให้ลอกคราบ เชื้อบัคเตรีที่จับอยู่ก็จะหลุดหายไป ๒.โรคเปลือกเน่า เกิดจากเชื้อบัคเตรีทาให้ขอบหรือปลายเหงือกมีสีดาและขาดหายไป ถ้าเกิดที่ปลายขาจะทาให้ขากุด โรคนี้จะค่อยๆ ลุกลามไป ทาให้กุ้งเกิดการระคายเคือง ไม่กินอาหารและตายในที่สุด สาเหตุเกิดจากการเลี้ยงกุ้งหนาแน่นและเปลี่ยนน้าไม่เพียงพอ ๓. ศัตรู ศัตรูของกุ้งที่เลี้ยงในบ่อมีหลายชนิด เช่นนกเป็ดน้า นกยาง กบ เต่า งูปลากินเนื้อทุกชนิด โดยเฉพาะปลาช่อน แม้ขนาดเล็กก็สามารถกินลูกกุ้งได้ เมื่อจับได้จะพบลูกกุ้งอยู่ในท้องเสมอ จึงเป็นปลาที่มีอันตรายและป้ องกันยากมากชนิดหนึ่ง เพราะสามารถกระโดดข้ามขอบบ่อได้และมีอยู่ทุกแห่ง ส่วนปลาอื่นๆ ที่ไม่กินลูกกุ้งโดยตรงก็จะแย่งอาหาร ทาให้เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น การป้องกันทาได้โดยใช้อวนมุ้งไนล่อนกั้นรอบบ่อและกรองน้าก่อนปล่อยเข้าบ่อกุ้ง เ พื่อป้องกันไข่และลูกปลา สาหรับการกาจัดปลานั้นทาได้โดยสูบน้าออกให้เหลือประมาณ ๕๐ เซนติเมตร แล้วจึงใช้กากเมล็ดชาป่น แช่น้าในอัตรา ๒๕-๓๐ กรัมต่อน้า ๑ ตัน หรือใช้โล่ติ๊นสดในอัตรา ๑ กิโลกรัมต่อน้า
  • 7. ๑๐๐ ตัน ทุบโล่ติ๊นแช่น้า ๑ คืนแล้วสาดให้ทั่วบ่อ ปลาจะตายหมดแต่กุ้งไม่ตาย หลังจากนั้นจึงสูบน้าให้เข้าไปเท่าเดิม ภำพที่ 3กุ้งตัวขนำดโตพอที่จะจำหน่ำยได้ ผลิตผล กุ้งที่เลี้ยงควรจะใช้เวลาไม่น้อยกว่า ๗ เดือน ควรจับเมื่อตัวผู้มีน้าหนักไม่ต่ากว่า ๘๐ กรัม และตัวเมียไม่ควรต่ากว่า ๕๐ กรัม ปริมาณผลิตผลนั้นไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่างคือ การจัดการแหล่งน้าและอาหาร ในต่างประเทศ เช่น ที่ฮาวายได้ผลิตผลสูงกว่า ๔๐๐ กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี สาหรับในบ้านเราเท่าที่มีผู้เลี้ยงมาจะได้ผลิตผลประมาณ ๑๕๐-๒๕๐ กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี กำรจับกุ้ง ในการจับกุ้งนั้นเราควรพิจารณาปัจจัย ๒ประการ คือ ขนาดที่ตลาดต้องการ และขนาดที่กุ้งเจริญเติบโตถึงจุดอิ่มตัว ผู้เลี้ยงย่อมทราบดีว่ากุ้งโตไม่เท่ากัน ยิ่งเลี้ยงไปตัวผู้ยิ่งโตกว่าตัวเมียเมื่ออายุประมาณ ๘-๑๒ เดือน ตัวผู้จะโตกว่าตัวเมียประมาณ ๒ เท่าจากการสังเกตการเลี้ยงกุ้งก้ามกรามในบ่อพบว่า ควรจับกุ้งเมื่อตัวผู้มีขนาด ๘-๑๐ ตัวต่อกิโลกรัมและตัวเมียมีขนาด ๑๕-๑๘ ตัวต่อกิโลกรัม ซึ่งเป็นระยะที่กุ้งก้ามกรามในบ่อมีอัตราการเจริญเติบโตเร็วที่สุด ถ้าพ้นจากนี้ไปจะโตช้า
  • 8. สาหรับการจับกุ้งนั้นทาได้ ๒ วิธี คือ จับเป็นครั้งคราวโดยใช้อวนไนล่อน และจับโดยการสูบน้าออกหมดบ่อ ในการเลี้ยงกุ้งเพื่อเป็นธุรกิจนั้น ควรจับกุ้งโดยใช้อวนจะเหมาะกว่าวิธีอื่น ทั้งนี้เพราะกุ้งโตไม่เท่ากัน การใช้อวนทาให้สามารถเลือกจับกุ้งที่โตออกขายก่อน กุ้งไม่บอบช้า ช่วยให้ได้ราคาดี และประหยัดทั้งกาลังคนและอุปกรณ์ อย่างไรก็ตาม ไม่ควรจับกุ้งที่กาลังลอกคราบหรือเพิ่งลอกคราบใหม่ๆ เปลือกยังนิ่ม เพราะจะเกิดบาดแผลง่ายทาให้เน่าเสียเร็ว และไม่ควรจับกุ้งขังไว้ค้างคืน เพราะจะทาให้กุ้งได้รับความเสียหายเนื่องจากกุ้งลอกคราบ ประมาณร้อยละ ๕-๑๐ และส่วนมากจะถูกกุ้งตัวอื่นกิน เหลือบางส่วนเท่านั้น อวนที่ใช้จับกุ้งก้ามกรามในบ่อควรใช้อวนไนล่อน ที่มีขนาดตากว้าง ๑.๒-๑.๕ นิ้ว เส้นอวนเบอร์ ๑๗ ยาวไม่น้อยกว่าความกว้างของบ่อ และลึกเป็น ๓ เท่าของความลึกของน้า ใช้ลากไปตามความยาวของบ่อ วิธีนี้จะจับกุ้งขนาดน้าหนักไม่ต่ากว่าตัวละ ๕๐ กรัม ส่วนกุ้งขนาดเล็กจะลอดไปได้ ทาให้สามารถคัดเอากุ้งที่มีขนาดที่ต้องการได้ในเวลารวดเร็ว และกุ้งไม่บอบช้า ส่วนวิธีสูบน้าออกจนหมดบ่อแล้วจึงจับนั้น ควรทาเมื่อกุ้งเหลือน้อยและต้องการจะล้างบ่อ เพราะเมื่อสูบน้าออกแล้วจะมีกุ้งขนาดเล็กอยู่จานวนหนึ่งซึ่งยังจาหน่ายไม่ได้ จาเป็นจะต้องเลี้ยงต่อไป การจับโดยวิธีสูบน้าออกหมดนี้จะทาให้กุ้งบอบช้ามาก การเลี้ยงกุ้งก้ามกรามในเชิงการค้านั้น มีปัญหาหลายประการ เช่น ผลิตผลต่าเนื่องจากธรรมชาติของกุ้งชอบกินกุ้งด้วยกัน มีอัตราการเจริญเติบโตช้า และมีปัญหาเกี่ยวกับแหล่งน้าที่ใช้เลี้ยง บทที่3 วิธีดำเนินกำรศึกษำ ข้าพเจ้าได้ออกแบบ วางแผน ในการเก็บข้อมูล รวบรวมข้อมูล ดังนี้ 1. กาหนดจุดมุ่งหมาย /แหล่งที่มาของข้อมูล 2. เลือกวิธีเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้ 2.1 การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสังเกต เช่น การสังเกตจากหนังสือ ใบความรู้ต่างๆที่ได้รับมา
  • 9. 2.2 การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสอบถาม - โดยการสัมภาษณ์เป็นส่วนตัว เช่น การซักถามพูดคุยโต้ตอบกัน - โดยการส่งแบบข้อมูลทางไปรษณีย์ - โดยการลงทะเบียน ซึ่งเป็นวิธีตามกฎหมายโดยการบันทึกข้อมูลลงในทะเบียน 3. นาเสนอข้อมูลที่ได้รวบรวม บทที่ 4 ผลกำรศึกษำ การเลี้ยงกุ้งก้ามกรามทาได้หลายวิธี เช่น เลี้ยงในกระชัง เลี้ยงในคอกเฝือก หรือที่ล้อมขังในร่องสวน และในบ่อ แต่ถ้าจะเลี้ยงให้ได้ผลจริงจังแล้ว ควรเลี้ยงในบ่อดิน ปัญหาที่สาคัญที่สุดในการเลี้ยงกุ้งก้ามกราม คือ น้า ดังนั้น ในการพิจารณาสถานที่ที่จะเลี้ยงกุ้ง จึงต้องพิจารณาหาแหล่งน้าที่มีอยู่ใกล้ๆ เช่นแม่น้า ลาธาร
  • 10. คลองที่มีน้าไหลผ่านตลอดปีและน้านั้นจะต้องมีคุณภาพดี มีค่าความเป็นกรด-ด่างระหว่าง ๗.๕- ๘.๕ ปลอดสารพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม และดินจะต้องสามารถเก็บกักน้าได้ ไม่ควรเป็นดินทรายหรือดินที่มีทรายเกินกว่าร้อยละ ๓๐ เพราะจะมีปัญหาในการเก็บกักน้าในฤดูแล้ง ซึ่งถ้าจะแก้ไขจะต้องลงทุนสูง อีกประการหนึ่งที่จะต้องพิจารณาด้วย คือ ทางคมนาคม ถ้าอยู่ใกล้ทางคมนาคมติดต่อสะดวก การขนส่งไม่ทาให้ลูกกุ้งบอบช้ามาก สามารถจับกุ้งส่งตลาดได้รวดเร็ว กุ้งไม่เสื่อมคุณภาพและราคาไม่ตก ในบางแห่งอาจใช้น้าบาดาลเลี้ยงกุ้งก็ได้แต่ต้องลงทุนสูง สาหรับการเลี้ยงในร่องสวนหรือในที่ล้อมขังที่มีน้าอยู่แล้วและไม่สามารถสูบน้าออกหมดได้ ก่อนปล่อยกุ้งต้องฆ่าปลาที่มีอยู่เดิมออกให้หมด มิฉะนั้นปลาเหล่านี้อาจแย่งอาหารหรือกินลูกกุ้งได้ โดยใช้รากโล่ติ๊นสดทุบแช่น้าไว้ ๑ คืน แล้วขยาให้ยางซึ่งมีสีขาวเหมือนน้านมออกให้มากที่สุด แล้วสาดลงในน้าให้ทั่วในอัตราส่วนโล่ติ๊นสด ๑ กิโลกรัมต่อน้า ๑๐๐ ลูกบาศก์เมตร หรือกากเมล็ดชาป่นในอัตรา ๒๕-๓๐ กรัมต่อน้า ๑ ลูกบาศก์เมตร หรือจะใช้โซเดียมไซยาไนด์ (Sodium cyanide) ในอัตราส่วน ๑-๓ กรัมต่อน้า ๑ ตัน แต่การใช้โซเดียมไซยาไนด์ค่อนข้างเป็นอันตราย ต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง หลังจากนั้นปลาใหญ่น้อยจะแสดงอาการสาลักน้า ว่ายน้าผิดปกติขึ้นมาที่ผิวน้าหรือขอบๆ บ่อ ต้องรีบจับก่อนจะจมลงไปเน่าเสียหมด สาหรับบ่อเก่าที่สูบน้าทิ้งจนแห้งโดยทั่วๆ ไปแล้วจะโรยปูนขาว ในอัตราไร่ละ ๑๕๐-๒๐๐ กิโลกรัม ควรตรวจวัดความเป็นกรด-ด่าง ของดินที่พื้นบ่อเสียก่อน แล้วจึงคานวณปริมาณปูนขาวที่จะใส่ ซึ่งเป็นวิธีที่ถูกต้องที่สุด แล้วปล่อยทิ้งไว้สัก ๗ วัน จึงปล่อยน้าเข้าและเลี้ยงกุ้งได้ทันที ถ้าเป็นบ่อเก่าหรือร่องสวนที่มีอยู่เดิมให้ปรับแต่งคันบ่อให้สูงพ้นระดับน้าท่วม ถ้าก้นบ่อมีดินเลนต้องขุดลอกออ ก แล้วตากบ่อและโรยปูนขาวดังที่กล่าวมาแล้ว ถ้าเป็นที่ใหม่ยังไม่ได้ขุดบ่อจะต้องวางผังให้ถูกต้อง ประการแรกจะต้องตรวจสอบระดับดินว่าพื้นเรียบและน้าท่ วมหรือไม่ เพื่อจะได้กาหนดระดับขอบคันบ่อให้พ้นน้าไว้ การวางผังบ่อจะต้องให้ด้านยาวมากกว่าด้านกว้าง และยาวไปตามทิศทางของลม คือจากเหนือไปใต้ ขนาดของบ่อไม่ควรจะเล็กหรือใหญ่เกินไป ควรมีขนาด ๑-๕ ไร่กว้าง ๒๕-๓๐ เมตร เพราะถ้าเล็กเกินไปจะเลี้ยงกุ้งได้น้อย ระดับความลึก ๘๐-๑๐๐ เซนติเมตร
  • 11. ให้คันบ่อมีความลาด ๑:๒ หรือ ๑:๓ ถ้าไม่เป็นดินเหนียว ความกว้างบนคันบ่อไม่ควรต่ากว่า ๓ เมตร พร้อมทั้งบดอัดคันบ่อให้แน่น เพื่อป้องกันน้ารั่วซึม และใช้ปลูกต้นไม้เป็นร่มเงาได้ ขอบบ่อควรปลูกหญ้าคลุมดินเพื่อป้ องกันคันดินขอบบ่อพัง ตรงท้ายบ่อควรปักไม้ไผ่หรือปลูกพืชลอยน้า เช่น ผักบุ้ง หรือผักตบชวาไว้รอบๆ เพื่อลดการปะทะของคลื่นลมและเป็นที่หลบซ่อนของกุ้งด้วย แต่ละบ่อจะต้องมีประตูน้าสาหรับระบายน้าออก และมีท่อส่งน้าเข้าบ่อทุกบ่อเป็นอิสระ ท่อส่งน้าสาหรับบ่อขนาด ๑-๒ ไร่ควรมีเส้นผ่าศูนย์กลางไม่น้อยกว่า ๖ นิ้ว และประตูน้ามีขนาดกว้าง ๐.๘๐- ๑.๒๐ เมตร จะต้องทาร่องเพื่อใส่ตะแกรงไว้ป้องกันไม่ให้ลูกกุ้งออกและลูกปลาเข้าในขณะระบายน้าออก นอกจากจะต้องถมคันบ่อด้านนอกสุดให้สูงเพื่อป้องกันน้าท่วมแล้ว ยังต้องใช้ตาข่ายไนล่อนสีฟ้าหรือเฝื อกกั้นรอบบ่อทั้งนี้เพื่อป้องกันปลาหรือสัตว์เลื้อยคลานอื่นที่จะไปกินกุ้งในบ่อ สาหรับด้านท้ายบ่อจะต้องขุดคูเพื่อระบายน้าออกจากบ่อด้วย ถ้าใช้น้าจากธรรมชาติเลี้ยงกุ้งจะทุ่นค่าใช้จ่ายมาก โดยเฉพาะถ้าใช้น้าธรรมชาติจากลาธารหรือคลองส่งน้าที่มีระดับสูงกว่าระดับบ่อ เช่น การเลี้ยงกุ้งบางแห่งในจังหวัดภาคเหนือซึ่งได้น้าจากลาธารธรรมชาติทดไหลเข้าบ่อเองโดยไม่ต้องใช้เครื่องสูบ น้าแต่ถ้าหาทาเลที่ดีดังกล่าวไม่ได้ก็จาเป็นต้องใช้เครื่องสูบน้าหรือกังหันลมโดยปกติบ่อขนาด ๑ ไร่ ถ้าอยู่ในที่โ ล่งมีความชื้นต่า น้าจะระเหยวันละประมาณ ๒๐ ตัน ในกรณีที่น้าไม่รั่วซึม แต่บางแห่งที่เป็นดินทราย น้าอาจซึมหายไปมากกว่านี้ ฉะนั้นปริมาณน้าที่ใช้ทั้งหมดสาหรับบ่อขนาด ๒ ไร่จานวน ๕ บ่อ ประมาณ ๒๐๐ ตันต่อวัน ดังนั้น จะต้องใช้เครื่องสูบน้าที่มีกาลังพอที่จะสูบน้าได้วันละไม่ต่ากว่า ๒๐๐ ตันต่อวัน น้าที่ใช้เลี้ยงกุ้งจะต้องกรองเสียก่อน โดยใช้ถุงผ้ากรองไนล่อนหรือตะแกรงลวดไร้สนิม ขนาดตาถี่ไม่น้อยกว่า ๖๐ ตาต่อนิ้ว กรองน้าดังกล่าว และต้องหมั่นทาความสะอาด มิฉะนั้น ตะแกรงจะอุดตัน
  • 12. บทที่5 สรุปและอภิปรำยผลกำรศึกษำ สรุปผลกำรศึกษำ การทารายงานเรื่อง อาชีพเลี้ยงกุ้ง ผลปรากฏว่า ทาให้เราทราบวีธีการเลี้ยงกุ้ง ปัญหาการเลี้ยงกุ้ง และผลตอบแทนการเลี้ยงกุ้งมากขึ้นกว่าเมื่อก่อน ประโยชน์ที่ได้รับ 1. ช่วยให้เราทราบวิธีการเลี้ยงกุ้ง ปัญหาและผลตอบแทนที่ได้จากการเลี้ยงกุ้ง 2. สามารถศึกษาข้อมูลการเลี้ยงกุ้งได้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น 3. ทาให้คนหลายๆคนได้ทราบว่า “ การเลี้ยงกุ้ง ” มีวิธีการเลี้ยงอย่างไร ข้อเสนอแนะ 1. การศึกษาเรื่อง “อาชีพเลี้ยงกุ้ง ”สามรถทาให้เราทราบถึงข้อมูลต่างๆที่ทาให้กุ้งตายในช่วง 4-6เดือน ว่ามาจากสาเหตุใดบ้าง 2. ใ น การศึ กษาเราไม่อาจท ราบ ว่า ข้อมูลที่ ได้มาเป็ น ข้อเท็ จจริ ง ห รื อไม่ ดังนั้ น จึงต้องสอบถามผู้รู้หรือผู้ที่สามารถหาคาปรึกษาได้ 3. ในการศึกษาเราต้องตั้งใจและเข้าใจเนื้อหาที่สืบค้นมาได้อย่างแท้จริง เพื่อที่จะได้อธิบายให้ผู้อี่นได้
  • 15. ภำพที่ 6 กุ้งก้ำมกรำมขนำดใหญ่อำยุ ๔ - ๖ เดือน ตำยด้วยอำกำรต่ำง ๆเช่น ขำเดินมีสีน้ำตำลตัวแดง ภำพที่ 7เครื่องเป่ำอำกำศเพื่อช่วยเพิ่มออกซิเจนในน้ำ