SlideShare a Scribd company logo
“พิพิธภัณฑ” ใน “งานอนุรักษชุมชน” คําสองคํานี้มีจุดเชื่อมกันตรงไหน การตีความของสองคํานี้สามารถสรางความสัมพันธกัน
ได ถาพิพิธภัณฑอยูในพื้นที่ประวัติศาสตร พิพิธภัณฑอาจเปนสวนหนึ่งของงานอนุรักษชุมชน ตนกําเนิดแรก ๆ ของพิพิธภัณฑในงาน
อนุรักษชุมชนมาจากประเทศอังกฤษและประเทศฝรั่งเศส แตประเทศไทยไดนําแบบมาจากประเทศอังกฤษมากกวาซึ่งกระบวนการทํางาน
ตอนแรกจะอยูที่ผังเมืองเพื่อสรางใหเปนมรดกทางวัฒนธรรมและบูรณาการเรื่องตาง ๆ ไวดวยกัน
ในประเทศไทยการอนุรักษชุมชนเริ่มตนหลังปพ.ศ.2540 เพื่อหารายไดใหรัฐบาลดวยการสรางงานใหกับคนในพื้นที่เพื่อปรับปรุง
อาคารและพื้นที่ตาง ๆ ซึ่งชุมชนแรก คือ ชุมชนสามชุก การเริ่มตนอนุรักษชุมชนจึงเปนการเริ่มตนธุรกิจชุมชนดวยเชนกัน เมื่อการอนุรักษ
ชุมชนไดดําเนินไป การกอสรางเกิดขึ้นมาซึ่งไมเปนกระบวนการพัฒนาจริงและไมไดเปนแนวคิดของชุมชน การอนุรักษชุมชนในประเทศ
ไทยเปนเรื่องเล็กในสังคมไทยเพราะรูปแบบการพัฒนาทุกแบบเนนการกอสรางมากกวาการพัฒนาชุมชนใหเขมแข็งหรือใหความรูกับชุมชน
งานอนุรักษชุมชนเกาเกิดขึ้นจากชุมชนตองการฟนฟูเศรษฐกิจชุมชนหรือชุมชนตองตอสูกับการถูกไลรื้อโดยฝายรัฐหรือเอกชน เมื่อการ
อนุรักษชุมชนทําสําเร็จ ชุมชนก็จะสรางความเขมแข็งใหคนในชุมชนและสรางสถานะใหชุมชนเพื่อใหไดรับการยอมรับจากภายนอกเมื่อการ
เจรจาเกิดขึ้น
หลังจากนําพิพิธภัณฑมารวมกับการอนุรักษชุมชน สิ่งที่ได คือ พิพิธภัณฑกลายเปนเครื่องมือทางการเมืองอยาง “เรื่องที่ผูชม
อยากรู” ซึ่งก็มีเรื่องที่พิพิธภัณฑ “อยากบอก” แทรกอยูเสมอเพราะเรื่องที่อยากบอกไมใชแคเสียงของคนในทองถิ่นเทานั้นแตเปนขอ
ถกเถียงที่คนในชุมชนตองการแสดงออก การตีความพิพิธภัณฑในงานอนุรักษชุมชนบางครั้งไมไดยึดถือเรื่องราวของทองถิ่น เรื่องราวที่
นําเสนอออกไปจึงเปนการนําเสนอเรื่องราวเพียงดานเดียว เชนพิพิธภัณฑสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่เสนอแตความโหดรายของทหารญี่ปุน
หรือเรื่องราวความรุนแรงตาง ๆ ซึ่งบางครั้งเมื่อเราลงไปหาขอมูลจริงกับคนที่อยูในสมัยนั้น เรากลับพบวามีเรื่องราวดี ๆ เกิดขึ้นมากมาย
ที่ทหารญี่ปุนไดสรางไว แตเรื่องราวเหลานี้กลับไมไดถูกนําเสนอออกมา
เมื่อพิพิธภัณฑชุมชนเกิดขึ้นมา คําถามที่ตามมา คือ “ทําไมพิพิธภัณฑชุมชนจํานวนมากไมประสบความสําเร็จ” คําตอบของ
ปญหานี้มีอยูมากมายเริ่มจากเราไมมีการศึกษาเรื่อง มรดกวัฒนธรรม พิพิธภัณฑในสังคมไทยอยางจริงจัง นโยบายของรัฐจํากัดอํานาจ
ทองถิ่นในการตัดสินใจ ชุมชนไมไดรับการเตรียมพรอมที่จะยืนหยัดดวยตนเอง มากกวานั้นนักวิชาการเขาไปชวยเหลือชุมชนนอยเกินไป
การทํางานที่ขาดนวัตกรรม ไมมีการคิดงานใหม ๆ มีแตงานที่ลอกเลียนแบบมากกวา สุดทายคือเนนการทํางานที่กายภาพอยางไร
เปาหมาย ยกตัวอยาง สิ่งของหรือเรื่องราวในทองถิ่นไมเคยถูกกลาวถึงเลยในพิพิธภัณฑ ไมใหความสนใจคนทองถิ่นวามีความเปนอยู
อยางไร มีความคิดเปนอยางไร ซึ่งสาเหตุเหลานี้เปนปญหาที่นักวิชาการหรือภาครัฐไมใหความสําคัญ จนกระทั่งมีคนกลาววา “แหลงทุน
หรือนักวิชาการตองใหเกียรติคนในทองถิ่นบาง คนทองถิ่นไมใชตาสีตาสา นักวิชาการสวนใหญอยูหมูบานจัดสรร คอนโด จะเขาใจชุมชนได
ลึกซึ้งเพียงไร” จากคําพูดเหลานี้จึงพอสรุปไดวา การทํางานของนักวิชาการในชุมชนอาจไมมีประสิทธิภาพเพียงพอ
การอนุรักษชุมชนในตางประเทศมีความตางกับไทยเปนอยางมาก ในประเทศสิงคโปร การทํางานอนุรักษของเขา คือ “ใหคนยาย
ออก มีการซอมอาคาร หลังจากซอมเสร็จ คนเกาและคนใหมกลับเขามาอยูที่เดิม บางแหงผันตัวเองเปนศูนยขอมูลเพื่อการทองเที่ยว
สุดทายรัฐบาลใหรางวัล” ในขณะที่ประเทศไทย คือ “ใหคนยายออกไป มีการซอมอาคารเหมือนกัน รัฐบาลยื่นขอรางวัลอนุรักษจากที่
ตาง ๆ ตอจากนั้นขึ้นคาเชา คนเดิมไมสามารถอยูได สุดทายก็เปลี่ยนคนอยูใหม”
สุดทายทางออกที่ดีสุดของการอนุรักษชุมชนและการมีพิพิธภัณฑชุมชน คือ การสรางชุมชนใหเขมแข็งดวยตัวของชุมชนเอง
พัฒนาธุรกิจของชุมชนใหเปนธุรกิจหลัก การทองเที่ยวเปนเพียงแคธุรกิจรอง นอกจากนั้นเราตองใหความรูกับชุมชนในทุก ๆ เรื่องเพื่อให
ชุมชนสามารถดูแลตัวเองไดหลังจากที่ไดรับการฟนฟูหรือการอนุรักษไปแลว สุดทาย คือ การสรางเปาหมายของชุมชนใหชัดเจนเพื่อให
งานทุกอยางที่ทําออกมาเปนรูปธรรมมากที่สุด
พิพิธภัณฑในงานอนุรักษชุมชน
ดร.เทียมสูรย สิริศรีศักดิ์
อาจารยประจําสาขาวัฒนธรรมศึกษา สถาบันวิจัย
ภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
Museum in Focus #7

More Related Content

More from National Discovery Museum Institute (NDMI)

รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...
รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...
รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...National Discovery Museum Institute (NDMI)
 
We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...
We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...
We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...National Discovery Museum Institute (NDMI)
 
เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่
เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่
เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่National Discovery Museum Institute (NDMI)
 
การประชุมวิชาการด้านพิพิธภัณฑ์ | Museum forum 2017
การประชุมวิชาการด้านพิพิธภัณฑ์ | Museum forum 2017การประชุมวิชาการด้านพิพิธภัณฑ์ | Museum forum 2017
การประชุมวิชาการด้านพิพิธภัณฑ์ | Museum forum 2017National Discovery Museum Institute (NDMI)
 
10 ขุดแล้วไปไหน จากงานโบราณคดีสู่สื่อการเรียนรู้ชุมชน - รัศมี ชูทรงเดช
10 ขุดแล้วไปไหน จากงานโบราณคดีสู่สื่อการเรียนรู้ชุมชน - รัศมี ชูทรงเดช10 ขุดแล้วไปไหน จากงานโบราณคดีสู่สื่อการเรียนรู้ชุมชน - รัศมี ชูทรงเดช
10 ขุดแล้วไปไหน จากงานโบราณคดีสู่สื่อการเรียนรู้ชุมชน - รัศมี ชูทรงเดชNational Discovery Museum Institute (NDMI)
 
09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์ ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์
09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์  ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์  ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์
09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์ ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์National Discovery Museum Institute (NDMI)
 
08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล
08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล
08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุลNational Discovery Museum Institute (NDMI)
 
03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม
03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม
03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่มNational Discovery Museum Institute (NDMI)
 
02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์
02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์
02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์National Discovery Museum Institute (NDMI)
 

More from National Discovery Museum Institute (NDMI) (20)

รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...
รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...
รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...
 
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 1
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 1ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 1
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 1
 
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 2
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 2ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 2
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 2
 
Agenda museum-in focus-bully
Agenda museum-in focus-bullyAgenda museum-in focus-bully
Agenda museum-in focus-bully
 
Education Within & Beyond Museum Walls : A Singapore Case Study
Education Within & Beyond Museum Walls : A Singapore Case StudyEducation Within & Beyond Museum Walls : A Singapore Case Study
Education Within & Beyond Museum Walls : A Singapore Case Study
 
We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...
We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...
We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...
 
เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่
เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่
เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่
 
Museum forum2017 thai
Museum forum2017 thaiMuseum forum2017 thai
Museum forum2017 thai
 
Museum Academy 2017 poster
Museum Academy 2017 posterMuseum Academy 2017 poster
Museum Academy 2017 poster
 
Museum Academy 2017
Museum Academy 2017Museum Academy 2017
Museum Academy 2017
 
การประชุมวิชาการด้านพิพิธภัณฑ์ | Museum forum 2017
การประชุมวิชาการด้านพิพิธภัณฑ์ | Museum forum 2017การประชุมวิชาการด้านพิพิธภัณฑ์ | Museum forum 2017
การประชุมวิชาการด้านพิพิธภัณฑ์ | Museum forum 2017
 
MA application form-2017
MA application form-2017MA application form-2017
MA application form-2017
 
10 ขุดแล้วไปไหน จากงานโบราณคดีสู่สื่อการเรียนรู้ชุมชน - รัศมี ชูทรงเดช
10 ขุดแล้วไปไหน จากงานโบราณคดีสู่สื่อการเรียนรู้ชุมชน - รัศมี ชูทรงเดช10 ขุดแล้วไปไหน จากงานโบราณคดีสู่สื่อการเรียนรู้ชุมชน - รัศมี ชูทรงเดช
10 ขุดแล้วไปไหน จากงานโบราณคดีสู่สื่อการเรียนรู้ชุมชน - รัศมี ชูทรงเดช
 
09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์ ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์
09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์  ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์  ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์
09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์ ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์
 
08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล
08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล
08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล
 
04 how to start a museum - หทัยรัตน์ มณเฑียร
04 how to start a museum - หทัยรัตน์ มณเฑียร04 how to start a museum - หทัยรัตน์ มณเฑียร
04 how to start a museum - หทัยรัตน์ มณเฑียร
 
03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม
03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม
03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม
 
02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์
02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์
02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์
 
Forum Agenda Museum Without Walls
 Forum Agenda Museum Without Walls Forum Agenda Museum Without Walls
Forum Agenda Museum Without Walls
 
Museum Forum | Museum without walls 2016
Museum Forum | Museum without walls 2016Museum Forum | Museum without walls 2016
Museum Forum | Museum without walls 2016
 

Museum in Focus #7

  • 1. “พิพิธภัณฑ” ใน “งานอนุรักษชุมชน” คําสองคํานี้มีจุดเชื่อมกันตรงไหน การตีความของสองคํานี้สามารถสรางความสัมพันธกัน ได ถาพิพิธภัณฑอยูในพื้นที่ประวัติศาสตร พิพิธภัณฑอาจเปนสวนหนึ่งของงานอนุรักษชุมชน ตนกําเนิดแรก ๆ ของพิพิธภัณฑในงาน อนุรักษชุมชนมาจากประเทศอังกฤษและประเทศฝรั่งเศส แตประเทศไทยไดนําแบบมาจากประเทศอังกฤษมากกวาซึ่งกระบวนการทํางาน ตอนแรกจะอยูที่ผังเมืองเพื่อสรางใหเปนมรดกทางวัฒนธรรมและบูรณาการเรื่องตาง ๆ ไวดวยกัน ในประเทศไทยการอนุรักษชุมชนเริ่มตนหลังปพ.ศ.2540 เพื่อหารายไดใหรัฐบาลดวยการสรางงานใหกับคนในพื้นที่เพื่อปรับปรุง อาคารและพื้นที่ตาง ๆ ซึ่งชุมชนแรก คือ ชุมชนสามชุก การเริ่มตนอนุรักษชุมชนจึงเปนการเริ่มตนธุรกิจชุมชนดวยเชนกัน เมื่อการอนุรักษ ชุมชนไดดําเนินไป การกอสรางเกิดขึ้นมาซึ่งไมเปนกระบวนการพัฒนาจริงและไมไดเปนแนวคิดของชุมชน การอนุรักษชุมชนในประเทศ ไทยเปนเรื่องเล็กในสังคมไทยเพราะรูปแบบการพัฒนาทุกแบบเนนการกอสรางมากกวาการพัฒนาชุมชนใหเขมแข็งหรือใหความรูกับชุมชน งานอนุรักษชุมชนเกาเกิดขึ้นจากชุมชนตองการฟนฟูเศรษฐกิจชุมชนหรือชุมชนตองตอสูกับการถูกไลรื้อโดยฝายรัฐหรือเอกชน เมื่อการ อนุรักษชุมชนทําสําเร็จ ชุมชนก็จะสรางความเขมแข็งใหคนในชุมชนและสรางสถานะใหชุมชนเพื่อใหไดรับการยอมรับจากภายนอกเมื่อการ เจรจาเกิดขึ้น หลังจากนําพิพิธภัณฑมารวมกับการอนุรักษชุมชน สิ่งที่ได คือ พิพิธภัณฑกลายเปนเครื่องมือทางการเมืองอยาง “เรื่องที่ผูชม อยากรู” ซึ่งก็มีเรื่องที่พิพิธภัณฑ “อยากบอก” แทรกอยูเสมอเพราะเรื่องที่อยากบอกไมใชแคเสียงของคนในทองถิ่นเทานั้นแตเปนขอ ถกเถียงที่คนในชุมชนตองการแสดงออก การตีความพิพิธภัณฑในงานอนุรักษชุมชนบางครั้งไมไดยึดถือเรื่องราวของทองถิ่น เรื่องราวที่ นําเสนอออกไปจึงเปนการนําเสนอเรื่องราวเพียงดานเดียว เชนพิพิธภัณฑสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่เสนอแตความโหดรายของทหารญี่ปุน หรือเรื่องราวความรุนแรงตาง ๆ ซึ่งบางครั้งเมื่อเราลงไปหาขอมูลจริงกับคนที่อยูในสมัยนั้น เรากลับพบวามีเรื่องราวดี ๆ เกิดขึ้นมากมาย ที่ทหารญี่ปุนไดสรางไว แตเรื่องราวเหลานี้กลับไมไดถูกนําเสนอออกมา เมื่อพิพิธภัณฑชุมชนเกิดขึ้นมา คําถามที่ตามมา คือ “ทําไมพิพิธภัณฑชุมชนจํานวนมากไมประสบความสําเร็จ” คําตอบของ ปญหานี้มีอยูมากมายเริ่มจากเราไมมีการศึกษาเรื่อง มรดกวัฒนธรรม พิพิธภัณฑในสังคมไทยอยางจริงจัง นโยบายของรัฐจํากัดอํานาจ ทองถิ่นในการตัดสินใจ ชุมชนไมไดรับการเตรียมพรอมที่จะยืนหยัดดวยตนเอง มากกวานั้นนักวิชาการเขาไปชวยเหลือชุมชนนอยเกินไป การทํางานที่ขาดนวัตกรรม ไมมีการคิดงานใหม ๆ มีแตงานที่ลอกเลียนแบบมากกวา สุดทายคือเนนการทํางานที่กายภาพอยางไร เปาหมาย ยกตัวอยาง สิ่งของหรือเรื่องราวในทองถิ่นไมเคยถูกกลาวถึงเลยในพิพิธภัณฑ ไมใหความสนใจคนทองถิ่นวามีความเปนอยู อยางไร มีความคิดเปนอยางไร ซึ่งสาเหตุเหลานี้เปนปญหาที่นักวิชาการหรือภาครัฐไมใหความสําคัญ จนกระทั่งมีคนกลาววา “แหลงทุน หรือนักวิชาการตองใหเกียรติคนในทองถิ่นบาง คนทองถิ่นไมใชตาสีตาสา นักวิชาการสวนใหญอยูหมูบานจัดสรร คอนโด จะเขาใจชุมชนได ลึกซึ้งเพียงไร” จากคําพูดเหลานี้จึงพอสรุปไดวา การทํางานของนักวิชาการในชุมชนอาจไมมีประสิทธิภาพเพียงพอ การอนุรักษชุมชนในตางประเทศมีความตางกับไทยเปนอยางมาก ในประเทศสิงคโปร การทํางานอนุรักษของเขา คือ “ใหคนยาย ออก มีการซอมอาคาร หลังจากซอมเสร็จ คนเกาและคนใหมกลับเขามาอยูที่เดิม บางแหงผันตัวเองเปนศูนยขอมูลเพื่อการทองเที่ยว สุดทายรัฐบาลใหรางวัล” ในขณะที่ประเทศไทย คือ “ใหคนยายออกไป มีการซอมอาคารเหมือนกัน รัฐบาลยื่นขอรางวัลอนุรักษจากที่ ตาง ๆ ตอจากนั้นขึ้นคาเชา คนเดิมไมสามารถอยูได สุดทายก็เปลี่ยนคนอยูใหม” สุดทายทางออกที่ดีสุดของการอนุรักษชุมชนและการมีพิพิธภัณฑชุมชน คือ การสรางชุมชนใหเขมแข็งดวยตัวของชุมชนเอง พัฒนาธุรกิจของชุมชนใหเปนธุรกิจหลัก การทองเที่ยวเปนเพียงแคธุรกิจรอง นอกจากนั้นเราตองใหความรูกับชุมชนในทุก ๆ เรื่องเพื่อให ชุมชนสามารถดูแลตัวเองไดหลังจากที่ไดรับการฟนฟูหรือการอนุรักษไปแลว สุดทาย คือ การสรางเปาหมายของชุมชนใหชัดเจนเพื่อให งานทุกอยางที่ทําออกมาเปนรูปธรรมมากที่สุด พิพิธภัณฑในงานอนุรักษชุมชน ดร.เทียมสูรย สิริศรีศักดิ์ อาจารยประจําสาขาวัฒนธรรมศึกษา สถาบันวิจัย ภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล