SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
รายงานวิชาสัมมนา

                     เรื่ อง Mozilla Seabird เทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือแห่งอนาคต

                          โดย นางสาวเนตรนภิส รัตนะ รหัสนักศึกษา 13510191

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการออกแบบ
ประวัติ (วิกิพีเดีย,2554)

โครงการไฟร์ ฟอกซ์ริเริ่ มโดย เดฟ ไฮแอตต์ และ เบลก รอสส์ จากแนวความคิดการสร้างซอฟต์แวร์ แยกย่อย
มาจากโครงการมอซิลลา โดยตั้งใจพัฒนาโปรแกรมเดี่ยวที่ทางานมุ่งเน้นสาหรับเป็ นเว็บเบราว์เซอร์ แยก
ออกมาจากโปรแกรมชุดมอซิลลา (Mozilla Suite) โดยในวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2546 มูลนิธิมอซิลลาได้
ประกาศแผนการพัฒนามุ่งเน้นไปที่ไฟร์ ฟอกซ์และทันเดอร์เบิร์ดแทนที่โปรแกรมชุดมอซิลลา

ชื่อโครงการได้มีการเปลี่ยนชื่ อหลายครั้งกว่าจะมาเป็ นไฟร์ ฟอกซ์ ซึ่ งเริ่ มต้นที่ชื่อ "ฟี นิกซ์" (Phoenix) ต่อมา
ได้ถูกเปลี่ยนภายหลังจากมีปัญหาในด้านเครื่ องหมายการค้ากับบริ ษทฟี นิกซ์เทคโนโลยีผผลิตคอมพิวเตอร์
                                                                   ั                          ู้
ไบออส โดยเปลี่ยนมาเป็ นชื่อ "ไฟร์เบิร์ด" (Firebird) และอีกครั้งได้มีปัญหาชื่อซ้ าซ้อนกับระบบจัดการ
ฐานข้อมูลไฟร์ เบิร์ด และในวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 ทางมูลนิธิมอซิ ลลาได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้งมาเป็ น
"ไฟร์ฟอกซ์" (Firefox) โดยใช้ชื่อย่อว่า Fx หรื อ fx

ไฟร์ฟอกซ์ 1.0 ได้เปิ ดให้ใช้งานอย่างเป็ นทางการเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 โดยระหว่างนั้นได้มีการ
ปรับแก้ตลอดเวลารวมถึงเพิ่มระบบความปลอดภัยให้กบตัวซอฟต์แวร์ โดยรุ่ นถัดมาคือ ไฟร์ ฟอกซ์ 1.5 ที่
                                                      ั
ออกมาเมื่อ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 และตามมาด้วย ไฟร์ฟอกซ์ 2 เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2549 ซึ่งใน
                             ่
ปัจจุบนไฟร์ฟอกซ์ 3 กาลังอยูในขั้นทดสอบ
      ั

ผูนาโครงการปัจจุบนคือ เบน กูดเจอร์ (Ben Goodger - ปัจจุบนเป็ นพนักงานของกูเกิล แต่ยงคงทาหน้าที่น้ ี
  ้                ั                                    ั                          ั
    ่
อยู) ปั จจุบนมีผดาวน์โหลดไปมากกว่า 100 ล้านชุด และปริ มาณการใช้ในแถบยุโรปสู งขึ้นอย่างเห็นได้ชด
            ั ู้                                                                               ั
โดยเฉพาะอย่างยิงในประเทศฟิ นแลนด์
                 ่

สั ญลักษณ์

                                                         ่
สัญลักษณ์ของไฟร์ฟอกซ์ออกแบบโดย จอน ฮิกส์ ถึงแม้วาตัวโปรแกรมจะเป็ นซอฟต์แวร์ เสรี และโอเพน
ซอร์ส แต่สัญลักษณ์น้ ีเป็ นเครื่ องหมายการค้าของมูลนิธิมอซิลลา ดังนั้นผูอื่นที่เผยแพร่ ซอฟต์แวร์ น้ ีจึงไม่
                                                                        ้
สามารถใช้สัญลักษณ์น้ ีได้ (เช่น ไฟร์ ฟอกซ์ของโครงการเดเบียน เป็ นต้น)

ทีมาของสั ญลักษณ์ไฟร์ ฟอกซ์ (Chengings,2550)
  ่

ชื่อของไฟร์ ฟอกซ์น้ น หลายๆคนอาจจะแปลกันตรงตัวเลยว่า fire = ไฟ fox = หมาจิ้งจอก พอเอามารวมกันก็
                    ั
                                                                                            ่
คือ จิงจอกเพลิง แต่ความเป็ นจริ งแล้วนั้นทางมูลนิธิ Mozilla นั้นได้ให้ความหมายของไฟร์ ฟอกซ์วา แพนด้า
      ้
แดง
แพนด้าแดงนั้นมีในภาษาจีนเขียนได้ 2 แบบ แบบแรกคือ 小熊貓 (อ่านว่า เสี่ ยว โสวง เหมา) แปลว่า หมี
แพนด้าน้อย และอีกแบบหนึ่ งก็คือ 火狐 (อ่านว่า ฮัว ฮู) ถ้าแปลตามตัวอักษรเลยก็แปลว่าจิ้งจอกเพลิง แต่
ฮัวฮู คนจีนเขาจะหมายถึง จิ้งจอกแดง หรื อ แพนด้าแดง ซึ่งในที่น้ ีก็หมายถึงแพนด้าแดง ชื่อของตัวโปรแกรม
ในเวอร์ ชนภาษาจีนนั้นเขาจะใช้คาว่า 火狐 (อ่านว่า ฮัว ฮู) เป็ นชื่อโปรแกรมมอซิ ล่าไฟร์ ฟอกซ์
         ั่




                           รู ปภาพที่ 1-1 แสดงสัญลักษณ์ไฟร์ฟอกซ์ (2550)
                      ที่มา : Chengings. Chengings [online]. Accessed May 2550.
                Available from http://www.mhafai.com/2007/05/brand-real-name-firefox

ในเดือนตุลาคมปี 2546 นาย Steven Garrity (หนึ่ งในทีมงาน Silver orange) ได้เขียนบทความเกี่ยวกับ
เอกลักษณ์ทางภาพ (visual identity) ของมูลนิธิ Mozilla ที่เขาคิดว่าทาง Mozilla นั้นกาลังหลงทางอยู่ ซึ่ง
บทความนั้นก็เป็ นที่นิยมมากจนเกิดปรากฏการณ์ Slash dotted

หลังจากนั้นไม่นานนัก นาย Steven Garrity ก็ถูกชักชวนจากนาย Bart Decrem ให้มาร่ วมงานกับมูลนิธิ
Mozilla เพื่อเป็ นหัวหน้าทีมในการสร้างสัญลักษณ์ของไฟร์ฟอกซ์แทนที่ไฟร์ เบิร์ดที่ตองเลิกใช้ไป และนาย
                                                                                ้
Steven Garrity ก็ได้ชวนนาย Jon Hicks เข้ามาร่ วมทีมอีกคน

งานนี้ Jon Hicks ได้บอกว่ายากพอสมควรเพราะมีขอจากัดทางด้านเวลา (งานต้องสาเร็ จภายในวันที่ 2
                                                       ้
มกราคม 2547) ซึ่งภาพของไฟร์ ฟอกซ์จริ งๆนั้นต้องเป็ นแพนด้าแดง แต่เจ้าตัวแพนด้าแดง ไม่ได้ทาให้เกิด
ภาพหรื อสื่ ออะไรมากนัก ยิงกว่านั้นแพนด้าแดงก็ไม่ได้เป็ นที่รู้จกกันอย่างกว้างขวางด้วย เพราะฉะนั้นงาน
                             ่                                  ั
ในตอนแรกของ Jon Hicks ก็ได้ทาออกมาตามใจตัวเอง โดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากภาพหมาจิ้งจอกที่
       ่ ั
เขียนพูกนแบบญี่ปุ่น รู ปร่ างหน้าตาไฟร์ ฟอกซ์ที่ Jon Hicks สร้างออกมาในครั้งแรกเป็ นดังภาพ
รู ปภาพที่ 1-2 แสดงสัญลักษณ์ไฟร์ฟอกซ์ (2550)
                       ที่มา : Chengings. Chengings [online]. Accessed May 2550.
                Available from http://www.mhafai.com/2007/05/brand-real-name-firefox

แต่สัญลักษณ์ของไฟร์ ฟอกซ์น้ น ต้องสร้างขึ้นมาเพื่อให้เกิดความประทับใจ ไม่ใช่งานศิลป์ ที่ดูเกินจริ งแบบที่
                            ั
Jon Hicks ทา ซึ่ งไม่ได้ช่วยอะไรเลย เพราะฉะนั้น Daniel Burka จึงให้แนวคิดใหม่แล้วให้ Stephen
Desroches ร่ างภาพขึ้นมาคร่ าวๆ หลังจากนั้น Jon Hicks ก็ไปทาต่อโดยใช้โปรแกรม Fireworks MX
Illustrator และ Photoshop ในการสร้างสัญลักษณ์และไอคอน




                            รู ปภาพที่ 1-3 แสดงสัญลักษณ์ไฟร์ฟอกซ์ (2550)
                       ที่มา : Chengings. Chengings [online]. Accessed May 2550.
                Available from http://www.mhafai.com/2007/05/brand-real-name-firefox
ในเวอร์ ชนแรกๆที่ Jon Hicks ทานั้น มีจุดที่แก้ไขนิดหน่อยคือ แก้ขนบริ เวณศีรษะหน้าของไฟร์ ฟอกซ์ ขา
         ั่
หาง แล้วก็รูปโลก ซึ่งสัญลักษณ์ที่ Jon Hicks ทาในครั้งนี้น้ นสวยงามมาก ง่ายต่อการจดจา และไม่ได้สร้าง
                                                           ั
             ู้ ั
ความสับสนให้ผใช้กบไอคอนของโปรแกรมอื่นๆ เพราะฉะนั้นสัญลักษณ์ตวนี้ จึงได้รับเลือกในที่สุด
                                                            ั



ระบบปฏิบัติการใหม่ Mozilla Seabird (Takato,2554)

ทาง Mozilla ได้เผยระบบปฏิบติการตัวใหม่สาหรับสมาร์ ทโฟนและแท็บเล็ต ซึ่งเหมือนเป็ นการผสมผสาน
                             ั
Chrome เข้ากับ Android โดยหลักการทางานของมันคล้ายกับ Chrome OS คือการรันแอปพลิเคชันผ่านเบรา
                                                                                        ่
เซอร์ แต่พ้ืนฐานโครงสร้างของระบบปฏิบติการนี้ก็ยงเป็ น Android อยู่ โดยโปรเจคนี้มีชื่อว่า “Boot to
                                        ั         ั
Gecko” เพราะเป็ นการใช้ Gecko engine จาก Firefox ใส่ เข้าไปพร้อมทั้งเป็ นระบบเปิ ดด้วย

ถึงแม้จะมีโครงสร้างของ Android แต่การทางานของระบบจะเน้นไปที่การทางานบนเว็บเป็ นหลัก(เหมือน
                               ่                  ่ ั                                     ่
Chrome) การลงแอปพลิเคชันต้องใช้แอปพลิเคชันที่พฒนาจาก HTML5 และลง Browser โดยเบราเซอร์ ที่วา
นี้ก็คือเจ้า Firefox นันเอง ต่างกับ Android ที่ตองใช้ไฟล์ apk
                       ่                        ้

                   ั                   ่
โดยทาง Mozilla ก็ยงคงพัฒนาโปรเจคนี้ ตอไป และจะเริ่ มพัฒนาระบบปฏิบติการนี้ ให้ใช้บน CPU ของ
                                                                    ั
NVIDIA Tegra 2 ก่อน (NVIDIA เป็ นผูสนับสนุ นด้านอุปกรณ์สาหรับการพัฒนาในครั้งนี้)
                                   ้

คอนเซปต์ ของ Seabird (itday,2553)

ทาง Mozilla Labs ได้นาเสนอคอนเซปต์สมาร์ ทโฟนชื่ อว่า Seabird ที่มีคุณสมบัติที่โดดเด่น




                        รู ปภาพที่ 1-4 แสดงภาพโมเดล Mozilla Seabird (2553)
                          ที่มา : itday. itday [online]. Accessed October 2553.
                 Available from http://www.itday.in.th/mozilla-seabird-mobile-phone/
รู ปภาพที่ 1-5 แสดงภาพคีบอร์ดแสงพร้อมทัชแพด (2553)
                         ที่มา : itday. itday [online]. Accessed October 2553.
                 Available from http://www.itday.in.th/mozilla-seabird-mobile-phone/

Seabird คอนเซปต์สมาร์ทโฟนที่ทาง Mozilla Labs ได้ลองดีไซน์ตวเครื่ อง และคุณสมบัติตลอดจน
                                                          ั
ความสามารถในการทางานด้านต่างๆ ตั้งแต่สเป็ กพื้นฐานอย่างหน้าจอสัมผัสที่สมบูรณ์แบบ กล้องดิจิตอล
ความละเอียด 8 ล้านพิกเซล ตามด้วย"โปรเจกเตอร์ จิ๋ว" 2 ตัว ที่มีความสว่าง 45 ลูเมนส์ และความละเอียด
960x600 พิกเซล Seabird ใช้เทคโนโลยีการชาร์ จแบบไร้สาย (Wireless Charger) พอร์ ต mini-USB โดยที
ด้านหลังจะมีหูฟังไร้สายที่สามารถถอดออกจากตัวเครื่ องได้




                          รู ปภาพที่ 1-6 แสดงภาพการฉาย Projector (2553)
                         ที่มา : itday. itday [online]. Accessed October 2553.
                 Available from http://www.itday.in.th/mozilla-seabird-mobile-phone/
Mozilla Seabird สามารถใช้งานแบบมือถือทัวไปได้ ส่ วน หูฟังบลูทูธจะทางานได้ 2 อย่างคือ ใช้เป็ นหูฟัง
                                       ่
หรื อใช้แทนเมาส์ไร้สาย 3 มิติ โดยสามารถใช้นิ้วสัมผัสด้านหลังแทนการคลิกเมาส์ได้ดวย ส่ วนโปรเจกเตอร์
                                                                               ้
ที่ตองมี 2 ตัว เพราะเมื่อนา Seabird ไปวางบนแท่นโดยหันด้านข้าง Projector ด้านหนึ่งจะฉายภาพหน้าจอ
    ้
และอีกด้านหนึ่งจะฉายลงพื้นเป็ นคียบอร์ ดแสงพร้อมทัชแพด สาหรับการท่องเน็ตบนหน้าจอที่ใหญ่ข้ ึน
                                  ์

แนวคิด Mozilla Seabird (Newspaperthai,2554)

Mozilla Seabird ถูกสร้างโดย Billy May สมาชิกรายหนึ่งของ Mozilla Labs ที่จะสร้างแนวคิดว่า Web
Mobile Phone ควรจะเป็ นอย่างไร ซึ่ งเป็ นการทดลองพัฒนาเกี่ยวกับการที่จะให้ผใช้มือถือมีปฏิสัมพันธ์กบ
                                                                           ู้                     ั
เทคโนโลยีที่มีในเชิงลึก      เพราะหน่วยประมวลผลและการเชื่อมต่อของมือถือในปัจจุบนได้ถูกพัฒนาจน
                                                                               ั
ใกล้เคียงความสามารถของคอมพิวเตอร์ ต้ งโต๊ะแล้ว
                                     ั                   แต่ยงขาดความสามารถในการป้ อนข้อมูลอย่างมี
                                                             ั
ประสิ ทธิภาพ Seabird ยังได้แนะนาถึงความเป็ นไปได้อนน้อยนิ ดของการพัฒนาการไปสู่ เทคโนโลยีจบการ
                                                  ั                                      ั
เคลื่อนไหวที่แม่นยา และเทคโนโลยีโปรเจกเตอร์ ที่มีในท้องตลาดนามาสู่ อินเตอร์ เฟสผูใช้ที่ใช้งานง่ายและ
                                                                                 ้
ตรงกับความต้องการยิงขึ้นในพื้นที่สามมิติ
                   ่

Mozilla Seabird Specifications

„ Camera 8.0 MP กล้อง 8 ล้านพิกเซล

„ Dual Pico Projectors เครื่ องฉายภาพคู่ที่ดานข้าง (45 Lumens ที่ความละเอียด 960x600)
                                            ้

„ Bluetooth/IR Dongle หูฟังบลูทูธ/อินฟาเรด ในตัว สามารถใช้เป็ นคอนโทรลเลอร์ควบคุมเครื่ องได้

„ Wireless Charging ระบบชาร์จไฟแบบไร้สาย

„ Mini USB Port

„ 3.5 mm Audio Jack ช่องเสี ยบหูฟัง 3.5 มม.

„ Dock สามารถเชื่อมต่อกับแท่นวาง รับสัญญาณภาพจากเครื่ องคอมพิวเตอร์ ใช้เป็ น Display และ Virtul
Keyboard

More Related Content

Similar to Mozilla seabird_report

Ict300_4_edit
Ict300_4_editIct300_4_edit
Ict300_4_edit
Nicemooon
 
อินทุอร
อินทุอรอินทุอร
อินทุอร
Miw Inthuorn
 
อินทุอร
อินทุอรอินทุอร
อินทุอร
Miw Inthuorn
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
Pop Cholthicha
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i osคู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
Nisachol Poljorhor
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
Chalita Vitamilkz
 

Similar to Mozilla seabird_report (20)

Ict300_4_edit
Ict300_4_editIct300_4_edit
Ict300_4_edit
 
11111111111
1111111111111111111111
11111111111
 
11111111111
1111111111111111111111
11111111111
 
งาน I pad
งาน I padงาน I pad
งาน I pad
 
งาน I pad
งาน I padงาน I pad
งาน I pad
 
งาน I pad
งาน I padงาน I pad
งาน I pad
 
งาน I pad
งาน I padงาน I pad
งาน I pad
 
งาน I pad
งาน I padงาน I pad
งาน I pad
 
อินทุอร
อินทุอรอินทุอร
อินทุอร
 
อินทุอร
อินทุอรอินทุอร
อินทุอร
 
5++++++555
5++++++5555++++++555
5++++++555
 
งาน I pad
งาน I padงาน I pad
งาน I pad
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
11111111111
1111111111111111111111
11111111111
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i osคู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
 
123
123123
123
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
งาน
งานงาน
งาน
 
555555555555
555555555555555555555555
555555555555
 
555555555555
555555555555555555555555
555555555555
 

More from ยิ้ม เนตรนภิส (6)

Portfolio2013
Portfolio2013Portfolio2013
Portfolio2013
 
Toywatch_Sell
Toywatch_SellToywatch_Sell
Toywatch_Sell
 
Toywatch
ToywatchToywatch
Toywatch
 
Portfolio_netnapit
Portfolio_netnapitPortfolio_netnapit
Portfolio_netnapit
 
Mozillaseabird_report
Mozillaseabird_reportMozillaseabird_report
Mozillaseabird_report
 
Mozillaseabird_present
Mozillaseabird_presentMozillaseabird_present
Mozillaseabird_present
 

Mozilla seabird_report

  • 1. รายงานวิชาสัมมนา เรื่ อง Mozilla Seabird เทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือแห่งอนาคต โดย นางสาวเนตรนภิส รัตนะ รหัสนักศึกษา 13510191 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการออกแบบ
  • 2. ประวัติ (วิกิพีเดีย,2554) โครงการไฟร์ ฟอกซ์ริเริ่ มโดย เดฟ ไฮแอตต์ และ เบลก รอสส์ จากแนวความคิดการสร้างซอฟต์แวร์ แยกย่อย มาจากโครงการมอซิลลา โดยตั้งใจพัฒนาโปรแกรมเดี่ยวที่ทางานมุ่งเน้นสาหรับเป็ นเว็บเบราว์เซอร์ แยก ออกมาจากโปรแกรมชุดมอซิลลา (Mozilla Suite) โดยในวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2546 มูลนิธิมอซิลลาได้ ประกาศแผนการพัฒนามุ่งเน้นไปที่ไฟร์ ฟอกซ์และทันเดอร์เบิร์ดแทนที่โปรแกรมชุดมอซิลลา ชื่อโครงการได้มีการเปลี่ยนชื่ อหลายครั้งกว่าจะมาเป็ นไฟร์ ฟอกซ์ ซึ่ งเริ่ มต้นที่ชื่อ "ฟี นิกซ์" (Phoenix) ต่อมา ได้ถูกเปลี่ยนภายหลังจากมีปัญหาในด้านเครื่ องหมายการค้ากับบริ ษทฟี นิกซ์เทคโนโลยีผผลิตคอมพิวเตอร์ ั ู้ ไบออส โดยเปลี่ยนมาเป็ นชื่อ "ไฟร์เบิร์ด" (Firebird) และอีกครั้งได้มีปัญหาชื่อซ้ าซ้อนกับระบบจัดการ ฐานข้อมูลไฟร์ เบิร์ด และในวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 ทางมูลนิธิมอซิ ลลาได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้งมาเป็ น "ไฟร์ฟอกซ์" (Firefox) โดยใช้ชื่อย่อว่า Fx หรื อ fx ไฟร์ฟอกซ์ 1.0 ได้เปิ ดให้ใช้งานอย่างเป็ นทางการเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 โดยระหว่างนั้นได้มีการ ปรับแก้ตลอดเวลารวมถึงเพิ่มระบบความปลอดภัยให้กบตัวซอฟต์แวร์ โดยรุ่ นถัดมาคือ ไฟร์ ฟอกซ์ 1.5 ที่ ั ออกมาเมื่อ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 และตามมาด้วย ไฟร์ฟอกซ์ 2 เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2549 ซึ่งใน ่ ปัจจุบนไฟร์ฟอกซ์ 3 กาลังอยูในขั้นทดสอบ ั ผูนาโครงการปัจจุบนคือ เบน กูดเจอร์ (Ben Goodger - ปัจจุบนเป็ นพนักงานของกูเกิล แต่ยงคงทาหน้าที่น้ ี ้ ั ั ั ่ อยู) ปั จจุบนมีผดาวน์โหลดไปมากกว่า 100 ล้านชุด และปริ มาณการใช้ในแถบยุโรปสู งขึ้นอย่างเห็นได้ชด ั ู้ ั โดยเฉพาะอย่างยิงในประเทศฟิ นแลนด์ ่ สั ญลักษณ์ ่ สัญลักษณ์ของไฟร์ฟอกซ์ออกแบบโดย จอน ฮิกส์ ถึงแม้วาตัวโปรแกรมจะเป็ นซอฟต์แวร์ เสรี และโอเพน ซอร์ส แต่สัญลักษณ์น้ ีเป็ นเครื่ องหมายการค้าของมูลนิธิมอซิลลา ดังนั้นผูอื่นที่เผยแพร่ ซอฟต์แวร์ น้ ีจึงไม่ ้ สามารถใช้สัญลักษณ์น้ ีได้ (เช่น ไฟร์ ฟอกซ์ของโครงการเดเบียน เป็ นต้น) ทีมาของสั ญลักษณ์ไฟร์ ฟอกซ์ (Chengings,2550) ่ ชื่อของไฟร์ ฟอกซ์น้ น หลายๆคนอาจจะแปลกันตรงตัวเลยว่า fire = ไฟ fox = หมาจิ้งจอก พอเอามารวมกันก็ ั ่ คือ จิงจอกเพลิง แต่ความเป็ นจริ งแล้วนั้นทางมูลนิธิ Mozilla นั้นได้ให้ความหมายของไฟร์ ฟอกซ์วา แพนด้า ้ แดง
  • 3. แพนด้าแดงนั้นมีในภาษาจีนเขียนได้ 2 แบบ แบบแรกคือ 小熊貓 (อ่านว่า เสี่ ยว โสวง เหมา) แปลว่า หมี แพนด้าน้อย และอีกแบบหนึ่ งก็คือ 火狐 (อ่านว่า ฮัว ฮู) ถ้าแปลตามตัวอักษรเลยก็แปลว่าจิ้งจอกเพลิง แต่ ฮัวฮู คนจีนเขาจะหมายถึง จิ้งจอกแดง หรื อ แพนด้าแดง ซึ่งในที่น้ ีก็หมายถึงแพนด้าแดง ชื่อของตัวโปรแกรม ในเวอร์ ชนภาษาจีนนั้นเขาจะใช้คาว่า 火狐 (อ่านว่า ฮัว ฮู) เป็ นชื่อโปรแกรมมอซิ ล่าไฟร์ ฟอกซ์ ั่ รู ปภาพที่ 1-1 แสดงสัญลักษณ์ไฟร์ฟอกซ์ (2550) ที่มา : Chengings. Chengings [online]. Accessed May 2550. Available from http://www.mhafai.com/2007/05/brand-real-name-firefox ในเดือนตุลาคมปี 2546 นาย Steven Garrity (หนึ่ งในทีมงาน Silver orange) ได้เขียนบทความเกี่ยวกับ เอกลักษณ์ทางภาพ (visual identity) ของมูลนิธิ Mozilla ที่เขาคิดว่าทาง Mozilla นั้นกาลังหลงทางอยู่ ซึ่ง บทความนั้นก็เป็ นที่นิยมมากจนเกิดปรากฏการณ์ Slash dotted หลังจากนั้นไม่นานนัก นาย Steven Garrity ก็ถูกชักชวนจากนาย Bart Decrem ให้มาร่ วมงานกับมูลนิธิ Mozilla เพื่อเป็ นหัวหน้าทีมในการสร้างสัญลักษณ์ของไฟร์ฟอกซ์แทนที่ไฟร์ เบิร์ดที่ตองเลิกใช้ไป และนาย ้ Steven Garrity ก็ได้ชวนนาย Jon Hicks เข้ามาร่ วมทีมอีกคน งานนี้ Jon Hicks ได้บอกว่ายากพอสมควรเพราะมีขอจากัดทางด้านเวลา (งานต้องสาเร็ จภายในวันที่ 2 ้ มกราคม 2547) ซึ่งภาพของไฟร์ ฟอกซ์จริ งๆนั้นต้องเป็ นแพนด้าแดง แต่เจ้าตัวแพนด้าแดง ไม่ได้ทาให้เกิด ภาพหรื อสื่ ออะไรมากนัก ยิงกว่านั้นแพนด้าแดงก็ไม่ได้เป็ นที่รู้จกกันอย่างกว้างขวางด้วย เพราะฉะนั้นงาน ่ ั ในตอนแรกของ Jon Hicks ก็ได้ทาออกมาตามใจตัวเอง โดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากภาพหมาจิ้งจอกที่ ่ ั เขียนพูกนแบบญี่ปุ่น รู ปร่ างหน้าตาไฟร์ ฟอกซ์ที่ Jon Hicks สร้างออกมาในครั้งแรกเป็ นดังภาพ
  • 4. รู ปภาพที่ 1-2 แสดงสัญลักษณ์ไฟร์ฟอกซ์ (2550) ที่มา : Chengings. Chengings [online]. Accessed May 2550. Available from http://www.mhafai.com/2007/05/brand-real-name-firefox แต่สัญลักษณ์ของไฟร์ ฟอกซ์น้ น ต้องสร้างขึ้นมาเพื่อให้เกิดความประทับใจ ไม่ใช่งานศิลป์ ที่ดูเกินจริ งแบบที่ ั Jon Hicks ทา ซึ่ งไม่ได้ช่วยอะไรเลย เพราะฉะนั้น Daniel Burka จึงให้แนวคิดใหม่แล้วให้ Stephen Desroches ร่ างภาพขึ้นมาคร่ าวๆ หลังจากนั้น Jon Hicks ก็ไปทาต่อโดยใช้โปรแกรม Fireworks MX Illustrator และ Photoshop ในการสร้างสัญลักษณ์และไอคอน รู ปภาพที่ 1-3 แสดงสัญลักษณ์ไฟร์ฟอกซ์ (2550) ที่มา : Chengings. Chengings [online]. Accessed May 2550. Available from http://www.mhafai.com/2007/05/brand-real-name-firefox
  • 5. ในเวอร์ ชนแรกๆที่ Jon Hicks ทานั้น มีจุดที่แก้ไขนิดหน่อยคือ แก้ขนบริ เวณศีรษะหน้าของไฟร์ ฟอกซ์ ขา ั่ หาง แล้วก็รูปโลก ซึ่งสัญลักษณ์ที่ Jon Hicks ทาในครั้งนี้น้ นสวยงามมาก ง่ายต่อการจดจา และไม่ได้สร้าง ั ู้ ั ความสับสนให้ผใช้กบไอคอนของโปรแกรมอื่นๆ เพราะฉะนั้นสัญลักษณ์ตวนี้ จึงได้รับเลือกในที่สุด ั ระบบปฏิบัติการใหม่ Mozilla Seabird (Takato,2554) ทาง Mozilla ได้เผยระบบปฏิบติการตัวใหม่สาหรับสมาร์ ทโฟนและแท็บเล็ต ซึ่งเหมือนเป็ นการผสมผสาน ั Chrome เข้ากับ Android โดยหลักการทางานของมันคล้ายกับ Chrome OS คือการรันแอปพลิเคชันผ่านเบรา ่ เซอร์ แต่พ้ืนฐานโครงสร้างของระบบปฏิบติการนี้ก็ยงเป็ น Android อยู่ โดยโปรเจคนี้มีชื่อว่า “Boot to ั ั Gecko” เพราะเป็ นการใช้ Gecko engine จาก Firefox ใส่ เข้าไปพร้อมทั้งเป็ นระบบเปิ ดด้วย ถึงแม้จะมีโครงสร้างของ Android แต่การทางานของระบบจะเน้นไปที่การทางานบนเว็บเป็ นหลัก(เหมือน ่ ่ ั ่ Chrome) การลงแอปพลิเคชันต้องใช้แอปพลิเคชันที่พฒนาจาก HTML5 และลง Browser โดยเบราเซอร์ ที่วา นี้ก็คือเจ้า Firefox นันเอง ต่างกับ Android ที่ตองใช้ไฟล์ apk ่ ้ ั ่ โดยทาง Mozilla ก็ยงคงพัฒนาโปรเจคนี้ ตอไป และจะเริ่ มพัฒนาระบบปฏิบติการนี้ ให้ใช้บน CPU ของ ั NVIDIA Tegra 2 ก่อน (NVIDIA เป็ นผูสนับสนุ นด้านอุปกรณ์สาหรับการพัฒนาในครั้งนี้) ้ คอนเซปต์ ของ Seabird (itday,2553) ทาง Mozilla Labs ได้นาเสนอคอนเซปต์สมาร์ ทโฟนชื่ อว่า Seabird ที่มีคุณสมบัติที่โดดเด่น รู ปภาพที่ 1-4 แสดงภาพโมเดล Mozilla Seabird (2553) ที่มา : itday. itday [online]. Accessed October 2553. Available from http://www.itday.in.th/mozilla-seabird-mobile-phone/
  • 6. รู ปภาพที่ 1-5 แสดงภาพคีบอร์ดแสงพร้อมทัชแพด (2553) ที่มา : itday. itday [online]. Accessed October 2553. Available from http://www.itday.in.th/mozilla-seabird-mobile-phone/ Seabird คอนเซปต์สมาร์ทโฟนที่ทาง Mozilla Labs ได้ลองดีไซน์ตวเครื่ อง และคุณสมบัติตลอดจน ั ความสามารถในการทางานด้านต่างๆ ตั้งแต่สเป็ กพื้นฐานอย่างหน้าจอสัมผัสที่สมบูรณ์แบบ กล้องดิจิตอล ความละเอียด 8 ล้านพิกเซล ตามด้วย"โปรเจกเตอร์ จิ๋ว" 2 ตัว ที่มีความสว่าง 45 ลูเมนส์ และความละเอียด 960x600 พิกเซล Seabird ใช้เทคโนโลยีการชาร์ จแบบไร้สาย (Wireless Charger) พอร์ ต mini-USB โดยที ด้านหลังจะมีหูฟังไร้สายที่สามารถถอดออกจากตัวเครื่ องได้ รู ปภาพที่ 1-6 แสดงภาพการฉาย Projector (2553) ที่มา : itday. itday [online]. Accessed October 2553. Available from http://www.itday.in.th/mozilla-seabird-mobile-phone/
  • 7. Mozilla Seabird สามารถใช้งานแบบมือถือทัวไปได้ ส่ วน หูฟังบลูทูธจะทางานได้ 2 อย่างคือ ใช้เป็ นหูฟัง ่ หรื อใช้แทนเมาส์ไร้สาย 3 มิติ โดยสามารถใช้นิ้วสัมผัสด้านหลังแทนการคลิกเมาส์ได้ดวย ส่ วนโปรเจกเตอร์ ้ ที่ตองมี 2 ตัว เพราะเมื่อนา Seabird ไปวางบนแท่นโดยหันด้านข้าง Projector ด้านหนึ่งจะฉายภาพหน้าจอ ้ และอีกด้านหนึ่งจะฉายลงพื้นเป็ นคียบอร์ ดแสงพร้อมทัชแพด สาหรับการท่องเน็ตบนหน้าจอที่ใหญ่ข้ ึน ์ แนวคิด Mozilla Seabird (Newspaperthai,2554) Mozilla Seabird ถูกสร้างโดย Billy May สมาชิกรายหนึ่งของ Mozilla Labs ที่จะสร้างแนวคิดว่า Web Mobile Phone ควรจะเป็ นอย่างไร ซึ่ งเป็ นการทดลองพัฒนาเกี่ยวกับการที่จะให้ผใช้มือถือมีปฏิสัมพันธ์กบ ู้ ั เทคโนโลยีที่มีในเชิงลึก เพราะหน่วยประมวลผลและการเชื่อมต่อของมือถือในปัจจุบนได้ถูกพัฒนาจน ั ใกล้เคียงความสามารถของคอมพิวเตอร์ ต้ งโต๊ะแล้ว ั แต่ยงขาดความสามารถในการป้ อนข้อมูลอย่างมี ั ประสิ ทธิภาพ Seabird ยังได้แนะนาถึงความเป็ นไปได้อนน้อยนิ ดของการพัฒนาการไปสู่ เทคโนโลยีจบการ ั ั เคลื่อนไหวที่แม่นยา และเทคโนโลยีโปรเจกเตอร์ ที่มีในท้องตลาดนามาสู่ อินเตอร์ เฟสผูใช้ที่ใช้งานง่ายและ ้ ตรงกับความต้องการยิงขึ้นในพื้นที่สามมิติ ่ Mozilla Seabird Specifications „ Camera 8.0 MP กล้อง 8 ล้านพิกเซล „ Dual Pico Projectors เครื่ องฉายภาพคู่ที่ดานข้าง (45 Lumens ที่ความละเอียด 960x600) ้ „ Bluetooth/IR Dongle หูฟังบลูทูธ/อินฟาเรด ในตัว สามารถใช้เป็ นคอนโทรลเลอร์ควบคุมเครื่ องได้ „ Wireless Charging ระบบชาร์จไฟแบบไร้สาย „ Mini USB Port „ 3.5 mm Audio Jack ช่องเสี ยบหูฟัง 3.5 มม. „ Dock สามารถเชื่อมต่อกับแท่นวาง รับสัญญาณภาพจากเครื่ องคอมพิวเตอร์ ใช้เป็ น Display และ Virtul Keyboard