SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
1
บทที่ 1
บทนำ
แนวคิด ที่มำ และควำมสำคัญของโครงงำน
ในโลกของการติดต่อสื่อสารในปัจจุบันได้มีการพัฒนาที่ก้าวหน้าเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะการ
สื่อสารแบบไร้สาย ที่ได้มีการพัฒนาความเร็วในการรับส่งข้อมูลที่สูงขึ้น จากเดิมที่มีการส่งได้เพียงข้อความ
สั้น(SMS :Short Message Service) และ MMS(Multimedia Messaging Service) ปัจจุบันสามารถทาการ
โทรศัพท์แบบเห็นหน้าคู่สนทนากันได้ (Video Call) แต่ต้องผ่านทางระบบของวายฟาย Wi-Fi (wireless
fidelity) หรือ ระบบ 3G (Third Generation of Mobile Telephone)
ซึ่งสาหรับประเทศไทยแล้ว อุปกรณ์มือถือ และอุปกรณ์พกพา ส่วนมากในตลาดจะรองรับระบบ
การรับส่งข้อมูลความเร็วสูงเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และได้รับความนิยมจากผู้ใช้งานเป็นจานวนมาก โดย
อุปกรณ์ส่วนใหญ่ที่มีอยู่ในท้องตลาด จะมีระบบปฏิบัติการเป็นของตัวเอง ที่ไม่เหมือนกับระบบปฏิบัติการที่
อยู่บนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC :Personal Computer) ส่งผลให้แนวทางในการพัฒนาโปรแกรม เพื่อ
นาไปใช้งานบนอุปกรณ์เหล่านั้นยุ่งยาก และหลากหลายขึ้น
ระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์ดังกล่าว มีอยู่หลายตัวกันเช่น Android, iOS, Windows Phone,
BlackBerry, Symbian, webOS, MeeGo และ QNX เป็ นต้น โดยลักษณะของระบบปฏิบัติการข้างต้น
ส่วนมากจะเป็นประเภทไม่เปิดเผยซอร์ฟแวร์ต้นฉบับ (Closed Source) ซึ่งหมายความว่า ระบบปฏิบัติการ
ดังกล่าว ไม่สามารถนามาศึกษา ดัดแปลงการทางานของระบบปฏิบัติการเพื่อนาไปใช้งานตามที่ต้องการได้
ทาให้เกิดความไม่สะดวกในการพัฒนา และการพัฒนาจะถูกกาหนดทิศทางโดยบริษัทเจ้าของลิขสิทธิ์
วัตถุประสงค์
1.มีความรู้ความเข้าใจ เพื่อสร้างสื่อการเรียนการสอน E-Book เรื่องระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์
(Android )ได้ และสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วิธีกำร
ขั้นตอนการดาเนินงาน
2.1 ศึกษา/สารวจข้อมูลเพื่อจัดทาโครงงาน
2.2 นาเสนอโครงงานเพื่อให้ได้รับการอนุมัติ
2
2.3 ศึกษา/สารวจรายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android)
2.4 จัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe Audition ในรูปแบบการบันทึกต่างๆ
2.5 เตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องสร้างชิ้นงาน ได้แก่ โปรแกรม Flip Album และระบบปฏิบัติการ
แอนดรอยด์ (Android)และออกแบบเทคนิคต่างๆ วิธีการสร้าง
2.6 สร้างชิ้นงานจากโปรแกรม Flip Album เรื่อง ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android)
2.7 ประเมินคุณภาพต้นแบบชิ้นงานโดยให้อาจารย์ประเมินชิ้นงาน
2.8 ปรับปรุงต้นแบบชิ้นงานที่ได้จากคาแนะนาของอาจารย์
2.9 ทดลองชิ้นงานกับกลุ่มตัวอย่างเพื่อหาประสิทธิภาพ
2.10 วิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่ไปหาประสิทธ์ภาพมา
2.11 เขียนรายงานในการจัดตั้งโครงงาน
2.12 บันทึกลง CD-ROM
2.13 นาเสนอรายงาน
2.14 จัดนิทรรศการ
ผลที่คำดว่ำจะได้รับ
1.ได้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่มีประสิทธิภาพ 90%
2.ได้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่มีความทันสมัยและเนื้อที่ครบถ้วน
เอกสำรอ้ำงอิง/บรรณำนุกรม
บุญเกียรติ เจตจานงนุช. สร้ำงบทเรียน e-Book จำก Template เข้าถึงได้จาก:
http://chonlinet.lib.buu.ac.th/opac/index.html สานักหอสมุดมหาวิทยาลัยบูรพา
(วันที่ค้นข้อมูล: 13 กุมพาพันธ์ 2558).
นางธันยะวีร์ ค้าขาย. (ม.ป.ป.). บทเรียนออนไลน์ เรื่องกำรสร้ำง E-book ด้วย Filp album 6 Pro.
เข้าถึงได้จาก: http://www.srb1.go.th/anuban/e_book/meanebook.htm (วันที่ค้นข้อมูล: 22 มกราคม 2558).
ชัยยงค์ พรหมวงศ์ และคณะ. ระบบสื่อการสอน. กรุงเทพมหานคร : คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2520.
http://android.kapook.com/view51072.html
3
http://www.sourcecode.in.th/articles.php?id=71
http://android.kapook.com/howto?p=2
4
บทที่ 2
หลักกำรเกี่ยวกับระบบปฏิบัติกำรแอนดรอยด์ (Android)
ประวัติควำมเป็นมำ
เริ่มต้นระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ถูกพัฒนามาจากบริษัท แอนดรอยด์ (Android Inc.) เมื่อปี พ.ศ
2546 โดยมีนาย แอนดี้ รูบิน (Andy Rubin) ผู้ให้กาเนิดระบบปฏิบัติการนี้ และถูกบริษัท กูเกิ้ล ซื้อกิจการเมื่อ
เดือนสิงหาคม ปี พ.ศ 2548 โดยบริษัทแอนดรอยด์ ได้กลายเป็นมาบริษัทลูก ของบริษัทกูเกิ้ล และยังมีนาย
แอนดี้ รูบิน ดาเนินงานอยู่ในทีมพัฒนาระบบปฏิบัติการต่อไป
ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาจากการนาเอา แกนกลางของระบบปฏิบัติการ
ลินุกซ์ (Linux Kernel) ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบมาเพื่อทางานเป็นเครื่องให้บริการ (Server) มา
พัฒนาต่อ เพื่อให้กลายเป็นระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์พกพา (Mobile Operating System)
ต่อมาเมื่อเดือน พฤศจิกายน ปี พ.ศ 2550 บริษัทกูเกิ้ล ได้ทาการก่อตั้งสมาคม OHA (Open Handset
Alliance, http://www.openhandsetalliance.com) เพื่อเป็นหน่วยงานกลางในการกาหนดมาตรฐานกลาง ของ
อุปกรณ์พกพาและระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ โดยมีสมาชิกในช่วงก่อนตั้งจานวน 34 รายเข้าร่วม ซึ่ง
ประกอบไปด้วยบริษัทชั้นนาที่ดาเนินธุรกิจด้าการสื่อสาร เช่น โรงงานผลิตอุปกรณ์พกพา, บริษัทพัฒนา
โปรแกรม, ผู้ให้บริการสื่อสาร และผู้ผลิตอะไหล่อุปกรณ์ด้านสื่อสาร
5
[[รูป 1-3 : สมาคม OHA (Open Handset Alliance)]]
หลังจากนั้น เมื่อเดือนตุลาคม ปี พ.ศ 2551 บริษัท กูเกิ้ล ได้เปิดตัวมือถือตัวแรกที่ใช้ระบบปฏิบัติการ
แอนดรอยด์ ที่ชื่อ T-Mobile G1 หรืออีกชื่อนึงคือ HTC Dream โดยใช้แอนดรอยด์รุ่น 1.1 และหลังจากนั้น
ได้มีการปรับพัฒนาระบบปฏิบัติการเป็นรุ่นใหม่ มาเป็นลาดับ
[[รูป 1-4 : T-Mobile G1/HTC Dream]] [[01-04-01.bmp]]
ช่วงต่อมาได้มีการออกผลิตภัณฑ์จากบริษัทต่างๆ ออกมาหลากหลายรุ่น หลากหลายยี่ห้อ ตามการ
พัฒนาระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ที่มีอยู่อย่างต่อเนื่อง ทาให้สินค้าของแอนดรอยด์ มีให้เลือกอยู่อย่าง
มากมาย
6
[[รูป 1-5 : Android Device]]
Samsung: Nexus S HTC: EVO 4G
Motorola: Droid2
Motorola: XOOM HTC: Flyer
7
โครงสร้ำงของแอนดรอยด์
การทาความเข้าใจโครงสร้างของระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ถือว่าเป็ นสิ่งสาคัญเพราะถ้า
นักพัฒนาโปรแกรม สามารถมองภาพโดยรวมของระบบได้ทั้งหมด จะให้สามารถเข้าใจถึงกระบวนการ
ทางานได้ดียิ่งขึ้น และสามารถนาไปช่วยในการออกแบบโปรแกรมที่ต้องการพัฒนา เพื่อให้เกิด
ประสิทธิภาพในการทางาน
[[รูป 1-6 : Android Architecture]]
จากโครงสร้างของระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ จะสังเกตุได้ว่า มีการแบ่งออกมาเป็นส่วนๆ ที่มี
ความเกี่ยวเนื่องกัน โดยส่วนบนสุดจะเป็นส่วนที่ผู้ใช้งานทาการติดต่อโดยตรงซึ่งก็คือส่วนของ
(Applications) จากนั้นก็จะลาดับลงมาเป็นองค์ประกอบอื่นๆตามลาดับ และสุดท้ายจะเป็นส่วนที่ติดต่อกับ
อุปกรณ์โดยผ่านทาง Linux Kernel โครงสร้างของแอนดรอยด์ พอที่จะอธิบายเป็นส่วนๆได้ดังนี้
 Applications ส่วน Application หรือส่วนของโปรแกรมที่มีมากับระบบปฏิบัติการ หรือเป็นกลุ่ม
ของโปรแกรมที่ผู้ใช้งานได้ทาการติดตั้งไว้โดยผู้ใช้งานสามารถเรียกใช้โปรแกรมต่างๆได้โดยตรง
8
ซึ่งการทางานของแต่ละโปรแกรมจะเป็นไปตามที่ผู้พัฒนาโปรแกรมได้ออกแบบและเขียนโค้ด
โปรแกรมเอาไว้
 Application Frameworkเป็นส่วนที่มีการพัฒนาขึ้นเพื่อให้นักพัฒนาสามารถพัฒนาโปรแกรมได้
สะดวก และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยนักพัฒนาไม่จาเป็นต้องพัฒนาในส่วนที่มีความยุ่งยาก
มากๆ เพียงแค่ทาการศึกษาถึงวิธีการเรียกใช้งาน Application Framework ในส่วนที่ต้องการใช้งาน
แล้วนามาใช้งาน ซึ่งมีหลายกลุ่มด้วยกัน ตัวอย่างเช่น
o Activities Manager เป็นกลุ่มของชุดคาสั่งที่จัดการเกี่ยวกับวงจรการทางานของหน้าต่าง
โปรแกรม(Activity)
o Content Providers เป็นกลุ่มของชุดคาสั่ง ที่ใช้ในการเข้าถึงข้อมูลของโปรแกรมอื่น และ
สามารถแบ่งปันข้อมูลให้โปรแกรมอื่นเข้าถึงได้
o View System เป็นกลุ่มของชุดคาสั่งที่เกี่ยวกับการจัดการโครงสร้างของหน้าจอที่แสดงผล
ในส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้งาน (User Interface)
o Telephony Manager เป็นกลุ่มของชุดคาสั่งที่ใช้ในการเข้าถึงข้อมูลด้านโทรศัพท์ เช่น
หมายเลขโทรศัพท์ เป็นต้น
o Resource Manager เป็นกลุ่มของชุดคาสั่งในการเข้าถึงข้อมูลที่เป็น ข้อความ, รูปภาพ
o Location Manager เป็นกลุ่มของชุดคาสั่งที่เกี่ยวกับตาแหน่งทางภูมิศาตร์ ที่
ระบบปฏิบัติการได้รับค่าจากอุปกรณ์
o Notification Manager เป็นกลุ่มของชุดคาสั่งที่จะถูกเรียกใช้เมื่อโปรแกรม ต้องการแสดงผล
ให้กับผู้ใช้งาน ผ่านทางแถบสถานะ(Status Bar) ของหน้าจอ
 Libraries เป็ นส่วนของชุดคาสั่งที่พัฒนาด้วย C/C++ โดยแบ่งชุดคาสั่งออกเป็ นกลุ่มตาม
วัตถุประสงค์ของการใช้งาน เช่น Surface Manage จัดการเกี่ยวกับการแสดงผล, Media Framework
จัดการเกี่ยวกับการการแสดงภาพและเสียง, Open GL | ES และ SGL จัดการเกี่ยวกับภาพ 3มิติ และ
2มิติ, SQLlite จัดการเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล เป็นต้น
 Android Runtime จะมี Darvik Virtual Machine ที่ถูกออกแบบมา เพื่อให้ทางานบนอุปกรณ์ที่มี
หน่วยความจา(Memmory), หน่วยประมวลผลกลาง(CPU) และพลังงาน(Battery)ที่จากัด ซึ่งการ
ทางานของ Darvik Virtual Machine จะทาการแปลงไฟล์ที่ต้องการทางาน ไปเป็นไฟล์ .DEX ก่อน
การทางาน เหตุผลก็เพื่อให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นเมื่อใช้งานกับ หน่วยประมวลผลกลางที่มี
9
ความเร็วไม่มาก ส่วนต่อมาคือ Core Libraries ที่เป็นส่วนรวบรวมคาสั่งและชุดคาสั่งสาคัญ โดยถูก
เขียนด้วยภาษาจาวา (Java Language)
 Linux Kernel เป็นส่วนที่ทาหน้าที่หัวใจสาคัญ ในจัดการกับบริการหลักของระบบปฏิบัติการ เช่น
เรื่องหน่วยความจา พลังงาน ติดต่อกับอุปกรณ์ต่างๆ ความปลอดภัย เครือข่าย โดยแอนดรอยด์ได้
นาเอาส่วนนี้มาจากระบบปฏิบัติการลินุกซ์ รุ่น 2.6 (Linux 26. Kernel) ซึ่งได้มีการออกแบบมาเป็น
อย่างดี
รุ่นต่ำงๆ ของแอนดรอยด์
หลังจากที่บริษัท กูเกิ้ล ได้ซื้อบริษัท แอนดรอยด์ และได้มีการก่อตั้งสมาคม สมาคม OHA (Open Handset
Alliance) เป็นที่เรียบร้อย ทางกูเกิ้ลก็ได้มีการพัฒนาระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ขึ้นมาเป็นลาดับ โดยพอ
สังเขป ได้ดังนี้
 รุ่น 1.0 , 23 กันยายน 2551
 รุ่น 1.5 (Cupcake), 30 เมษายน 2552
 รุ่น 1.6 (Donut), 15 กันยายน 2552
 รุ่น 2.0 (Éclair), 26 ตุลาคม 2552
 รุ่น 2.2 (Froyo), 20 พฤษภาคม 2553
 รุ่น 2.3 (Gingerbread), 6 ธันวาคม 2553
 รุ่น 3.0 (Honeycomb), 22 กุมภาพันธ์ 2554
 รุ่น4.0Ice Cream Sandwich (ไอศกรีมแซนด์วิช)19 ตุลาคม 2554
 รุ่น 4.1Jelly Bean (เจลลีบีน) 28 มิถุนายน 2555
[[รูป 1-7 : Android Logo]]
V1.5 Cupcake V1.6 Donut V2.0 Eclari
10
V2.2 Froyo V2.3 Gingerbread V3.0 Honeycomb
และภายในปี พ.ศ 2554 นี้ ทางบริษัทกูเกิ้ล มีแผนจะออกรุ่นใหม่อีก 1 รุ่น นับว่าเป็นการพัฒนาการ ของแอน
ดรอยด์ที่มีอยู่อย่างต่อเนื่อง แต่หากมองในส่วนของจานวนผู้ใช้ต่อรุ่นแล้วนั้น จากการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก
Android Market จะพบได้ว่า รุ่นที่มีการใช้งานมากที่สุด (ข้อมูล ณ 15 มีนาคม 2554) จะเป็นรุ่น 2.2 (Froyo)
[[รูป 1-8 : Current Distribution]] [[01-08-01.bmp]]
ข้อเด่นของแอนดรอยด์
เนื่องจากระบบปฏิบัตการแอนดรอยด์มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว และมีส่วนแบ่งตลาดของ
อุปกรณ์ด้านนี้ ขึ้นทุกขณะ ทาให้กลุ่มผู้ใช้งาน และกลุ่มนักพัฒนาโปรแกรม ให้ความสาคัญกับ
ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์เพิ่มมากขึ้น
11
เมื่อมองในด้านของกลุ่มผลิตภัณฑ์ บริษัทที่มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์รุ่นใหม่ ได้มีการนาเอา
ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ไปใช้ในสินค้าของตนเอง พร้อมทั้งยังมีการปรับแต่งให้ระบบปฏิบัติการมี
ความสามารถ การจัดวาง โปรแกรม และลูกเล่นใหม่ๆ ที่แตกต่างจากคู่แข่งในท้องตลาด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
กลุ่มสินค้าที่เป็น มือถือรุ่นใหม่ (SmartPhone) และอุปกรณ์จอสัมผัส (Touch Screen) โดยมีคุณลักษณะ
แตกต่างกันไป เช่นขนาดหน้าจอ ระบบโทรศัพท์ ความเร็วของหน่วยประมวลผล ปริมาณหน่วยความจา
แม้กระทั่งอุปกรณ์ตรวจจับต่างๆ(Sensor)
หากมองในด้านของการพัฒนาโปรแกรม ทางบริษัท กูเกิ้ล ได้มีการพัฒนา Application Framework
ไว้สาหรับนักพัฒนาใช้งาน ได้อย่างสะดวก และไม่เกิดปัญหาเมื่อนาชุดโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมา ไปใช้กับ
อุปกรณ์ที่มีคุณลักษณะต่างกัน เช่นขนาดจออุปกรณ์ ไม่เท่ากัน ก็ยังสามารถใช้งานโปรแกรมได้เหมือนกัน
เป็นต้น
กำรใช้ระบบปฏิบัติกำรแอนดรอยด์ (Android)
วิธีดำวน์โหลดแอพฯ จำก Google Play Store ผ่ำนมือถือแอนดรอยด์
หากแอปเปิลมี App Store ที่เป็นศูนย์รวมแอพฯ สาหรับผู้ใช้งาน iPhone,iPod และ iPad เอาไว้ดาวน์
โหลดแอพฯ ต่าง ๆ ติดตั้งลงบนสมาร์ทโฟน ฝั่งแอนดรอยด์ก็มี Google Play Store ศูนย์รวมแอพฯ และ
แหล่งรวมคอนเทนท์ต่าง ๆ ของกูเกิล ไม่ว่าจะเป็น เพลง, มือถือ, หนังสือ, เกม เป็นต้น ถ้าใครที่ใช้งานมือถือ
แอนดรอยด์อยู่คงคุ้นเคยกับ Google Play Store เป็นอย่างดีแน่นอน
12
วิธีดำวน์โหลดแอพฯ จำก Google Play Store ผ่ำนมือถือแอนดรอยด์
1. แตะเลือกแอพฯ Play Store > หากรู้ชื่อแอพฯ ที่ต้องการดาวน์โหลดสามารถพิมพ์ในช่องค้นหาได้ทันที
2. สามารถแตะเลื่อนหน้าจอไปทางด้านขวาเพื่อดูหมวดหมู่ของแอพฯ หรือแตะไปทางด้านซ้ายเพื่อดูรายการ
แอพฯ ฟรียอดนิยม
13
3. พิมพ์ชื่อแอพฯ ที่ต้องการดาวน์โหลด ระบบจะแสดงชื่อแอพฯ ใกล้เคียงแบบอัตโนมัติมาให้ หากเจอแอพ
ฯ ที่ต้องการให้แตะเลือก จากนั้นจะเข้าไปยังหน้าติดตั้งแอพฯ ให้แตะปุ่ม ติดตั้ง (Install)
4. แตะปุ่ม ยอมรับและดำวน์โหลด จากนั้้แอพฯ ก็จะทาการดาวน์โหลดและติดตั้งให้อัตโนมัติโดยมีแถบ
สถานะการดาวน์โหลดแสดงให้ทราบ
14
5. หน้าแอพฯ ที่ติดตั้งเสร็จเรียบร้อยแล้ว สามารถแตะปุ่ม เปิด เพื่อใช้งานแอพฯ นั้นได้
15
บทที่ 3
อุปกรณ์และวิธีกำรดำเนินกำร
โครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์(E-book) เรื่อง ระบบปฏิบัติการแอน
ดรอยด์ (Android) เพื่อการผลิตสื่อการเรียนการสอนและพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ มีวิธีการดาเนิน
โครงงานตามขั้นตอนดังนี้
1. วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนา
1.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต
1.2 โปรแกรมที่ใช้ในการดาเนินงาน ดังนี้
- โปรแกรม Flip Album
2. ขั้นตอนการดาเนินงาน
2.1 ศึกษา/สารวจข้อมูลเพื่อจัดทาโครงงาน
ศึกษาเนื้อหา หัวข้อที่น่าสนใจในการทาโครงงานที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับรายวิชาที่เรียน
2.2 นาเสนอโครงงานเพื่อให้ได้รับการอนุมัติ
นาเสนอเรื่องที่จะทาให้อาจารย์ผู้สอน ใน 3 สัปดาห์แรกในการเรียนการสอนเพื่อรออนุมัติ
2.3 ศึกษา/สารวจรายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับโปรแกรม Flip Album ศึกษาเนื้อหาข้อมูล
เพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) จากหนังสือต่างๆที่เกี่ยวข้อง และทาง
อินเตอร์
2.4 จัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) ในรูปแบบการบันทึกต่างๆ
2.5 เตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องสร้างชิ้นงาน ได้แก่ โปรแกรม Flip Album และออกแบบเทคนิค
ต่างๆ วิธีการสร้าง
2.6 สร้างชิ้นงานจากโปรแกรม Flip Album เรื่อง ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) เพื่อการ
ผลิตสื่อการเรียนการสอน
2.7 ประเมินคุณภาพต้นแบบชิ้นงานโดยให้อาจารย์ประเมินชิ้นงาน
2.8 ปรับปรุงต้นแบบชิ้นงานที่ได้จากคาแนะนาของอาจารย์
2.9 ทดลองชิ้นงานกับกลุ่มตัวอย่างเพื่อหาประสิทธิภาพ
2.10 วิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่ไปหาประสิทธิ์ภาพมา
16
2.11 เขียนรายงานในการจัดตั้งโครงงาน
2.12 บันทึกลง CD-Rom
2.13 นาเสนอรายงาน
2.14 จัดนิทรรศการ
17
บทที่ 4
ตำรำงแปรผล
18
บทที่ 4
ตำรำงแปรผล
กำรคำนวณหำประสิทธิภำพของบทเรียนโปรแกรม หรือบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือแบบฝึกทักษะ หรือสื่อประเภทเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อควำมรอบรู้
นักเรียน
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ 1 วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ 2 วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ 3 วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่
4
คะแนน นักเรียนที่ผ่ำนเกณฑ์
ทุกวัตถุประสงค์
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
นร.1 / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / 20 ผ่านตามเกณฑ์
นร.2 / / / / / / / / / / / / / / / / / x / 19 ผ่านตามเกณฑ์
นร.3 / / / / / x / / / / / / / / / / / / / / 19 ผ่านตามเกณฑ์
นร.4 x / / / / / / / / / / / / / / / / / x / 18 ผ่านตามเกณฑ์
นร.5 / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / 20 ผ่านตามเกณฑ์
นร.6 x / / / / / / / / / / / / / / / x / / / 18 ผ่านตามเกณฑ์
นร.7 / / / / / x / / / / / / / / / / / x / / 18 ผ่านตามเกณฑ์
นร.8 / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / 20 ผ่านตามเกณฑ์
นร.9 / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / 20 ผ่านตามเกณฑ์
นร.10 / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / 20 ผ่านตามเกณฑ์
นร.11 / x / / / / x / / / / / / / / / / / / / 18 ผ่านตามเกณฑ์
นร.12 / / / / / / x / / / / / / / / / / / / / 19 ผ่านตามเกณฑ์
19
นร.13 / / / / / / / / / / / / / / / / / x / / 19 ผ่านตามเกณฑ์
นร.14 / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / 20 ผ่านตามเกณฑ์
นร.15 / / / / / / / / / / / / x / / / / / X / 18 ผ่านตามเกณฑ์
นร.16 / / / / / / / / / x / / / / / / / / / / 19 ผ่านตามเกณฑ์
นร.17 / x / / / / / / / / / / / / / / / / x / 18 ผ่านตามเกณฑ์
นร.18 / / / / / / / / / / / / / / x / / / / / 19 ผ่านตามเกณฑ์
นร.19 / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / 20 ผ่านตามเกณฑ์
นร.20 / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / 20 ผ่านตามเกณฑ์
คะแนนเฉลี่ย 19.1
ค่ำเบี่ยงเบนมำตรฐำน 0.85224
1626
จำนวนนักเรียนที่ผ่ำนเกณฑ์ 20
20
ตำรำงแสดงผลเกณฑ์ประสิทธิภำพ E1 จำกแบบฝึกหัดระหว่ำงเรียนและ E2 จำกแบบทดสอบหลังเรียน
สื่อกำรประกอบกำรเรียนกำรสอน
เรื่องกำรสร้ำงสื่อ E-book เรื่อง ระบบปฏิบัติกำรแอนดรอยด์ (Android)
ของนิสิต นักศึกษำเทคโนโลยีกำรศึกษำ ชั้นปีที่ 3
มหำวิทยำลัยบูรพำ วิทยำ เขตบำงแสน อำเภอ เมือง จังหวัด ชลบุรี
เลขที่ ชื่อ – นำมสกุล ระหว่ำงเรียน หลังเรียน
คะแนนที่ได้ E1 คะแนนที่ได้ E2
1 นำย กิตติธัช คล้ำยสุบรรณ์ 15 75 % 20 100 %
2 นำย ณัฐพนธ์ พันสี 17 85 % 19 95 %
3 นำย ชวลิต ศรแผลง 12 60 % 19 95 %
4 นำย อรรถพล ประเสริฐ 16 80 % 18 90 %
5 นำย วีรภัทร์ ภูมิเขียว 15 75 % 20 100 %
6 นำย สวิทย์ อยู่ใส 11 55 % 18 90 %
7 นำย ธีรพล สุกใส 10 50 % 18 90 %
8 นำย มนัส เกษนอก 16 80 % 20 100 %
9 นำงสำว พัชรำภำ เชี่ยวชำญ 18 90 % 20 100 %
10 นำงสำว ณัฐกำนต์ ตุงคบุรี 11 55 % 20 100 %
11 นำงสำว หนึ่งฤทัย ปรินทำ 14 70 % 18 90 %
12 นำงสำว สมำภรณ์ พุฒศรี 12 60 % 19 95 %
13 นำงสำว เบญจวรรณ ชูยิ่ง 16 80 % 19 95 %
14 นำงสำว สุภำพร แสงย้อย 16 80 % 20 100 %
15 นำงสำว ฉมำรักษ์ โพธิหิรัญ 12 60 % 18 90 %
16 นำงสำว พรศิริ ศรีแสงจันทร์ 18 90 % 19 95 %
17 นำย เกียรติศักดิ์ พลำยจิตร 15 75 % 18 90 %
18 นำงสำว ธนโชติ แซ่ฉั่ว 12 60 % 19 95 %
19 นำงสำว แคท มำไล 18 90 % 20 100 %
20 นำงสำว ภำรดำ แก้วศรี 18 90 % 20 100 %
คะแนนรวม 292 1460 % 382 1910 %
73.00 % 95.50 %
21
สรุปผลจำกกำรหำค่ำประสิทธิภำพของสื่อกำรสอน มีดังนี้
1. วิเครำะห์ประสิทธิภำพ E1/E2
จำกกำรวิเครำะห์พบว่ำสื่อกำรสอน ระหว่ำงเรียนมีประสิทธิภำพ (E1)
คือ 73.00 ต่ำกว่ำเกณฑ์ร้อยละ 90.00
จำกกำรวิเครำะห์พบว่ำสื่อกำรสอน หลังเรียนมีประสิทธิภำพ (E2)
คือ 95.50 สูงกว่ำเกณฑ์ร้อยละ 90.00
 จำกตำรำงหำค่ำ T-test เทียบกับค่ำร้อยละ 90
คือ -3.51 (Tคำนวณ)
df = n-1
= 20-1
= 19
T ตำรำง = 1.729
สรุปว่ำ ตำรำงคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 90 ค่ำ Tคำนวณ ต่ำกว่ำ ค่ำ Tตำรำง
แสดงว่ำชุดกำสอนมีประสิทธิภำพต่ำ มีนัยสำคัญทำงสถิติที่ 0.05
22
บทที่ 5
สรุปผลการดาเนินงาน / ข้อเสนอแนะ
การค้นคว้าครั้งนี้เป็นการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่องการสร้างสื่อ E-book เรื่อง
ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) สามารถสรุปผลการดาเนินงาน โครงงานและข้อเสนอแนะดังนี้
5.1 การดาเนินงานจัดทาโครงงาน
5.1.1 วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1. มีความรู้ความเข้าใจ เพื่อสร้างสื่ อการเรียนการสอน E-Book เรื่อง
ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android )ได้ และสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิประจาวันได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.2 วัสดุอปุกรณ์เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน
1. เครื่องคอมพวิเตอร์พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
2. ซอฟต์แวร์
- โปรแกรม โปรแกรมFlipAlbum
5.2 สรุปผลการดาเนินงานโครงงาน
การดาเนินงานโครงงานนี้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้คือเพื่อเป็นสื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่
สนใจเกี่ยวกับ ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) สื่อเพื่อการศึกษาเรื่องระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์
(Android) เป็นสื่อการเรียนการสอน ที่มีทั้งภาพและเสียงสร้างความสนใจช่วยพัฒนาให้ความรู้ของผู้ชมมี
ความเข้าใจ เห็นความสาคัญของระบบปฏิบัติการ Android ที่จะเข้ามามีบทบาทในประเทศไทย สื่อการเรียน
การสอนเพื่อการศึกษาระบบปฏิบัติ Android จึงเป็นสื่อที่มีประโยชน์เป็นการนา ซอฟต์แวร์มาพัฒนา
ประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์
5.3 ข้อเสนอแนะ
1.ควรมีการจัดทาเนื้อหาของโครงงานให้หลากหลายและมีเนื้อหาที่ออกมาหลายๆรูปแบบ
23
บรรณำนุกรม
บุญเกียรติ เจตจานงนุช. สร้างบทเรียน e-Book จาก Template เข้าถึงได้จาก:
http://chonlinet.lib.buu.ac.th/opac/index.html สานักหอสมุดมหาวิทยาลัยบูรพา
(วันที่ค้นข้อมูล: 13 กุมพาพันธ์ 2558).
นางธันยะวีร์ ค้าขาย. (ม.ป.ป.). บทเรียนออนไลน์ เรื่องการสร้าง E-book ด้วย Filp album 6 Pro. เข้าถึงได้
จาก: http://www.srb1.go.th/anuban/e_book/meanebook.htm (วันที่ค้นข้อมูล: 22 มกราคม 2558).
ชัยยงค์ พรหมวงศ์และคณะ. ระบบสื่อการสอน. กรุงเทพมหานคร : คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2520.
http://android.kapook.com/view51072.html
http://www.sourcecode.in.th/articles.php?id=71
http://android.kapook.com/howto?p=2
24
ภำคพนวก
25
สื่อประกอบกำรเรียนรู้
เรื่อง ระบบปฎิบัติกำรแอนดรอยด์ (Android)
26
รูปภำพประกอบกำรใช้ สื่อระบบปฎิบัติกำรแอนดรอยด์ (Android)
27
28
29
30
ประวัติผู้จัดทำโครงงำน
นางสาว พิสมัย ฉลาดยิ่ง เกิดวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2536 ที่จังหวัดปราจีนบุรี
จบระดับมัธยมศึกษาจาก โรงเรียน มัธยมวัดใหม่กรงทอง
ปัจจุบันกาลังศึกษาอยู่ระดับชั้นปริญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัย บูรพา

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Ammarirat
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นNoomim
 
ระบบเครือค่ายคอมพิวเตอ์
ระบบเครือค่ายคอมพิวเตอ์ระบบเครือค่ายคอมพิวเตอ์
ระบบเครือค่ายคอมพิวเตอ์nattida880
 
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตssuseraa96d2
 
Ict300_3_edit
Ict300_3_editIct300_3_edit
Ict300_3_editNicemooon
 
การเชื่อมต่อ Internet
การเชื่อมต่อ Internetการเชื่อมต่อ Internet
การเชื่อมต่อ InternetChannrong Sompronpailin
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)Theruangsit
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1puangtong
 
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์kruumawan
 

What's hot (12)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
ระบบเครือค่ายคอมพิวเตอ์
ระบบเครือค่ายคอมพิวเตอ์ระบบเครือค่ายคอมพิวเตอ์
ระบบเครือค่ายคอมพิวเตอ์
 
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
Ict300_3_edit
Ict300_3_editIct300_3_edit
Ict300_3_edit
 
การเชื่อมต่อ Internet
การเชื่อมต่อ Internetการเชื่อมต่อ Internet
การเชื่อมต่อ Internet
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

A brief about building management system
A brief about building management systemA brief about building management system
A brief about building management systemEndeavour Africa
 
Job hunting – a full time job
Job hunting – a full time jobJob hunting – a full time job
Job hunting – a full time jobGerhardus Orton
 
Swiss Finance + Technology Association Directory
Swiss Finance + Technology Association DirectorySwiss Finance + Technology Association Directory
Swiss Finance + Technology Association DirectoryJean-Marc Sabet
 
Nido Industrial Cleaning Equipment Brochure
Nido Industrial Cleaning Equipment BrochureNido Industrial Cleaning Equipment Brochure
Nido Industrial Cleaning Equipment Brochurenidomachineries
 
Nido corporate-presentation
Nido corporate-presentationNido corporate-presentation
Nido corporate-presentationnidomachineries
 
SHR Solutions KPO Services
SHR Solutions KPO ServicesSHR Solutions KPO Services
SHR Solutions KPO ServicesMaharshi Rajput
 
โครงงาน การสร้างสื่อ E-book เรือง ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android)
โครงงาน การสร้างสื่อ E-book  เรือง ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) โครงงาน การสร้างสื่อ E-book  เรือง ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android)
โครงงาน การสร้างสื่อ E-book เรือง ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) tata17329
 

Viewers also liked (7)

A brief about building management system
A brief about building management systemA brief about building management system
A brief about building management system
 
Job hunting – a full time job
Job hunting – a full time jobJob hunting – a full time job
Job hunting – a full time job
 
Swiss Finance + Technology Association Directory
Swiss Finance + Technology Association DirectorySwiss Finance + Technology Association Directory
Swiss Finance + Technology Association Directory
 
Nido Industrial Cleaning Equipment Brochure
Nido Industrial Cleaning Equipment BrochureNido Industrial Cleaning Equipment Brochure
Nido Industrial Cleaning Equipment Brochure
 
Nido corporate-presentation
Nido corporate-presentationNido corporate-presentation
Nido corporate-presentation
 
SHR Solutions KPO Services
SHR Solutions KPO ServicesSHR Solutions KPO Services
SHR Solutions KPO Services
 
โครงงาน การสร้างสื่อ E-book เรือง ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android)
โครงงาน การสร้างสื่อ E-book  เรือง ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) โครงงาน การสร้างสื่อ E-book  เรือง ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android)
โครงงาน การสร้างสื่อ E-book เรือง ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android)
 

Similar to ระบบปฎิบัติการแอนดรอย์

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
อิรเตอร์เน็ต
อิรเตอร์เน็ตอิรเตอร์เน็ต
อิรเตอร์เน็ตNaluemonPcy
 
นายศ ภช ย ดอนชาม_วง ว.5606 รห_ส 5640248230
นายศ ภช ย  ดอนชาม_วง ว.5606 รห_ส 5640248230นายศ ภช ย  ดอนชาม_วง ว.5606 รห_ส 5640248230
นายศ ภช ย ดอนชาม_วง ว.5606 รห_ส 5640248230Chicharito Iamjang
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์Pokypoky Leonardo
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1puangtong
 
งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)Paveenut
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นสำหรับครูยุคใหม่
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นสำหรับครูยุคใหม่อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นสำหรับครูยุคใหม่
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นสำหรับครูยุคใหม่Kobwit Piriyawat
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการSakonwan947
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการSakonwan947
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการSakonwan947
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการSakonwan947
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการSakonwan947
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5wipawanmmiiww
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตPornpimon Aom
 
ระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linuxระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linuxssuseraa96d2
 
Onettemplate
OnettemplateOnettemplate
Onettemplatechycindy
 

Similar to ระบบปฎิบัติการแอนดรอย์ (20)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
อิรเตอร์เน็ต
อิรเตอร์เน็ตอิรเตอร์เน็ต
อิรเตอร์เน็ต
 
นายศ ภช ย ดอนชาม_วง ว.5606 รห_ส 5640248230
นายศ ภช ย  ดอนชาม_วง ว.5606 รห_ส 5640248230นายศ ภช ย  ดอนชาม_วง ว.5606 รห_ส 5640248230
นายศ ภช ย ดอนชาม_วง ว.5606 รห_ส 5640248230
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นสำหรับครูยุคใหม่
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นสำหรับครูยุคใหม่อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นสำหรับครูยุคใหม่
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นสำหรับครูยุคใหม่
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
 
ระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linuxระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linux
 
Onettemplate
OnettemplateOnettemplate
Onettemplate
 

ระบบปฎิบัติการแอนดรอย์

  • 1. 1 บทที่ 1 บทนำ แนวคิด ที่มำ และควำมสำคัญของโครงงำน ในโลกของการติดต่อสื่อสารในปัจจุบันได้มีการพัฒนาที่ก้าวหน้าเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะการ สื่อสารแบบไร้สาย ที่ได้มีการพัฒนาความเร็วในการรับส่งข้อมูลที่สูงขึ้น จากเดิมที่มีการส่งได้เพียงข้อความ สั้น(SMS :Short Message Service) และ MMS(Multimedia Messaging Service) ปัจจุบันสามารถทาการ โทรศัพท์แบบเห็นหน้าคู่สนทนากันได้ (Video Call) แต่ต้องผ่านทางระบบของวายฟาย Wi-Fi (wireless fidelity) หรือ ระบบ 3G (Third Generation of Mobile Telephone) ซึ่งสาหรับประเทศไทยแล้ว อุปกรณ์มือถือ และอุปกรณ์พกพา ส่วนมากในตลาดจะรองรับระบบ การรับส่งข้อมูลความเร็วสูงเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และได้รับความนิยมจากผู้ใช้งานเป็นจานวนมาก โดย อุปกรณ์ส่วนใหญ่ที่มีอยู่ในท้องตลาด จะมีระบบปฏิบัติการเป็นของตัวเอง ที่ไม่เหมือนกับระบบปฏิบัติการที่ อยู่บนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC :Personal Computer) ส่งผลให้แนวทางในการพัฒนาโปรแกรม เพื่อ นาไปใช้งานบนอุปกรณ์เหล่านั้นยุ่งยาก และหลากหลายขึ้น ระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์ดังกล่าว มีอยู่หลายตัวกันเช่น Android, iOS, Windows Phone, BlackBerry, Symbian, webOS, MeeGo และ QNX เป็ นต้น โดยลักษณะของระบบปฏิบัติการข้างต้น ส่วนมากจะเป็นประเภทไม่เปิดเผยซอร์ฟแวร์ต้นฉบับ (Closed Source) ซึ่งหมายความว่า ระบบปฏิบัติการ ดังกล่าว ไม่สามารถนามาศึกษา ดัดแปลงการทางานของระบบปฏิบัติการเพื่อนาไปใช้งานตามที่ต้องการได้ ทาให้เกิดความไม่สะดวกในการพัฒนา และการพัฒนาจะถูกกาหนดทิศทางโดยบริษัทเจ้าของลิขสิทธิ์ วัตถุประสงค์ 1.มีความรู้ความเข้าใจ เพื่อสร้างสื่อการเรียนการสอน E-Book เรื่องระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android )ได้ และสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิธีกำร ขั้นตอนการดาเนินงาน 2.1 ศึกษา/สารวจข้อมูลเพื่อจัดทาโครงงาน 2.2 นาเสนอโครงงานเพื่อให้ได้รับการอนุมัติ
  • 2. 2 2.3 ศึกษา/สารวจรายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) 2.4 จัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe Audition ในรูปแบบการบันทึกต่างๆ 2.5 เตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องสร้างชิ้นงาน ได้แก่ โปรแกรม Flip Album และระบบปฏิบัติการ แอนดรอยด์ (Android)และออกแบบเทคนิคต่างๆ วิธีการสร้าง 2.6 สร้างชิ้นงานจากโปรแกรม Flip Album เรื่อง ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) 2.7 ประเมินคุณภาพต้นแบบชิ้นงานโดยให้อาจารย์ประเมินชิ้นงาน 2.8 ปรับปรุงต้นแบบชิ้นงานที่ได้จากคาแนะนาของอาจารย์ 2.9 ทดลองชิ้นงานกับกลุ่มตัวอย่างเพื่อหาประสิทธิภาพ 2.10 วิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่ไปหาประสิทธ์ภาพมา 2.11 เขียนรายงานในการจัดตั้งโครงงาน 2.12 บันทึกลง CD-ROM 2.13 นาเสนอรายงาน 2.14 จัดนิทรรศการ ผลที่คำดว่ำจะได้รับ 1.ได้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่มีประสิทธิภาพ 90% 2.ได้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่มีความทันสมัยและเนื้อที่ครบถ้วน เอกสำรอ้ำงอิง/บรรณำนุกรม บุญเกียรติ เจตจานงนุช. สร้ำงบทเรียน e-Book จำก Template เข้าถึงได้จาก: http://chonlinet.lib.buu.ac.th/opac/index.html สานักหอสมุดมหาวิทยาลัยบูรพา (วันที่ค้นข้อมูล: 13 กุมพาพันธ์ 2558). นางธันยะวีร์ ค้าขาย. (ม.ป.ป.). บทเรียนออนไลน์ เรื่องกำรสร้ำง E-book ด้วย Filp album 6 Pro. เข้าถึงได้จาก: http://www.srb1.go.th/anuban/e_book/meanebook.htm (วันที่ค้นข้อมูล: 22 มกราคม 2558). ชัยยงค์ พรหมวงศ์ และคณะ. ระบบสื่อการสอน. กรุงเทพมหานคร : คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2520. http://android.kapook.com/view51072.html
  • 4. 4 บทที่ 2 หลักกำรเกี่ยวกับระบบปฏิบัติกำรแอนดรอยด์ (Android) ประวัติควำมเป็นมำ เริ่มต้นระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ถูกพัฒนามาจากบริษัท แอนดรอยด์ (Android Inc.) เมื่อปี พ.ศ 2546 โดยมีนาย แอนดี้ รูบิน (Andy Rubin) ผู้ให้กาเนิดระบบปฏิบัติการนี้ และถูกบริษัท กูเกิ้ล ซื้อกิจการเมื่อ เดือนสิงหาคม ปี พ.ศ 2548 โดยบริษัทแอนดรอยด์ ได้กลายเป็นมาบริษัทลูก ของบริษัทกูเกิ้ล และยังมีนาย แอนดี้ รูบิน ดาเนินงานอยู่ในทีมพัฒนาระบบปฏิบัติการต่อไป ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาจากการนาเอา แกนกลางของระบบปฏิบัติการ ลินุกซ์ (Linux Kernel) ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบมาเพื่อทางานเป็นเครื่องให้บริการ (Server) มา พัฒนาต่อ เพื่อให้กลายเป็นระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์พกพา (Mobile Operating System) ต่อมาเมื่อเดือน พฤศจิกายน ปี พ.ศ 2550 บริษัทกูเกิ้ล ได้ทาการก่อตั้งสมาคม OHA (Open Handset Alliance, http://www.openhandsetalliance.com) เพื่อเป็นหน่วยงานกลางในการกาหนดมาตรฐานกลาง ของ อุปกรณ์พกพาและระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ โดยมีสมาชิกในช่วงก่อนตั้งจานวน 34 รายเข้าร่วม ซึ่ง ประกอบไปด้วยบริษัทชั้นนาที่ดาเนินธุรกิจด้าการสื่อสาร เช่น โรงงานผลิตอุปกรณ์พกพา, บริษัทพัฒนา โปรแกรม, ผู้ให้บริการสื่อสาร และผู้ผลิตอะไหล่อุปกรณ์ด้านสื่อสาร
  • 5. 5 [[รูป 1-3 : สมาคม OHA (Open Handset Alliance)]] หลังจากนั้น เมื่อเดือนตุลาคม ปี พ.ศ 2551 บริษัท กูเกิ้ล ได้เปิดตัวมือถือตัวแรกที่ใช้ระบบปฏิบัติการ แอนดรอยด์ ที่ชื่อ T-Mobile G1 หรืออีกชื่อนึงคือ HTC Dream โดยใช้แอนดรอยด์รุ่น 1.1 และหลังจากนั้น ได้มีการปรับพัฒนาระบบปฏิบัติการเป็นรุ่นใหม่ มาเป็นลาดับ [[รูป 1-4 : T-Mobile G1/HTC Dream]] [[01-04-01.bmp]] ช่วงต่อมาได้มีการออกผลิตภัณฑ์จากบริษัทต่างๆ ออกมาหลากหลายรุ่น หลากหลายยี่ห้อ ตามการ พัฒนาระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ที่มีอยู่อย่างต่อเนื่อง ทาให้สินค้าของแอนดรอยด์ มีให้เลือกอยู่อย่าง มากมาย
  • 6. 6 [[รูป 1-5 : Android Device]] Samsung: Nexus S HTC: EVO 4G Motorola: Droid2 Motorola: XOOM HTC: Flyer
  • 7. 7 โครงสร้ำงของแอนดรอยด์ การทาความเข้าใจโครงสร้างของระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ถือว่าเป็ นสิ่งสาคัญเพราะถ้า นักพัฒนาโปรแกรม สามารถมองภาพโดยรวมของระบบได้ทั้งหมด จะให้สามารถเข้าใจถึงกระบวนการ ทางานได้ดียิ่งขึ้น และสามารถนาไปช่วยในการออกแบบโปรแกรมที่ต้องการพัฒนา เพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพในการทางาน [[รูป 1-6 : Android Architecture]] จากโครงสร้างของระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ จะสังเกตุได้ว่า มีการแบ่งออกมาเป็นส่วนๆ ที่มี ความเกี่ยวเนื่องกัน โดยส่วนบนสุดจะเป็นส่วนที่ผู้ใช้งานทาการติดต่อโดยตรงซึ่งก็คือส่วนของ (Applications) จากนั้นก็จะลาดับลงมาเป็นองค์ประกอบอื่นๆตามลาดับ และสุดท้ายจะเป็นส่วนที่ติดต่อกับ อุปกรณ์โดยผ่านทาง Linux Kernel โครงสร้างของแอนดรอยด์ พอที่จะอธิบายเป็นส่วนๆได้ดังนี้  Applications ส่วน Application หรือส่วนของโปรแกรมที่มีมากับระบบปฏิบัติการ หรือเป็นกลุ่ม ของโปรแกรมที่ผู้ใช้งานได้ทาการติดตั้งไว้โดยผู้ใช้งานสามารถเรียกใช้โปรแกรมต่างๆได้โดยตรง
  • 8. 8 ซึ่งการทางานของแต่ละโปรแกรมจะเป็นไปตามที่ผู้พัฒนาโปรแกรมได้ออกแบบและเขียนโค้ด โปรแกรมเอาไว้  Application Frameworkเป็นส่วนที่มีการพัฒนาขึ้นเพื่อให้นักพัฒนาสามารถพัฒนาโปรแกรมได้ สะดวก และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยนักพัฒนาไม่จาเป็นต้องพัฒนาในส่วนที่มีความยุ่งยาก มากๆ เพียงแค่ทาการศึกษาถึงวิธีการเรียกใช้งาน Application Framework ในส่วนที่ต้องการใช้งาน แล้วนามาใช้งาน ซึ่งมีหลายกลุ่มด้วยกัน ตัวอย่างเช่น o Activities Manager เป็นกลุ่มของชุดคาสั่งที่จัดการเกี่ยวกับวงจรการทางานของหน้าต่าง โปรแกรม(Activity) o Content Providers เป็นกลุ่มของชุดคาสั่ง ที่ใช้ในการเข้าถึงข้อมูลของโปรแกรมอื่น และ สามารถแบ่งปันข้อมูลให้โปรแกรมอื่นเข้าถึงได้ o View System เป็นกลุ่มของชุดคาสั่งที่เกี่ยวกับการจัดการโครงสร้างของหน้าจอที่แสดงผล ในส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้งาน (User Interface) o Telephony Manager เป็นกลุ่มของชุดคาสั่งที่ใช้ในการเข้าถึงข้อมูลด้านโทรศัพท์ เช่น หมายเลขโทรศัพท์ เป็นต้น o Resource Manager เป็นกลุ่มของชุดคาสั่งในการเข้าถึงข้อมูลที่เป็น ข้อความ, รูปภาพ o Location Manager เป็นกลุ่มของชุดคาสั่งที่เกี่ยวกับตาแหน่งทางภูมิศาตร์ ที่ ระบบปฏิบัติการได้รับค่าจากอุปกรณ์ o Notification Manager เป็นกลุ่มของชุดคาสั่งที่จะถูกเรียกใช้เมื่อโปรแกรม ต้องการแสดงผล ให้กับผู้ใช้งาน ผ่านทางแถบสถานะ(Status Bar) ของหน้าจอ  Libraries เป็ นส่วนของชุดคาสั่งที่พัฒนาด้วย C/C++ โดยแบ่งชุดคาสั่งออกเป็ นกลุ่มตาม วัตถุประสงค์ของการใช้งาน เช่น Surface Manage จัดการเกี่ยวกับการแสดงผล, Media Framework จัดการเกี่ยวกับการการแสดงภาพและเสียง, Open GL | ES และ SGL จัดการเกี่ยวกับภาพ 3มิติ และ 2มิติ, SQLlite จัดการเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล เป็นต้น  Android Runtime จะมี Darvik Virtual Machine ที่ถูกออกแบบมา เพื่อให้ทางานบนอุปกรณ์ที่มี หน่วยความจา(Memmory), หน่วยประมวลผลกลาง(CPU) และพลังงาน(Battery)ที่จากัด ซึ่งการ ทางานของ Darvik Virtual Machine จะทาการแปลงไฟล์ที่ต้องการทางาน ไปเป็นไฟล์ .DEX ก่อน การทางาน เหตุผลก็เพื่อให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นเมื่อใช้งานกับ หน่วยประมวลผลกลางที่มี
  • 9. 9 ความเร็วไม่มาก ส่วนต่อมาคือ Core Libraries ที่เป็นส่วนรวบรวมคาสั่งและชุดคาสั่งสาคัญ โดยถูก เขียนด้วยภาษาจาวา (Java Language)  Linux Kernel เป็นส่วนที่ทาหน้าที่หัวใจสาคัญ ในจัดการกับบริการหลักของระบบปฏิบัติการ เช่น เรื่องหน่วยความจา พลังงาน ติดต่อกับอุปกรณ์ต่างๆ ความปลอดภัย เครือข่าย โดยแอนดรอยด์ได้ นาเอาส่วนนี้มาจากระบบปฏิบัติการลินุกซ์ รุ่น 2.6 (Linux 26. Kernel) ซึ่งได้มีการออกแบบมาเป็น อย่างดี รุ่นต่ำงๆ ของแอนดรอยด์ หลังจากที่บริษัท กูเกิ้ล ได้ซื้อบริษัท แอนดรอยด์ และได้มีการก่อตั้งสมาคม สมาคม OHA (Open Handset Alliance) เป็นที่เรียบร้อย ทางกูเกิ้ลก็ได้มีการพัฒนาระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ขึ้นมาเป็นลาดับ โดยพอ สังเขป ได้ดังนี้  รุ่น 1.0 , 23 กันยายน 2551  รุ่น 1.5 (Cupcake), 30 เมษายน 2552  รุ่น 1.6 (Donut), 15 กันยายน 2552  รุ่น 2.0 (Éclair), 26 ตุลาคม 2552  รุ่น 2.2 (Froyo), 20 พฤษภาคม 2553  รุ่น 2.3 (Gingerbread), 6 ธันวาคม 2553  รุ่น 3.0 (Honeycomb), 22 กุมภาพันธ์ 2554  รุ่น4.0Ice Cream Sandwich (ไอศกรีมแซนด์วิช)19 ตุลาคม 2554  รุ่น 4.1Jelly Bean (เจลลีบีน) 28 มิถุนายน 2555 [[รูป 1-7 : Android Logo]] V1.5 Cupcake V1.6 Donut V2.0 Eclari
  • 10. 10 V2.2 Froyo V2.3 Gingerbread V3.0 Honeycomb และภายในปี พ.ศ 2554 นี้ ทางบริษัทกูเกิ้ล มีแผนจะออกรุ่นใหม่อีก 1 รุ่น นับว่าเป็นการพัฒนาการ ของแอน ดรอยด์ที่มีอยู่อย่างต่อเนื่อง แต่หากมองในส่วนของจานวนผู้ใช้ต่อรุ่นแล้วนั้น จากการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก Android Market จะพบได้ว่า รุ่นที่มีการใช้งานมากที่สุด (ข้อมูล ณ 15 มีนาคม 2554) จะเป็นรุ่น 2.2 (Froyo) [[รูป 1-8 : Current Distribution]] [[01-08-01.bmp]] ข้อเด่นของแอนดรอยด์ เนื่องจากระบบปฏิบัตการแอนดรอยด์มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว และมีส่วนแบ่งตลาดของ อุปกรณ์ด้านนี้ ขึ้นทุกขณะ ทาให้กลุ่มผู้ใช้งาน และกลุ่มนักพัฒนาโปรแกรม ให้ความสาคัญกับ ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์เพิ่มมากขึ้น
  • 11. 11 เมื่อมองในด้านของกลุ่มผลิตภัณฑ์ บริษัทที่มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์รุ่นใหม่ ได้มีการนาเอา ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ไปใช้ในสินค้าของตนเอง พร้อมทั้งยังมีการปรับแต่งให้ระบบปฏิบัติการมี ความสามารถ การจัดวาง โปรแกรม และลูกเล่นใหม่ๆ ที่แตกต่างจากคู่แข่งในท้องตลาด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กลุ่มสินค้าที่เป็น มือถือรุ่นใหม่ (SmartPhone) และอุปกรณ์จอสัมผัส (Touch Screen) โดยมีคุณลักษณะ แตกต่างกันไป เช่นขนาดหน้าจอ ระบบโทรศัพท์ ความเร็วของหน่วยประมวลผล ปริมาณหน่วยความจา แม้กระทั่งอุปกรณ์ตรวจจับต่างๆ(Sensor) หากมองในด้านของการพัฒนาโปรแกรม ทางบริษัท กูเกิ้ล ได้มีการพัฒนา Application Framework ไว้สาหรับนักพัฒนาใช้งาน ได้อย่างสะดวก และไม่เกิดปัญหาเมื่อนาชุดโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมา ไปใช้กับ อุปกรณ์ที่มีคุณลักษณะต่างกัน เช่นขนาดจออุปกรณ์ ไม่เท่ากัน ก็ยังสามารถใช้งานโปรแกรมได้เหมือนกัน เป็นต้น กำรใช้ระบบปฏิบัติกำรแอนดรอยด์ (Android) วิธีดำวน์โหลดแอพฯ จำก Google Play Store ผ่ำนมือถือแอนดรอยด์ หากแอปเปิลมี App Store ที่เป็นศูนย์รวมแอพฯ สาหรับผู้ใช้งาน iPhone,iPod และ iPad เอาไว้ดาวน์ โหลดแอพฯ ต่าง ๆ ติดตั้งลงบนสมาร์ทโฟน ฝั่งแอนดรอยด์ก็มี Google Play Store ศูนย์รวมแอพฯ และ แหล่งรวมคอนเทนท์ต่าง ๆ ของกูเกิล ไม่ว่าจะเป็น เพลง, มือถือ, หนังสือ, เกม เป็นต้น ถ้าใครที่ใช้งานมือถือ แอนดรอยด์อยู่คงคุ้นเคยกับ Google Play Store เป็นอย่างดีแน่นอน
  • 12. 12 วิธีดำวน์โหลดแอพฯ จำก Google Play Store ผ่ำนมือถือแอนดรอยด์ 1. แตะเลือกแอพฯ Play Store > หากรู้ชื่อแอพฯ ที่ต้องการดาวน์โหลดสามารถพิมพ์ในช่องค้นหาได้ทันที 2. สามารถแตะเลื่อนหน้าจอไปทางด้านขวาเพื่อดูหมวดหมู่ของแอพฯ หรือแตะไปทางด้านซ้ายเพื่อดูรายการ แอพฯ ฟรียอดนิยม
  • 13. 13 3. พิมพ์ชื่อแอพฯ ที่ต้องการดาวน์โหลด ระบบจะแสดงชื่อแอพฯ ใกล้เคียงแบบอัตโนมัติมาให้ หากเจอแอพ ฯ ที่ต้องการให้แตะเลือก จากนั้นจะเข้าไปยังหน้าติดตั้งแอพฯ ให้แตะปุ่ม ติดตั้ง (Install) 4. แตะปุ่ม ยอมรับและดำวน์โหลด จากนั้้แอพฯ ก็จะทาการดาวน์โหลดและติดตั้งให้อัตโนมัติโดยมีแถบ สถานะการดาวน์โหลดแสดงให้ทราบ
  • 14. 14 5. หน้าแอพฯ ที่ติดตั้งเสร็จเรียบร้อยแล้ว สามารถแตะปุ่ม เปิด เพื่อใช้งานแอพฯ นั้นได้
  • 15. 15 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีกำรดำเนินกำร โครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์(E-book) เรื่อง ระบบปฏิบัติการแอน ดรอยด์ (Android) เพื่อการผลิตสื่อการเรียนการสอนและพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ มีวิธีการดาเนิน โครงงานตามขั้นตอนดังนี้ 1. วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนา 1.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต 1.2 โปรแกรมที่ใช้ในการดาเนินงาน ดังนี้ - โปรแกรม Flip Album 2. ขั้นตอนการดาเนินงาน 2.1 ศึกษา/สารวจข้อมูลเพื่อจัดทาโครงงาน ศึกษาเนื้อหา หัวข้อที่น่าสนใจในการทาโครงงานที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับรายวิชาที่เรียน 2.2 นาเสนอโครงงานเพื่อให้ได้รับการอนุมัติ นาเสนอเรื่องที่จะทาให้อาจารย์ผู้สอน ใน 3 สัปดาห์แรกในการเรียนการสอนเพื่อรออนุมัติ 2.3 ศึกษา/สารวจรายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับโปรแกรม Flip Album ศึกษาเนื้อหาข้อมูล เพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) จากหนังสือต่างๆที่เกี่ยวข้อง และทาง อินเตอร์ 2.4 จัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) ในรูปแบบการบันทึกต่างๆ 2.5 เตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องสร้างชิ้นงาน ได้แก่ โปรแกรม Flip Album และออกแบบเทคนิค ต่างๆ วิธีการสร้าง 2.6 สร้างชิ้นงานจากโปรแกรม Flip Album เรื่อง ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) เพื่อการ ผลิตสื่อการเรียนการสอน 2.7 ประเมินคุณภาพต้นแบบชิ้นงานโดยให้อาจารย์ประเมินชิ้นงาน 2.8 ปรับปรุงต้นแบบชิ้นงานที่ได้จากคาแนะนาของอาจารย์ 2.9 ทดลองชิ้นงานกับกลุ่มตัวอย่างเพื่อหาประสิทธิภาพ 2.10 วิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่ไปหาประสิทธิ์ภาพมา
  • 16. 16 2.11 เขียนรายงานในการจัดตั้งโครงงาน 2.12 บันทึกลง CD-Rom 2.13 นาเสนอรายงาน 2.14 จัดนิทรรศการ
  • 18. 18 บทที่ 4 ตำรำงแปรผล กำรคำนวณหำประสิทธิภำพของบทเรียนโปรแกรม หรือบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือแบบฝึกทักษะ หรือสื่อประเภทเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อควำมรอบรู้ นักเรียน วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ 1 วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ 2 วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ 3 วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ 4 คะแนน นักเรียนที่ผ่ำนเกณฑ์ ทุกวัตถุประสงค์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 นร.1 / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / 20 ผ่านตามเกณฑ์ นร.2 / / / / / / / / / / / / / / / / / x / 19 ผ่านตามเกณฑ์ นร.3 / / / / / x / / / / / / / / / / / / / / 19 ผ่านตามเกณฑ์ นร.4 x / / / / / / / / / / / / / / / / / x / 18 ผ่านตามเกณฑ์ นร.5 / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / 20 ผ่านตามเกณฑ์ นร.6 x / / / / / / / / / / / / / / / x / / / 18 ผ่านตามเกณฑ์ นร.7 / / / / / x / / / / / / / / / / / x / / 18 ผ่านตามเกณฑ์ นร.8 / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / 20 ผ่านตามเกณฑ์ นร.9 / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / 20 ผ่านตามเกณฑ์ นร.10 / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / 20 ผ่านตามเกณฑ์ นร.11 / x / / / / x / / / / / / / / / / / / / 18 ผ่านตามเกณฑ์ นร.12 / / / / / / x / / / / / / / / / / / / / 19 ผ่านตามเกณฑ์
  • 19. 19 นร.13 / / / / / / / / / / / / / / / / / x / / 19 ผ่านตามเกณฑ์ นร.14 / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / 20 ผ่านตามเกณฑ์ นร.15 / / / / / / / / / / / / x / / / / / X / 18 ผ่านตามเกณฑ์ นร.16 / / / / / / / / / x / / / / / / / / / / 19 ผ่านตามเกณฑ์ นร.17 / x / / / / / / / / / / / / / / / / x / 18 ผ่านตามเกณฑ์ นร.18 / / / / / / / / / / / / / / x / / / / / 19 ผ่านตามเกณฑ์ นร.19 / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / 20 ผ่านตามเกณฑ์ นร.20 / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / 20 ผ่านตามเกณฑ์ คะแนนเฉลี่ย 19.1 ค่ำเบี่ยงเบนมำตรฐำน 0.85224 1626 จำนวนนักเรียนที่ผ่ำนเกณฑ์ 20
  • 20. 20 ตำรำงแสดงผลเกณฑ์ประสิทธิภำพ E1 จำกแบบฝึกหัดระหว่ำงเรียนและ E2 จำกแบบทดสอบหลังเรียน สื่อกำรประกอบกำรเรียนกำรสอน เรื่องกำรสร้ำงสื่อ E-book เรื่อง ระบบปฏิบัติกำรแอนดรอยด์ (Android) ของนิสิต นักศึกษำเทคโนโลยีกำรศึกษำ ชั้นปีที่ 3 มหำวิทยำลัยบูรพำ วิทยำ เขตบำงแสน อำเภอ เมือง จังหวัด ชลบุรี เลขที่ ชื่อ – นำมสกุล ระหว่ำงเรียน หลังเรียน คะแนนที่ได้ E1 คะแนนที่ได้ E2 1 นำย กิตติธัช คล้ำยสุบรรณ์ 15 75 % 20 100 % 2 นำย ณัฐพนธ์ พันสี 17 85 % 19 95 % 3 นำย ชวลิต ศรแผลง 12 60 % 19 95 % 4 นำย อรรถพล ประเสริฐ 16 80 % 18 90 % 5 นำย วีรภัทร์ ภูมิเขียว 15 75 % 20 100 % 6 นำย สวิทย์ อยู่ใส 11 55 % 18 90 % 7 นำย ธีรพล สุกใส 10 50 % 18 90 % 8 นำย มนัส เกษนอก 16 80 % 20 100 % 9 นำงสำว พัชรำภำ เชี่ยวชำญ 18 90 % 20 100 % 10 นำงสำว ณัฐกำนต์ ตุงคบุรี 11 55 % 20 100 % 11 นำงสำว หนึ่งฤทัย ปรินทำ 14 70 % 18 90 % 12 นำงสำว สมำภรณ์ พุฒศรี 12 60 % 19 95 % 13 นำงสำว เบญจวรรณ ชูยิ่ง 16 80 % 19 95 % 14 นำงสำว สุภำพร แสงย้อย 16 80 % 20 100 % 15 นำงสำว ฉมำรักษ์ โพธิหิรัญ 12 60 % 18 90 % 16 นำงสำว พรศิริ ศรีแสงจันทร์ 18 90 % 19 95 % 17 นำย เกียรติศักดิ์ พลำยจิตร 15 75 % 18 90 % 18 นำงสำว ธนโชติ แซ่ฉั่ว 12 60 % 19 95 % 19 นำงสำว แคท มำไล 18 90 % 20 100 % 20 นำงสำว ภำรดำ แก้วศรี 18 90 % 20 100 % คะแนนรวม 292 1460 % 382 1910 % 73.00 % 95.50 %
  • 21. 21 สรุปผลจำกกำรหำค่ำประสิทธิภำพของสื่อกำรสอน มีดังนี้ 1. วิเครำะห์ประสิทธิภำพ E1/E2 จำกกำรวิเครำะห์พบว่ำสื่อกำรสอน ระหว่ำงเรียนมีประสิทธิภำพ (E1) คือ 73.00 ต่ำกว่ำเกณฑ์ร้อยละ 90.00 จำกกำรวิเครำะห์พบว่ำสื่อกำรสอน หลังเรียนมีประสิทธิภำพ (E2) คือ 95.50 สูงกว่ำเกณฑ์ร้อยละ 90.00  จำกตำรำงหำค่ำ T-test เทียบกับค่ำร้อยละ 90 คือ -3.51 (Tคำนวณ) df = n-1 = 20-1 = 19 T ตำรำง = 1.729 สรุปว่ำ ตำรำงคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 90 ค่ำ Tคำนวณ ต่ำกว่ำ ค่ำ Tตำรำง แสดงว่ำชุดกำสอนมีประสิทธิภำพต่ำ มีนัยสำคัญทำงสถิติที่ 0.05
  • 22. 22 บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงาน / ข้อเสนอแนะ การค้นคว้าครั้งนี้เป็นการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่องการสร้างสื่อ E-book เรื่อง ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) สามารถสรุปผลการดาเนินงาน โครงงานและข้อเสนอแนะดังนี้ 5.1 การดาเนินงานจัดทาโครงงาน 5.1.1 วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1. มีความรู้ความเข้าใจ เพื่อสร้างสื่ อการเรียนการสอน E-Book เรื่อง ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android )ได้ และสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิประจาวันได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 5.1.2 วัสดุอปุกรณ์เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน 1. เครื่องคอมพวิเตอร์พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 2. ซอฟต์แวร์ - โปรแกรม โปรแกรมFlipAlbum 5.2 สรุปผลการดาเนินงานโครงงาน การดาเนินงานโครงงานนี้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้คือเพื่อเป็นสื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่ สนใจเกี่ยวกับ ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) สื่อเพื่อการศึกษาเรื่องระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) เป็นสื่อการเรียนการสอน ที่มีทั้งภาพและเสียงสร้างความสนใจช่วยพัฒนาให้ความรู้ของผู้ชมมี ความเข้าใจ เห็นความสาคัญของระบบปฏิบัติการ Android ที่จะเข้ามามีบทบาทในประเทศไทย สื่อการเรียน การสอนเพื่อการศึกษาระบบปฏิบัติ Android จึงเป็นสื่อที่มีประโยชน์เป็นการนา ซอฟต์แวร์มาพัฒนา ประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์ 5.3 ข้อเสนอแนะ 1.ควรมีการจัดทาเนื้อหาของโครงงานให้หลากหลายและมีเนื้อหาที่ออกมาหลายๆรูปแบบ
  • 23. 23 บรรณำนุกรม บุญเกียรติ เจตจานงนุช. สร้างบทเรียน e-Book จาก Template เข้าถึงได้จาก: http://chonlinet.lib.buu.ac.th/opac/index.html สานักหอสมุดมหาวิทยาลัยบูรพา (วันที่ค้นข้อมูล: 13 กุมพาพันธ์ 2558). นางธันยะวีร์ ค้าขาย. (ม.ป.ป.). บทเรียนออนไลน์ เรื่องการสร้าง E-book ด้วย Filp album 6 Pro. เข้าถึงได้ จาก: http://www.srb1.go.th/anuban/e_book/meanebook.htm (วันที่ค้นข้อมูล: 22 มกราคม 2558). ชัยยงค์ พรหมวงศ์และคณะ. ระบบสื่อการสอน. กรุงเทพมหานคร : คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2520. http://android.kapook.com/view51072.html http://www.sourcecode.in.th/articles.php?id=71 http://android.kapook.com/howto?p=2
  • 27. 27
  • 28. 28
  • 29. 29
  • 30. 30 ประวัติผู้จัดทำโครงงำน นางสาว พิสมัย ฉลาดยิ่ง เกิดวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2536 ที่จังหวัดปราจีนบุรี จบระดับมัธยมศึกษาจาก โรงเรียน มัธยมวัดใหม่กรงทอง ปัจจุบันกาลังศึกษาอยู่ระดับชั้นปริญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัย บูรพา