SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
หลักการเขียนโปรแกรม
การกาหนดและวิเคราะห์ปัญหา
(analysis the problem)
การออกแบบโปรแกรม
(design a program)
การเขียนโปรแกรม
(coding)
กาหนดวัตถุประสงค์
ของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
กาหนดลักษณะ
ข้อมูลนาเข้า
กาหนดลักษณะ
ข้อมูลนาออก
กาหนดวิธีการประมวลผล
หรือวิธีการคานวณ
การออกแบบอัลกอรึทึม
(algorithm)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้
(user interface)
เขียนคาสั่ง
(coding)
แปลภาษา
(compile)
สั่งให้ไฟล์โปรแกรมทางาน
(run)
โปรแกรมภาษา C
ภาษา C พัฒนาขึ้นในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1969-1973 โดย เดนนิส ริตชี (Dennis Ritchie) แห่ง Bell Lab
และได้รับการรับรองเป็นมาตรฐานโดย ANSI ซึ่งภาษา C เป็นภาษาโปรแกรมหนึ่งที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายมาจนถึงปัจจุบัน
preprocessor directives
ใช้สาหรับเรียกใช้คาสั่งมาตรฐาน
global declaration
ใช้สาหรับประกาศตัวแปร
main function
เป็นส่วนการทางานหลัก
user-defined function
เป็นส่วนของการเขียนคาสั่ง
โครงสร้าง
ของภาษา C
คาสั่งและไวยกรณ์
พื้นฐาน
• จบคาสั่งด้วยเครื่องหมาย ; เสมอ
• คาสั่งการประกาศตัวแปร
รูปแบบ : ชนิดข้อมูล ตัวแปร ; เช่น int width;
ตัวแปร width เป็นตัวแปรประเภทเลขจานวนเต็ม
• คาสั่งการรับข้อมูล
รูปแบบ : scanf (ชนิดตัวแปร, &ชื่อตัวแปร); เช่น
scanf ("%d", &width); โดย %d หมายถึง
ชนิดเลขจานวนเต็ม
• คาสั่งการแสดงผลข้อมูลออกมาทางหน้าจอ
รูปแบบ : printf (“ข้อความ”) เช่น
printf ("Square area is : %dn", area);
โปรแกรมภาษา Scratch
Scratch เป็นเครื่องมือและโปรแกรมภาษาที่ถูกพัฒนาขึ้นมา เพื่อการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในรูปแบบของกราฟิก โดยมีโครงสร้าง ดังนี้
เป็นสถานที่ให้ตัวละครแสดง
มีภาพฉากหลังเปลี่ยนแปลงได้
มีขนาดความกว้าง 480 pixels สูง 360 pixels
เวที
ตัวละคร
ตัวละครแต่ละตัวจะมีข้อมูลแตกต่างกัน เช่น
ชื่อตัวละคร, ตาแหน่งบนเวที เป็นต้น
ชุดคาสั่งเพื่อสั่งให้ตัวละครหรือเวที
ทางานตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ เช่น
การเคลื่อนไหว, การแสดงเสียง, การรับรู้ เป็นต้น
สคริปต์
โปรแกรมภาษาไพทอน
ไพทอน (python) ถูกพัฒนาครั้งแรกเมื่อปี 1989 โดย กิโด ฟาน รอสซัม (Guido van Rossum)
โดยโครงสร้างของภาษานั้นจะไม่มีการยึดติดกับแพลตฟอร์มที่ใช้ ทาให้ python เป็น Open Source เต็มรูปแบบที่ใช้พัฒนาได้อย่างอิสระ
โครงสร้างของ
ภาษา ไฟทอนเบื้องต้น
คอมเมนต์หรือการประกาศตัวแปรภาษา
การนาเข้าไลบรารี่ หรือคลาสของไพทอนมาใช้
ประกาศตัวแปร ฟังก์ชัน และคาสั่งควบคุมการทางาน
โปรแกรมภาษาจาวา
ภาษาจาวา (Java) เป็นภาษาที่ถูกพัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1991 เป็นภาษาที่พัฒนาขึ้นมาโดย เจมส์ กอสลิง (James Gosling)
ภาษาจาวาได้รับการออกแบบให้มีรูปแบบทางภาษาเหมือนภาษา C โดยมีคากล่าวว่าเป็น
“Write Once, Run Anywhere” เขียนเพียงครั้งเดียวและสามารถนาไปรันได้บนทุกแพลตฟอร์ม
โครงสร้างของ
ภาษา จาวาเบื้องต้น
• เหมาะสาหรับพัฒนาระบบที่มีความซับซ้อน
• สามารถทางานได้ในระบบปฏิบัติการที่แตกต่าง
• ใช้งานได้ง่ายกว่าและลดความผิดพลาดได้มากขึ้น
• มีความปลอดภัยสูงในการเขียนโปรแกรม
• โปรแกรมที่สร้างด้วยภาษาจาวาจะทางานช้ากว่า native code
• tool ที่มีในการใช้พัฒนาโปรแกรมจาวาไม่ทันสมัย
ข้อดีของภาษาจาวา
ข้อเสียของภาษาจาวา
ส่วนของการเรียกใช้งานคลาสที่อยู่ต่างแพ็กเกจImport
ส่วนการการระบุตาแหน่งหรือที่อยู่ของคลาสPackage
ส่วนของการเขียนคาสั่งการทางานของโปรแกรมClass
รูปแบบการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
โครงสร้างการทางานแบบเรียงลาดับ
(sequence structure)
โครงสร้างการทางานแบบทาซ้า
(iteration structure)
โครงสร้างการทางานแบบมีเงื่อนไข
(condition structure)
T F
F
T

More Related Content

Similar to learningunitonesciencecomputer2

การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++Naowarat Jaikaroon
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ jamiezaa123
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C0872671746
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์Wityaporn Pleeboot
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร Jp Eternally
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlopPor Kung
 
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ saengtham
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมEdz Chatchawan
 

Similar to learningunitonesciencecomputer2 (20)

การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
 
Jamie
JamieJamie
Jamie
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
Unit3coding
Unit3codingUnit3coding
Unit3coding
 
5
55
5
 
Pawina5 4 20
Pawina5 4 20Pawina5 4 20
Pawina5 4 20
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlop
 
Answer unit1.1
Answer unit1.1Answer unit1.1
Answer unit1.1
 
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
vb.net
vb.netvb.net
vb.net
 
Know 1 1
Know 1 1Know 1 1
Know 1 1
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอม
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 

learningunitonesciencecomputer2

  • 1. หลักการเขียนโปรแกรม การกาหนดและวิเคราะห์ปัญหา (analysis the problem) การออกแบบโปรแกรม (design a program) การเขียนโปรแกรม (coding) กาหนดวัตถุประสงค์ ของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ กาหนดลักษณะ ข้อมูลนาเข้า กาหนดลักษณะ ข้อมูลนาออก กาหนดวิธีการประมวลผล หรือวิธีการคานวณ การออกแบบอัลกอรึทึม (algorithm) การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (user interface) เขียนคาสั่ง (coding) แปลภาษา (compile) สั่งให้ไฟล์โปรแกรมทางาน (run)
  • 2. โปรแกรมภาษา C ภาษา C พัฒนาขึ้นในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1969-1973 โดย เดนนิส ริตชี (Dennis Ritchie) แห่ง Bell Lab และได้รับการรับรองเป็นมาตรฐานโดย ANSI ซึ่งภาษา C เป็นภาษาโปรแกรมหนึ่งที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายมาจนถึงปัจจุบัน preprocessor directives ใช้สาหรับเรียกใช้คาสั่งมาตรฐาน global declaration ใช้สาหรับประกาศตัวแปร main function เป็นส่วนการทางานหลัก user-defined function เป็นส่วนของการเขียนคาสั่ง โครงสร้าง ของภาษา C คาสั่งและไวยกรณ์ พื้นฐาน • จบคาสั่งด้วยเครื่องหมาย ; เสมอ • คาสั่งการประกาศตัวแปร รูปแบบ : ชนิดข้อมูล ตัวแปร ; เช่น int width; ตัวแปร width เป็นตัวแปรประเภทเลขจานวนเต็ม • คาสั่งการรับข้อมูล รูปแบบ : scanf (ชนิดตัวแปร, &ชื่อตัวแปร); เช่น scanf ("%d", &width); โดย %d หมายถึง ชนิดเลขจานวนเต็ม • คาสั่งการแสดงผลข้อมูลออกมาทางหน้าจอ รูปแบบ : printf (“ข้อความ”) เช่น printf ("Square area is : %dn", area);
  • 3. โปรแกรมภาษา Scratch Scratch เป็นเครื่องมือและโปรแกรมภาษาที่ถูกพัฒนาขึ้นมา เพื่อการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในรูปแบบของกราฟิก โดยมีโครงสร้าง ดังนี้ เป็นสถานที่ให้ตัวละครแสดง มีภาพฉากหลังเปลี่ยนแปลงได้ มีขนาดความกว้าง 480 pixels สูง 360 pixels เวที ตัวละคร ตัวละครแต่ละตัวจะมีข้อมูลแตกต่างกัน เช่น ชื่อตัวละคร, ตาแหน่งบนเวที เป็นต้น ชุดคาสั่งเพื่อสั่งให้ตัวละครหรือเวที ทางานตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ เช่น การเคลื่อนไหว, การแสดงเสียง, การรับรู้ เป็นต้น สคริปต์
  • 4. โปรแกรมภาษาไพทอน ไพทอน (python) ถูกพัฒนาครั้งแรกเมื่อปี 1989 โดย กิโด ฟาน รอสซัม (Guido van Rossum) โดยโครงสร้างของภาษานั้นจะไม่มีการยึดติดกับแพลตฟอร์มที่ใช้ ทาให้ python เป็น Open Source เต็มรูปแบบที่ใช้พัฒนาได้อย่างอิสระ โครงสร้างของ ภาษา ไฟทอนเบื้องต้น คอมเมนต์หรือการประกาศตัวแปรภาษา การนาเข้าไลบรารี่ หรือคลาสของไพทอนมาใช้ ประกาศตัวแปร ฟังก์ชัน และคาสั่งควบคุมการทางาน
  • 5. โปรแกรมภาษาจาวา ภาษาจาวา (Java) เป็นภาษาที่ถูกพัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1991 เป็นภาษาที่พัฒนาขึ้นมาโดย เจมส์ กอสลิง (James Gosling) ภาษาจาวาได้รับการออกแบบให้มีรูปแบบทางภาษาเหมือนภาษา C โดยมีคากล่าวว่าเป็น “Write Once, Run Anywhere” เขียนเพียงครั้งเดียวและสามารถนาไปรันได้บนทุกแพลตฟอร์ม โครงสร้างของ ภาษา จาวาเบื้องต้น • เหมาะสาหรับพัฒนาระบบที่มีความซับซ้อน • สามารถทางานได้ในระบบปฏิบัติการที่แตกต่าง • ใช้งานได้ง่ายกว่าและลดความผิดพลาดได้มากขึ้น • มีความปลอดภัยสูงในการเขียนโปรแกรม • โปรแกรมที่สร้างด้วยภาษาจาวาจะทางานช้ากว่า native code • tool ที่มีในการใช้พัฒนาโปรแกรมจาวาไม่ทันสมัย ข้อดีของภาษาจาวา ข้อเสียของภาษาจาวา ส่วนของการเรียกใช้งานคลาสที่อยู่ต่างแพ็กเกจImport ส่วนการการระบุตาแหน่งหรือที่อยู่ของคลาสPackage ส่วนของการเขียนคาสั่งการทางานของโปรแกรมClass