SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
แบบเสนอแผนปฏิบัติการโครงการ
“พัฒนาทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพ โดยมีส่วนร่วม”
ขยายผลสู่นักศึกษาเกษตรและเกษตรกร
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีขอนแก่น
ความเป็นมา:
1. สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้อนุมัติโครงการ “การสร้างความลงตัวระหว่าง
การศึกษาอาชีวะเกษตรกับงานวิจัยเพ่อความมันคงทางด้านอาหารของประเทศ” เมือวันที 28 มิถุนายน 2555
ระยะเวลาดําเนินการปีงบประมาณ พ.ศ. 2555-2556
2. สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การสร้างทักษะ
เทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพโดยการมีส่วนร่วม” ระหว่างวันที 25 กรกฎาคม – 4
สิงหาคม 2555 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพิจิตร วัตถุประสงค์หลักเพือเสริมสร้างขีดความสามารถ
ของนักวิจัย นักปรับปรุงพันธุ์ และสถาบันในด้านการใช้วิธีการมีส่วนร่วมในการพัฒนาเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมชุมชนโดยยึดระบบการเกษตรทีอยู่บนพืนฐานของความหลากหลายทางด้านชีววิทยา ผู้เข้ารับการ
อบรม คือข้าราชการครูสาขาทีเกียวข้องจากวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี 17 แห่ง ผู้ให้การอบรม คือ
วิทยากรจากมูลนิธิการศึกษาไทย
3. การมอบหมายงานกับครูผู้เข้ารับการอบรม โดยมีข้อตกลงร่วมกัน ให้ทุกสถานศึกษาทีเข้าร่วม
โครงการ จะต้องไปขับเคลือนให้เกิดกระบวนการจัดตัง เตรียมกลุ่มผู้เรียนและเกษตรกรเพือการขยายผลใน
แต่ละสถานศึกษา โดยมี 3 ประเด็นหลักคือ
1) ประสานหาสมาชิกเพิมจากครูในสถานศึกษาเพือเข้าร่วมเป็นทีมงาน
2) คัดเลือกนักศึกษาเข้าร่วมโครงการจํานวน 20-35 คนต่อสถานศึกษา
3) คัดเลือกเกษตรกรในพืนทีเพือเข้าร่วมโครงการ จํานวน 40 คนต่อสถานศึกษา
4. สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาอนุมัติงบประมาณสําหรับการขยายผลและถ่ายทอดองค์
ความรู้สู่ชุมชน โดยผ่านนักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 สถานศึกษาละ
60,000 บาท รวม 16 สถานศึกษา เป็นเงิน 960,000 บาท ซึงกําหนดจะใช้วิธีการ
- ครูทีผ่านการฝึกอบรมประสานหาสมาชิกเพิมเพือเป็นทีมงาน
- คัดเลือกนักศึกษาอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการสถานศึกษาละ 30 คน รวม 480 คน และ
เกษตรกรในพืนที แห่งละ 40 คน รวม 640 คน
- จัดทําแปลงสาธิตการลดใช้สารเคมีพืนทีทําเกษตรในวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี เพือ
สนับสนุน ส่งเสริมให้สถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน อันส่งผลต่อการพัฒนาเกษตรได้อย่างยังยืน
2
วัตถุประสงค์:
ขยายผลและถ่ายทอดองค์ความรู้ “ทักษะเทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพโดย
การมีส่วนร่วม” สู่นักศึกษาเกษตรและเกษตรกรให้มีขีดความสามารถทีจะพัฒนาให้เกิดความมันคงด้าน
อาหารและพัฒนาระบบการดําเนินชีวิต ในด้านทีเกียวข้องกับความหลากหลายทางชีววิทยา
ตัวชีวัดและค่าเป้ าหมาย:
1. นักศึกษาอาชีวเกษตรได้รับการพัฒนาทักษะฯ จํานวน 30 คน
2. เกษตรกรได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ จํานวน 40 คน
3. แปลงสาธิตการลดใช้สารเคมีพืนทีเกษตรในสถานศึกษา เพือสนับสนุนและส่งเสริมให้วิทยาลัย
เกษตรและเทคโนโลยีเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน จํานวน 1 แปลง
ระยะเวลาดําเนินการ ระหว่างวันที 1 กรกฎาคม 2556 ถึงวันที 30 ตุลาคม 2556
กิจกรรมที 1 การพัฒนาทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพโดยการมีส่วนร่วม
ให้กับนักศึกษา 30 คน
วัตถุประสงค์
เพือให้นักศึกษาทีเข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลาย
ทางชีวภาพโดยการมีส่วนร่วม ในระดับทีสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้สู่เกษตรกรได้
ตัวชีวัดและค่าเป้ าหมาย
นักศึกษาทีผ่านการพัฒนาองค์ความรู้สาขาทักษะเทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลายทาง
ชีวภาพ ในระดับทีสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้สู่เกษตรกรได้จํานวน 30 คน
ขันตอนการดําเนินงาน
ขันการดําเนินงาน
ระยะเวลาดําเนินงาน
งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ
ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค.
1.รับสมัครนักศึกษาเข้าร่วม
โครงการ
- นางวาสนา สงฆนาม
นางเพ็ญนภา โสใหญ่
นายสุพัฒชัย กาบุญคํา
นางสาวปัทมนันท์ พรมแสง
3
ขันตอนการดําเนินงาน (ต่อ)
ขันการดําเนินงาน
ระยะเวลาดําเนินงาน งบประมาณ
(บาท)
ผู้รับผิดชอบ
ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค.
2. ประชุมกําหนดจัดทําหลักสูตร
และระยะเวลาอบรม ให้ความรู้แก่
นักศึกษา
- นางวาสนา สงฆนาม
นางเพ็ญนภา โสใหญ่
นายสุพัฒชัย กาบุญคํา
นางสาวปัทมนันท์ พรมแสง3. ดําเนินการฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการ
ให้กับนักศึกษาทีเข้าร่วมโครงการ
20,000
4. สรุปผลการอบรม -
กิจกรรมที 2 การถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะเทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพสู่ชุมชน
วัตุประสงค์
เพือเผยแพร่ความรู้ ทักษะเทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพ
ตัวชีวัดและค่าเป้ าหมาย
เกษตรกรทีเข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาองค์ความรู้และทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความ
หลากหลายทางชีวภาพโดยการมีส่วนร่วม ในระดับทีสามารถนําไปปรับใช้กับการพัฒนาการประกอบอาชีพ
เกษตรไม่ตํากว่าร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการ
4
ขันตอนการดําเนินงาน
ขันการดําเนินงาน
ระยะเวลาดําเนินงาน งบประมาณ
(บาท)
ผู้รับผิดชอบ
ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค.
1.ประชุมเลือกพืนทีเพือสรรหา
เกษตรกรเข้าร่วมโครงการ
- นางวาสนา สงฆนาม
นางเพ็ญนภา โสใหญ่
นายสุพัฒชัย กาบุญคํา
นางสาวปัทมนันท์ พรมแสง
นายบุญเยียม ประยูรชาญ
2. ออกพืนทีประสานเครือข่ายและ
สรรหาเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ
5,000
3.ดําเนินการฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการ
ให้แก่เกษตรกรทีเข้าร่วมโครงการ
20,000
4. สรุปผลการฝึกอบรม -
กิจกรรมที 3 การจัดทําแปลงสาธิตลดการใช้สารเคมีในพืนทีวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
วัตุประสงค์
เพือจัดทําแปลงสาธิตการลดการใช้สารคมี ในการเกษตรเพือส่งเสริมให้วิทยาลัยเกษตรและ
เทคโนโลยีให้เป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชนได้อย่างยังยืน
ตัวชีวัดและค่าเป้ าหมาย
แปลงสาธิตการลดการใช้สารเคมีทีจัดทําขึนมีความครอบคลุมพืชเศรษฐกิจหลักของท้องถินและมี
การบํารุงรักษาให้สามารถใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ไม่น้อยกว่า 1 แปลงสาธิต
ขันตอนการดําเนินงาน
ขันการดําเนินงาน
ระยะเวลาดําเนินงาน งบประมาณ
(บาท)
ผู้รับผิดชอบ
ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค.
1. ประชุมเลือกพืชและพืนทีจัดทํา
แปลงสาธิต
- นางวาสนา สงฆนาม
นางเพ็ญนภา โสใหญ่
นายสุพัฒชัย กาบุญคํา
นางนฤมล ศิริโชคชัย
นางสาวปัทมนันท์ พรมแสง
นายบุญเยียม ประยูรชาญ
2. ดําเนินการจัดทําแปลงสาธิต 15,000
3. เปิดเป็นแหล่งเรียนรู้ให้แก่
นักศึกษา และเกษตรกรในชุมชน
-
4. สรุปผลการดําเนินการ
5
งบประมาณ
รายการงบประมาณ จํานวนเงิน
กิจกรรมที 1 การพัฒนาทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพโดยการมี
ส่วนร่วม ให้กับนักศึกษา 30 คน
ค่าใช้จ่าย - ค่าวัสดุ
- ค่าตอบแทน ค่าจ้าง และค่าใช้สอย
3,000
17,000
กิจกรรมที 2 การถ่ายทอดองค์ความรู้ สาขาทักษะเทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลาย
ทางชีวภาพสู่ชุมชน โดย่านนักศึกษาวิทยาลัยเกษตรเทคโนโลยีขอนแก่น โดยมีเกษตรกร
ได้รับการถ่านทอด 30 คน
ค่าใช้จ่าย - ค่าวัสดุ
- ค่าตอบแทน ค่าจ้าง และค่าใช้สอย
5,000
20,000
กิจกรรมที 3 การจัดทําแปลงสาธิตลดการใช้สารเคมีในพืนทีวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
ค่าใช้จ่าย - ค่าวัสดุ
- ค่าจ้าง
5,000
10,000
รวม 60,000
การติดตามประเมินผล
- ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและเกษตรกรทีมีต่อโครงการหลังสินสุดการอบรม
- รายงานผลการใช้แปลงสาธิตเพือแหล่งเรียนรู้ในวิทยาลัยฯ
6
ลงชือ......................................................ผู้เสนอโครงการ
( นางวาสนา สงฆนาม )
ตําแหน่ง ครู
ความคิดเห็นของหัวหน้าแผนก/หัวหน้างาน
ลงชือ.................................................................
( นางวิทิลดา สัมฤทธิ )
ตําแหน่ง หัวหน้างานวิจัยและพัฒนาฯ
ความคิดเห็นของรองผู้อํานวยการฝ่าย
ลงชือ.................................................................
( นายพิชิตเดช ขัตติยะ )
ตําแหน่ง รองผู้อํานวยการฝ่ายแผนงานและ
ความร่วมมือ
ผลการพิจารณา ( ) อนุมัติ ( ) ไม่อนุมัติ เนืองจาก.....................................................................
ลงชือ............................................................ผู้อนุมัติโครงการ
( นายพรณรงค์ วรศิลป์ )
ตําแหน่ง ผู้อํานวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีขอนแก่น

More Related Content

Similar to แบบเสนอแผนปฏิบัติการ การถ่ายทอดองค์ความรู้ Ipm วษท ขอนแก่น

Similar to แบบเสนอแผนปฏิบัติการ การถ่ายทอดองค์ความรู้ Ipm วษท ขอนแก่น (6)

Anhperf 6
Anhperf 6Anhperf 6
Anhperf 6
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
 
ความก้าวหน้าโครงการ วษท.สิงห์บุรี
ความก้าวหน้าโครงการ วษท.สิงห์บุรีความก้าวหน้าโครงการ วษท.สิงห์บุรี
ความก้าวหน้าโครงการ วษท.สิงห์บุรี
 
Singburi
SingburiSingburi
Singburi
 
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
 
Webwatpamenpon
WebwatpamenponWebwatpamenpon
Webwatpamenpon
 

แบบเสนอแผนปฏิบัติการ การถ่ายทอดองค์ความรู้ Ipm วษท ขอนแก่น

  • 1. แบบเสนอแผนปฏิบัติการโครงการ “พัฒนาทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพ โดยมีส่วนร่วม” ขยายผลสู่นักศึกษาเกษตรและเกษตรกร วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีขอนแก่น ความเป็นมา: 1. สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้อนุมัติโครงการ “การสร้างความลงตัวระหว่าง การศึกษาอาชีวะเกษตรกับงานวิจัยเพ่อความมันคงทางด้านอาหารของประเทศ” เมือวันที 28 มิถุนายน 2555 ระยะเวลาดําเนินการปีงบประมาณ พ.ศ. 2555-2556 2. สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การสร้างทักษะ เทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพโดยการมีส่วนร่วม” ระหว่างวันที 25 กรกฎาคม – 4 สิงหาคม 2555 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพิจิตร วัตถุประสงค์หลักเพือเสริมสร้างขีดความสามารถ ของนักวิจัย นักปรับปรุงพันธุ์ และสถาบันในด้านการใช้วิธีการมีส่วนร่วมในการพัฒนาเทคโนโลยีและ นวัตกรรมชุมชนโดยยึดระบบการเกษตรทีอยู่บนพืนฐานของความหลากหลายทางด้านชีววิทยา ผู้เข้ารับการ อบรม คือข้าราชการครูสาขาทีเกียวข้องจากวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี 17 แห่ง ผู้ให้การอบรม คือ วิทยากรจากมูลนิธิการศึกษาไทย 3. การมอบหมายงานกับครูผู้เข้ารับการอบรม โดยมีข้อตกลงร่วมกัน ให้ทุกสถานศึกษาทีเข้าร่วม โครงการ จะต้องไปขับเคลือนให้เกิดกระบวนการจัดตัง เตรียมกลุ่มผู้เรียนและเกษตรกรเพือการขยายผลใน แต่ละสถานศึกษา โดยมี 3 ประเด็นหลักคือ 1) ประสานหาสมาชิกเพิมจากครูในสถานศึกษาเพือเข้าร่วมเป็นทีมงาน 2) คัดเลือกนักศึกษาเข้าร่วมโครงการจํานวน 20-35 คนต่อสถานศึกษา 3) คัดเลือกเกษตรกรในพืนทีเพือเข้าร่วมโครงการ จํานวน 40 คนต่อสถานศึกษา 4. สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาอนุมัติงบประมาณสําหรับการขยายผลและถ่ายทอดองค์ ความรู้สู่ชุมชน โดยผ่านนักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 สถานศึกษาละ 60,000 บาท รวม 16 สถานศึกษา เป็นเงิน 960,000 บาท ซึงกําหนดจะใช้วิธีการ - ครูทีผ่านการฝึกอบรมประสานหาสมาชิกเพิมเพือเป็นทีมงาน - คัดเลือกนักศึกษาอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการสถานศึกษาละ 30 คน รวม 480 คน และ เกษตรกรในพืนที แห่งละ 40 คน รวม 640 คน - จัดทําแปลงสาธิตการลดใช้สารเคมีพืนทีทําเกษตรในวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี เพือ สนับสนุน ส่งเสริมให้สถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน อันส่งผลต่อการพัฒนาเกษตรได้อย่างยังยืน
  • 2. 2 วัตถุประสงค์: ขยายผลและถ่ายทอดองค์ความรู้ “ทักษะเทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพโดย การมีส่วนร่วม” สู่นักศึกษาเกษตรและเกษตรกรให้มีขีดความสามารถทีจะพัฒนาให้เกิดความมันคงด้าน อาหารและพัฒนาระบบการดําเนินชีวิต ในด้านทีเกียวข้องกับความหลากหลายทางชีววิทยา ตัวชีวัดและค่าเป้ าหมาย: 1. นักศึกษาอาชีวเกษตรได้รับการพัฒนาทักษะฯ จํานวน 30 คน 2. เกษตรกรได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ จํานวน 40 คน 3. แปลงสาธิตการลดใช้สารเคมีพืนทีเกษตรในสถานศึกษา เพือสนับสนุนและส่งเสริมให้วิทยาลัย เกษตรและเทคโนโลยีเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน จํานวน 1 แปลง ระยะเวลาดําเนินการ ระหว่างวันที 1 กรกฎาคม 2556 ถึงวันที 30 ตุลาคม 2556 กิจกรรมที 1 การพัฒนาทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพโดยการมีส่วนร่วม ให้กับนักศึกษา 30 คน วัตถุประสงค์ เพือให้นักศึกษาทีเข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลาย ทางชีวภาพโดยการมีส่วนร่วม ในระดับทีสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้สู่เกษตรกรได้ ตัวชีวัดและค่าเป้ าหมาย นักศึกษาทีผ่านการพัฒนาองค์ความรู้สาขาทักษะเทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลายทาง ชีวภาพ ในระดับทีสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้สู่เกษตรกรได้จํานวน 30 คน ขันตอนการดําเนินงาน ขันการดําเนินงาน ระยะเวลาดําเนินงาน งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. 1.รับสมัครนักศึกษาเข้าร่วม โครงการ - นางวาสนา สงฆนาม นางเพ็ญนภา โสใหญ่ นายสุพัฒชัย กาบุญคํา นางสาวปัทมนันท์ พรมแสง
  • 3. 3 ขันตอนการดําเนินงาน (ต่อ) ขันการดําเนินงาน ระยะเวลาดําเนินงาน งบประมาณ (บาท) ผู้รับผิดชอบ ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. 2. ประชุมกําหนดจัดทําหลักสูตร และระยะเวลาอบรม ให้ความรู้แก่ นักศึกษา - นางวาสนา สงฆนาม นางเพ็ญนภา โสใหญ่ นายสุพัฒชัย กาบุญคํา นางสาวปัทมนันท์ พรมแสง3. ดําเนินการฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการ ให้กับนักศึกษาทีเข้าร่วมโครงการ 20,000 4. สรุปผลการอบรม - กิจกรรมที 2 การถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะเทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพสู่ชุมชน วัตุประสงค์ เพือเผยแพร่ความรู้ ทักษะเทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพ ตัวชีวัดและค่าเป้ าหมาย เกษตรกรทีเข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาองค์ความรู้และทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความ หลากหลายทางชีวภาพโดยการมีส่วนร่วม ในระดับทีสามารถนําไปปรับใช้กับการพัฒนาการประกอบอาชีพ เกษตรไม่ตํากว่าร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการ
  • 4. 4 ขันตอนการดําเนินงาน ขันการดําเนินงาน ระยะเวลาดําเนินงาน งบประมาณ (บาท) ผู้รับผิดชอบ ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. 1.ประชุมเลือกพืนทีเพือสรรหา เกษตรกรเข้าร่วมโครงการ - นางวาสนา สงฆนาม นางเพ็ญนภา โสใหญ่ นายสุพัฒชัย กาบุญคํา นางสาวปัทมนันท์ พรมแสง นายบุญเยียม ประยูรชาญ 2. ออกพืนทีประสานเครือข่ายและ สรรหาเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 5,000 3.ดําเนินการฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการ ให้แก่เกษตรกรทีเข้าร่วมโครงการ 20,000 4. สรุปผลการฝึกอบรม - กิจกรรมที 3 การจัดทําแปลงสาธิตลดการใช้สารเคมีในพืนทีวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี วัตุประสงค์ เพือจัดทําแปลงสาธิตการลดการใช้สารคมี ในการเกษตรเพือส่งเสริมให้วิทยาลัยเกษตรและ เทคโนโลยีให้เป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชนได้อย่างยังยืน ตัวชีวัดและค่าเป้ าหมาย แปลงสาธิตการลดการใช้สารเคมีทีจัดทําขึนมีความครอบคลุมพืชเศรษฐกิจหลักของท้องถินและมี การบํารุงรักษาให้สามารถใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ไม่น้อยกว่า 1 แปลงสาธิต ขันตอนการดําเนินงาน ขันการดําเนินงาน ระยะเวลาดําเนินงาน งบประมาณ (บาท) ผู้รับผิดชอบ ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. 1. ประชุมเลือกพืชและพืนทีจัดทํา แปลงสาธิต - นางวาสนา สงฆนาม นางเพ็ญนภา โสใหญ่ นายสุพัฒชัย กาบุญคํา นางนฤมล ศิริโชคชัย นางสาวปัทมนันท์ พรมแสง นายบุญเยียม ประยูรชาญ 2. ดําเนินการจัดทําแปลงสาธิต 15,000 3. เปิดเป็นแหล่งเรียนรู้ให้แก่ นักศึกษา และเกษตรกรในชุมชน - 4. สรุปผลการดําเนินการ
  • 5. 5 งบประมาณ รายการงบประมาณ จํานวนเงิน กิจกรรมที 1 การพัฒนาทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพโดยการมี ส่วนร่วม ให้กับนักศึกษา 30 คน ค่าใช้จ่าย - ค่าวัสดุ - ค่าตอบแทน ค่าจ้าง และค่าใช้สอย 3,000 17,000 กิจกรรมที 2 การถ่ายทอดองค์ความรู้ สาขาทักษะเทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลาย ทางชีวภาพสู่ชุมชน โดย่านนักศึกษาวิทยาลัยเกษตรเทคโนโลยีขอนแก่น โดยมีเกษตรกร ได้รับการถ่านทอด 30 คน ค่าใช้จ่าย - ค่าวัสดุ - ค่าตอบแทน ค่าจ้าง และค่าใช้สอย 5,000 20,000 กิจกรรมที 3 การจัดทําแปลงสาธิตลดการใช้สารเคมีในพืนทีวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี ค่าใช้จ่าย - ค่าวัสดุ - ค่าจ้าง 5,000 10,000 รวม 60,000 การติดตามประเมินผล - ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและเกษตรกรทีมีต่อโครงการหลังสินสุดการอบรม - รายงานผลการใช้แปลงสาธิตเพือแหล่งเรียนรู้ในวิทยาลัยฯ
  • 6. 6 ลงชือ......................................................ผู้เสนอโครงการ ( นางวาสนา สงฆนาม ) ตําแหน่ง ครู ความคิดเห็นของหัวหน้าแผนก/หัวหน้างาน ลงชือ................................................................. ( นางวิทิลดา สัมฤทธิ ) ตําแหน่ง หัวหน้างานวิจัยและพัฒนาฯ ความคิดเห็นของรองผู้อํานวยการฝ่าย ลงชือ................................................................. ( นายพิชิตเดช ขัตติยะ ) ตําแหน่ง รองผู้อํานวยการฝ่ายแผนงานและ ความร่วมมือ ผลการพิจารณา ( ) อนุมัติ ( ) ไม่อนุมัติ เนืองจาก..................................................................... ลงชือ............................................................ผู้อนุมัติโครงการ ( นายพรณรงค์ วรศิลป์ ) ตําแหน่ง ผู้อํานวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีขอนแก่น