SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
Standard
(ตอนที่ 1) ขั้นเตรียมงาน
• สร้างไฟล์ใหม่ขึ้นมาแล้วทาการตั้งชื่อเลเยอร์แรกว่า “bg” หรือ “background”
• คลิกที่เฟรม 1 ของเลเยอร์ bg แล้วให้ใส่ภาพและตัวอักษร ตามที่ได้คิดไว้ จะได้ดังรูป
• คลิก Insert Layer เพื่อสร้างเลเยอร์เพิ่ม ตั้งชื่อเป็น content หลังจากนั้นให้สร้างให้เป็น Keyframe ทั้ง 5 เฟรม โดยการคลิกที่เฟรม 1 ของเลเยอร์
content จากนั้นให้กดปุ่ม F6 จานวน 4 ครั้ง ก็จะได้เฟรมทั้งหมด 5 เฟรม
• ไปที่เมนู Insert เลือก New Symbol ตั้งชื่อเป็น Symbol แล้วเลือก Type เป็น Button และวาดรูปสี่่เหลี่ยมมุมโค้ง สีฟ้าจาก “บทที่ 2 Symbol
และ Instance” ในหัวข้อเทคนิคการสร้างปุ่มสี่เหลี่ยมมุมโค้งดังภาพ
• คลิกขวาที่เฟรม Up แล้วเลือก Copy Frame จากนั้นคลิกขวาที่เฟรม Over แล้วเลือก Paste Frame แล้วไปคลิกเลือก Selection Tools (รูปเมาส์
สีดา) จากนั้นคลิกที่รูปสี่เหลี่ยมมุมโค้ง เปลี่ยนสีให้เป็นสีเหลือง
• คลิกที่ Scene 1 เพื่อกลับไปทางานหน้าหลัก
• เมื่อไปดูที่พาเนล Library จะมี Symbol แบบ Button เกิดขึ้น ซึ่งเราจะเอาไว้เป็น Instance ทาปุ่มต่างๆ ในสเตจ (พื้นที่ทางานสีขาว) ดังภาพ
ด้านล่าง
(ตอนที่ 2) ขั้นสร้างงานเนื้อหา
• หลังจากที่ได้เตรียมงานขั้นต้นไว้แล้ว เราก็มาเริ่มสร้างบทเรียนกันเลย ทาการสร้างเลเยอร์เพิ่มขึ้นอีก 1 เลเยอร์ โดยตั้งชื่อว่า menu โดยตรวจสอบ
ว่าเลเยอร์ content มีคีย์เฟรมครบทั้ง 5 เฟรมแล้ว และเลเยอร์ menu ให้มีคีย์เฟรมในเฟรมที่ 1-2 วิธีการเพิ่มให้คลิกที่เฟรม 1 ของเล
เยอร์ menu แล้วกดปุ่ม F6 จานวน 1 ครั้ง ก็จะได้ดังภาพ
• ให้ไปคลิกที่เฟรม 1 ของเลเยอร์ content จากนั้นให้มองหา Panel ชื่อ Library หาชื่อในส่วนของ Name เป็น Symbol ลากมาวางไว้ในหน้าสเตจ
หรือพื้นที่ทางาน ตามจานวนปุ่มที่ต้องการ ในที่นี้ให้ลากมา 4 Symbol ดังภาพ
• ให้คลิกที่เฟรม 1 ของเลเยอร์ menu แล้วพิมพ์ชื่อ บทเรียนที่ 1-4 ดังภาพ (ย้้าอีกครั้งว่า ต้องให้อยู่ในเลเยอร์ menu ก่อนที่จะพิมพ์ชื่อลงไป)
• ทาการเพิ่มอีก 1 เลเยอร์ โดยตั้งชื่อว่า control ให้มีคีย์เฟรมในเฟรมที่ 1-2 โดยการคลิกที่เฟรม 1 ของเลเยอร์ control แล้วกดปุ่ม F6 จานวน 1
ครั้ง ดังภาพ
• ลากปุ่มมาใส่อีกสองปุ่ม ในเฟรมที่ 2 ของเลเยอร์ control และตั้งชื่อตามรูปด้านล่าง (ย้้าอีกครั้งว่าดูเลเยอร์และเฟรมให้ถูกต้องก่อนใส่ข้อมูล)
• ใส่ข้อมูลในเฟรมที่ 2 ในเลเยอร์ content
• ใส่ข้อมูลในเฟรมที่ 3 ในเลเยอร์ content
• ใส่ข้อมูลในเฟรมที่ 4 ในเลเยอร์ content
• ใส่ข้อมูลในเฟรมที่ 5 ในเลเยอร์ content
• จบขึ้นตอนการสร้างเนื้อหาบทเรียน ต่อไปก็จะเป็นการใส่คาสั่งเพื่อให้บทเรียนทางานได้อย่างสมบูรณ์ ด้วย Action Script (AS) โดยเราจะใช้ AS2.0
(ตอนที่ 3) ใส่คาสั่ง AS
• ตอนนี้จะเป็นการใช้คาสั่ง AS2.0 ให้บทเรียนครับ เรามาเริ่มกันจาก เพิ่มเลเยอร์ขึ้นมาอีก 1 เลเยอร์ โดยตั้งชื่อว่า as และให้สร้างคีย์เฟรมทั้งหมด 6
Keyframe
• จากนั้นเปิดพาเนล Action Script แล้วใส่คาสั่งที่คีย์เฟรม 1-5 ของเลเยอร์ as โดยทาการตามรูปด้านล่าง
• ส่วนคีย์เฟรม 6 ของเลเยอร์ as ให้ใส่คาสั่ง
fscommand(“quit”, true);
window.close();
• จากนั้นให้ใส่คาสั่งกับปุ่มทุกปุ่มตามนี้ โดยการใส่ก็ให้ไปคลิกที่ตัวปุ่มก่อน แล้วค่อยกด F9 เปิดหน้าต่างเพื่อใส่ AS
• เริ่มจากปุ่มบทเรียนที่ 1
on (press) {
gotoAndPlay(2);
}
• ปุ่มบทเรียนที่ 2
on (press) {
gotoAndPlay(3);
}
• ปุ่มบทเรียนที่ 3
on (press) {
gotoAndPlay(4);
}
• ปุ่มบทเรียนที่ 4
on (press) {
gotoAndPlay(5);
}
• ปุ่มกลับสู่หน้าหลัก
on (press) {
gotoAndPlay(1);
}
• และสุดท้ายปุ่มออกจากโปรแกรมหรือบทเรียน
on (press) {
gotoAndPlay(6);
}
• เท่านี้ก็เป็นอันเสร็จสิ้นสมบูรณ์สาหรับตัวอย่างการออกแบบ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ด้วย โปรแกรม Flash ซึ่งหากท่านเข้าใจจะสามารถ
นาไปประยุกต์ใช้ได้ในการสร้าง CAI ที่มีเนื้อหา ภาพ รายละเอียด ที่เยอะกว่านี้
ที่มา : http://teacher.rts.ac.th/anusuk/339/

More Related Content

More from ณัฐพล บัวพันธ์

เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightณัฐพล บัวพันธ์
 
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น  บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น ณัฐพล บัวพันธ์
 
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh ณัฐพล บัวพันธ์
 
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ณัฐพล บัวพันธ์
 

More from ณัฐพล บัวพันธ์ (20)

ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
 
วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3
 
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
 
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
 
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น
รายนามศิษย์เก่าดีเด่นรายนามศิษย์เก่าดีเด่น
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น
 
กำหนดการรับสมัครนักเรียน
กำหนดการรับสมัครนักเรียนกำหนดการรับสมัครนักเรียน
กำหนดการรับสมัครนักเรียน
 
บทที่ 7 เล่นกับเวลา
บทที่ 7 เล่นกับเวลา  บทที่ 7 เล่นกับเวลา
บทที่ 7 เล่นกับเวลา
 
บทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรี
บทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรีบทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรี
บทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรี
 
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น  บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
 
บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright
บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright  บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright
บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright
 
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
 
บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright
บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright  บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright
บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright
 
บทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุก
บทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุกบทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุก
บทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุก
 
ผลการสอบม1
ผลการสอบม1ผลการสอบม1
ผลการสอบม1
 
การจัดห้องเรียน ม4
การจัดห้องเรียน ม4การจัดห้องเรียน ม4
การจัดห้องเรียน ม4
 
ผลการสอบม4
ผลการสอบม4ผลการสอบม4
ผลการสอบม4
 
การจัดห้องเรียน
การจัดห้องเรียนการจัดห้องเรียน
การจัดห้องเรียน
 
ผลการสอบม1
ผลการสอบม1ผลการสอบม1
ผลการสอบม1
 
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
 

การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน Cai

  • 1. การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI Standard (ตอนที่ 1) ขั้นเตรียมงาน • สร้างไฟล์ใหม่ขึ้นมาแล้วทาการตั้งชื่อเลเยอร์แรกว่า “bg” หรือ “background” • คลิกที่เฟรม 1 ของเลเยอร์ bg แล้วให้ใส่ภาพและตัวอักษร ตามที่ได้คิดไว้ จะได้ดังรูป • คลิก Insert Layer เพื่อสร้างเลเยอร์เพิ่ม ตั้งชื่อเป็น content หลังจากนั้นให้สร้างให้เป็น Keyframe ทั้ง 5 เฟรม โดยการคลิกที่เฟรม 1 ของเลเยอร์ content จากนั้นให้กดปุ่ม F6 จานวน 4 ครั้ง ก็จะได้เฟรมทั้งหมด 5 เฟรม • ไปที่เมนู Insert เลือก New Symbol ตั้งชื่อเป็น Symbol แล้วเลือก Type เป็น Button และวาดรูปสี่่เหลี่ยมมุมโค้ง สีฟ้าจาก “บทที่ 2 Symbol และ Instance” ในหัวข้อเทคนิคการสร้างปุ่มสี่เหลี่ยมมุมโค้งดังภาพ
  • 2. • คลิกขวาที่เฟรม Up แล้วเลือก Copy Frame จากนั้นคลิกขวาที่เฟรม Over แล้วเลือก Paste Frame แล้วไปคลิกเลือก Selection Tools (รูปเมาส์ สีดา) จากนั้นคลิกที่รูปสี่เหลี่ยมมุมโค้ง เปลี่ยนสีให้เป็นสีเหลือง • คลิกที่ Scene 1 เพื่อกลับไปทางานหน้าหลัก • เมื่อไปดูที่พาเนล Library จะมี Symbol แบบ Button เกิดขึ้น ซึ่งเราจะเอาไว้เป็น Instance ทาปุ่มต่างๆ ในสเตจ (พื้นที่ทางานสีขาว) ดังภาพ ด้านล่าง (ตอนที่ 2) ขั้นสร้างงานเนื้อหา • หลังจากที่ได้เตรียมงานขั้นต้นไว้แล้ว เราก็มาเริ่มสร้างบทเรียนกันเลย ทาการสร้างเลเยอร์เพิ่มขึ้นอีก 1 เลเยอร์ โดยตั้งชื่อว่า menu โดยตรวจสอบ ว่าเลเยอร์ content มีคีย์เฟรมครบทั้ง 5 เฟรมแล้ว และเลเยอร์ menu ให้มีคีย์เฟรมในเฟรมที่ 1-2 วิธีการเพิ่มให้คลิกที่เฟรม 1 ของเล เยอร์ menu แล้วกดปุ่ม F6 จานวน 1 ครั้ง ก็จะได้ดังภาพ • ให้ไปคลิกที่เฟรม 1 ของเลเยอร์ content จากนั้นให้มองหา Panel ชื่อ Library หาชื่อในส่วนของ Name เป็น Symbol ลากมาวางไว้ในหน้าสเตจ หรือพื้นที่ทางาน ตามจานวนปุ่มที่ต้องการ ในที่นี้ให้ลากมา 4 Symbol ดังภาพ
  • 3. • ให้คลิกที่เฟรม 1 ของเลเยอร์ menu แล้วพิมพ์ชื่อ บทเรียนที่ 1-4 ดังภาพ (ย้้าอีกครั้งว่า ต้องให้อยู่ในเลเยอร์ menu ก่อนที่จะพิมพ์ชื่อลงไป)
  • 4. • ทาการเพิ่มอีก 1 เลเยอร์ โดยตั้งชื่อว่า control ให้มีคีย์เฟรมในเฟรมที่ 1-2 โดยการคลิกที่เฟรม 1 ของเลเยอร์ control แล้วกดปุ่ม F6 จานวน 1 ครั้ง ดังภาพ • ลากปุ่มมาใส่อีกสองปุ่ม ในเฟรมที่ 2 ของเลเยอร์ control และตั้งชื่อตามรูปด้านล่าง (ย้้าอีกครั้งว่าดูเลเยอร์และเฟรมให้ถูกต้องก่อนใส่ข้อมูล) • ใส่ข้อมูลในเฟรมที่ 2 ในเลเยอร์ content
  • 5. • ใส่ข้อมูลในเฟรมที่ 3 ในเลเยอร์ content • ใส่ข้อมูลในเฟรมที่ 4 ในเลเยอร์ content • ใส่ข้อมูลในเฟรมที่ 5 ในเลเยอร์ content
  • 6. • จบขึ้นตอนการสร้างเนื้อหาบทเรียน ต่อไปก็จะเป็นการใส่คาสั่งเพื่อให้บทเรียนทางานได้อย่างสมบูรณ์ ด้วย Action Script (AS) โดยเราจะใช้ AS2.0 (ตอนที่ 3) ใส่คาสั่ง AS • ตอนนี้จะเป็นการใช้คาสั่ง AS2.0 ให้บทเรียนครับ เรามาเริ่มกันจาก เพิ่มเลเยอร์ขึ้นมาอีก 1 เลเยอร์ โดยตั้งชื่อว่า as และให้สร้างคีย์เฟรมทั้งหมด 6 Keyframe • จากนั้นเปิดพาเนล Action Script แล้วใส่คาสั่งที่คีย์เฟรม 1-5 ของเลเยอร์ as โดยทาการตามรูปด้านล่าง • ส่วนคีย์เฟรม 6 ของเลเยอร์ as ให้ใส่คาสั่ง
  • 7. fscommand(“quit”, true); window.close(); • จากนั้นให้ใส่คาสั่งกับปุ่มทุกปุ่มตามนี้ โดยการใส่ก็ให้ไปคลิกที่ตัวปุ่มก่อน แล้วค่อยกด F9 เปิดหน้าต่างเพื่อใส่ AS • เริ่มจากปุ่มบทเรียนที่ 1 on (press) { gotoAndPlay(2); }
  • 8. • ปุ่มบทเรียนที่ 2 on (press) { gotoAndPlay(3); } • ปุ่มบทเรียนที่ 3 on (press) { gotoAndPlay(4); } • ปุ่มบทเรียนที่ 4 on (press) { gotoAndPlay(5); } • ปุ่มกลับสู่หน้าหลัก on (press) { gotoAndPlay(1); }
  • 9. • และสุดท้ายปุ่มออกจากโปรแกรมหรือบทเรียน on (press) { gotoAndPlay(6); } • เท่านี้ก็เป็นอันเสร็จสิ้นสมบูรณ์สาหรับตัวอย่างการออกแบบ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ด้วย โปรแกรม Flash ซึ่งหากท่านเข้าใจจะสามารถ นาไปประยุกต์ใช้ได้ในการสร้าง CAI ที่มีเนื้อหา ภาพ รายละเอียด ที่เยอะกว่านี้ ที่มา : http://teacher.rts.ac.th/anusuk/339/