SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
maruays@hotmail.com
26 กุมภาพันธ์ 2567
By Dana Maor, Michael Park, and Brooke Weddle
October 12, 2022
Repeatedly rebounding from disruption is tough, but some companies have a recipe for success:
a systems mindset emphasizing agility, psychological safety, adaptable leadership, and cohesive culture.
เกริ่นนา
 องค์กรที่มีความยืดหยุ่น (Resilient organizations) ไม่เพียงแค่ฟื้ นตัวจากความโชคร้ายหรือการ
เปลี่ยนแปลงเท่านั้น พวกเขายังก้าวกระโดดไปข้างหน้า
 พวกเขาดูดซับแรงกระแทก และเปลี่ยนให้เป็นโอกาสในการเติบโตที่ยั่งยืนและครอบคลุม
 เมื่อมีความท้าทายเกิดขึ้ น ผู้นาและทีมในองค์กรที่มีความยืดหยุ่น จะประเมินสถานการณ์อย่าง
รวดเร็ว ปรับทิศทางใหม่ เพิ่มในสิ่งที่ได้ผลเป็นสองเท่า และละออกจากสิ่งที่ไม่ได้ผล
 อย่างไรก็ตาม การสร้างความยืดหยุ่นขององค์กรดังกล่าวเป็นเรื่องยาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบัน
เมื่อผู้นาธุรกิจ พนักงานแถวหน้า และหน่วยธุรกิจ ต้องเผชิญกับการหยุดชะงักหลายอย่างในคราว
เดียวกัน
 บริษัทที่ปลูกฝังความยืดหยุ่นขององค์กร (ซึ่งขับเคลื่อนต่อไปได้ไม่เพียงจากสภาวะวิกฤติเท่านั้น แต่
ยังรวมถึงการคว้าโอกาสได้ด้วย) กุมความได้เปรียบที่สาคัญ และยั่งยืนเหนือกว่าคู่แข่ง
 เพื่อเป็ นข้อพิสูจน์นี้ งานวิจัยของ McKinsey เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทที่มีความแข็งแรง
ขององค์กรกับประสิทธิภาพทางการเงิน ในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 แสดงให้เห็นว่า ธุรกิจ
ที่มีพฤติกรรมที่ดีและมีความยืดหยุ่น เช่น การแบ่งปันความรู้ การทบทวนประสิทธิภาพ และ
นวัตกรรมจากล่างขึ้ นบน มีโอกาสอยู่รอดดีกว่าองค์กรที่ "ไม่แข็งแรง"
องค์กรจะเริ่มอย่างไรดี?
 องค์กรที่ต้องการความยืดหยุ่นมากขึ้ น มีความจาเป็ นในการเสริมความสามารถในสี่ระดับ คือ
 1. สร้างองค์กรที่คล่องตัว (agile organization) เพื่อการเปลี่ยนแปลงไปสู่การตัดสินใจที่รวดเร็วขึ้ น
แบบสหพันธรัฐ และอาศัยข้อมูลและผลลัพธ์ที่ "ดีเพียงพอ" ทาให้ผู้นาและทีมเรียนรู้ และ
ปรับเปลี่ยนได้ง่ายขึ้ น ท่ามกลางความท้าทายทางธุรกิจที่ซับซ้อน
 2. สร้างทีมพึ่งพาตนเองได้ (self-sufficient teams) เมื่อทีมมีความรับผิดชอบและเป็นเจ้าของ
ผลลัพธ์ จะรู้สึกว่าได้รับอานาจในการดาเนินแผนเชิงกลยุทธ์และอยู่ใกล้ชิดกับลูกค้า ซึ่งเป็น
กระบวนการที่ครบวงจร รวมถึงกลไกข้อเสนอแนะอื่นๆ ส่งผลทาให้มีข้อมูลที่พวกเขาต้องการ เพื่อ
เปลี่ยนแปลงแนวทาง หรือสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่อง
• 3. ค้นหาและส่งเสริมผู้นาที่ปรับตัวได้ (find and promote adaptable leaders) เป็นผู้นาซึ่งไม่เพียงแค่
ตอบสนองเมื่อเผชิญกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ การเคลื่อนไหวของคู่แข่ง หรือการเปลี่ยนแปลงใน
พลวัตของทีม พวกเขาโค้ชสมาชิกในทีมตลอดระยะการเปลี่ยนแปลง กระตุ้นพฤติกรรมใหม่ๆ และ
พัฒนาความสามารถ เพื่อตอบสนองความยืดหยุ่นทั้งในระยะสั้นและในระยะยาว
• 4. ลงทุนในคนเก่งและวัฒนธรรม (invest in talent and culture) ทั้งในปัจจุบันและอนาคต บริษัทที่
มุ่งเน้นความยืดหยุ่นในการดาเนินงาน ทีม และผู้นา มีข้อได้เปรียบคือ สภาพแวดล้อมที่ปรับเปลี่ยน
ได้ดังกล่าว มีแนวโน้มที่จะดึงดูดคนเก่งมากกว่า และมีวงจรของความยืดหยุ่นที่จะคงอยู่ต่อไป
ปัจจัยเพื่อสร้างความยืดหยุ่นขององค์กร
 1. องค์กรที่คล่องตัวคือองค์กรที่มีความยืดหยุ่น (An agile organization is a resilient organization)
 2. ทีมที่พึ่งพาตนเองและได้รับมอบอานาจ เพื่อส่งเสริมความยืดหยุ่น (Self-sufficient, empowered
teams foster resilience)
 3. ผู้นาที่ปรับตัวได้ เพื่อกาหนดเงื่อนไขสาหรับความยืดหยุ่น (Adaptable leaders set the conditions
for resilience)
 4. คนเก่งและวัฒนธรรมเป็ นรากฐานของทุกสิ่ง ทั้งในปัจจุบันและอนาคต (Talent and culture
underpin everything—now and for the future)
1. องค์กรที่คล่องตัวคือองค์กรที่มีความยืดหยุ่น
 องค์กรหลายแห่งถูกบังคับให้ปรับปรุงกลยุทธ์ การดาเนินงาน และข้อเสนอที่มีคุณค่าให้กับพนักงาน
อย่างรวดเร็วในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 เนื่องจากอุปทานขาดแคลน ความต้องการที่
เปลี่ยนแปลงของลูกค้า และความคาดหวังที่เปลี่ยนแปลงไปของพนักงานต่อสภาพแวดล้อมการ
ทางานโดยทั่วไป ว่าควรมีลักษณะอย่างไร
 บางองค์กรแต่ไม่ใช่ทั้งหมดบอกว่า พวกเขาตั้งใจที่จะเรียนรู้จากประสบการณ์เหล่านั้น และดาเนิน
ต่อไปในเส้นทางที่คล่องตัว เพื่อที่พวกเขาจะสามารถเผชิญกับความท้าทายในอนาคตได้ดีขึ้ น
 พวกเขาตระหนักดีว่า แต่ละวิกฤติหรือโอกาสมีความแตกต่างกันในลักษณะของตัวเอง ดังนั้นจึงอาจ
ต้องใช้โครงสร้างและทรัพยากรประเภทต่างๆ ที่แตกต่างกัน และปรับใช้ในรูปแบบที่แตกต่างกันใน
เวลาที่ต่างกัน
 นอกเหนือจากการดาเนินงาน (การเสริมกาลังการผลิตทางกายภาพ ห่วงโซ่อุปทาน ระบบเทคโนโลยี
และอื่นๆ) บริษัทเหล่านี้ ยังได้ค้นพบวิธีในการสร้างสภาพแวดล้อมที่ยืดหยุ่นและฟื้ นตัวได้ ซึ่งช่วยให้
สามารถตัดสินใจแบบพลวัต มีประสิทธิภาพ และบริหารจัดการเวลาได้ดีขึ้ น
1.1 การตัดสินใจแบบพลวัต (Dynamic decision making)
 ในบริษัทส่วนใหญ่ มีความไม่ชัดเจนต่อคาถามที่ว่า "ใครมีอานาจตัดสินใจ" ทาให้ทีมและบุคคลวิ่งไป
ในทิศทางที่แตกต่างกันเพื่อขออนุมัติ และเป็นผลให้การตัดสินใจทางธุรกิจที่สาคัญอาจหยุดชะงักลง
ได้
 สิ่งนี้ อาจเป็ นปัญหาโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงเวลาที่เกิดวิกฤตหรือการหยุดชะงัก เมื่อผู้นาธุรกิจมุ่งเป้า
ไปที่ทั้งความเร็วและคุณภาพเมื่อต้องตัดสินใจ ตัวอย่างเช่น มันไม่เป็ นผลดีเลยที่จะดาเนินการอย่าง
รวดเร็วในการตัดสินใจจัดซื้ อจัดจ้าง แต่กลับต้องกลับทิศทางในอีกหนึ่งเดือนให้หลัง เนื่องจากผู้นาคน
หนึ่งล้มเหลวในการรับข้อมูลจากผู้นาสายงานอื่นๆ ที่เกี่ยวกับเงื่อนไขของการตัดสินใจนั้น
 เพื่อเร่งการตัดสินใจ ผู้นาควรหยุดชั่วคราวเพื่อแยกประเภทของการตัดสินใจ (การเดิมพันครั้งใหญ่
การสั่งงานในแนวขวาง การมอบหมายงาน) สิ่งที่พวกเขาต้องทา รวมถึงระดับความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง
และการปรับแนวทางให้เหมาะสม
 โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาหรับการตัดสินใจเดิมพันครั้งใหญ่ อาจเป็ นประโยชน์สาหรับบริษัทในการสร้าง
ศูนย์ประสานงานหรือหน่วยงานในการตัดสินใจ ประกอบด้วยผู้นาระดับสูงหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
หลัก ที่สามารถตอบสนองต่อเหตุการณ์แบบเรียลไทม์ โดยใช้ข้อมูลในโลกแห่งความเป็นจริง ทีมนี้ จะ
รายงานกลับไปยัง CEO และผู้บริหารระดับสูงเป็นประจา เพื่อให้แน่ใจว่ามีความสอดคล้องและมี
อานาจในการดาเนินการอย่างรวดเร็วในการตัดสินใจในแต่ละวัน
 นอกเหนือจากการแยกแยะความแตกต่างระหว่างการตัดสินใจประเภทต่างๆ แล้ว ผู้นาธุรกิจควร
สนับสนุนให้พนักงานสารวจคาถามที่ว่า "ใครมีอานาจตัดสินใจ" ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องในแต่ละ
สถานการณ์ โดยชี้ แจงสิ่งที่จาเป็นที่ต้องสื่อสาร ควรได้รับคาปรึกษาจากใครบ้าง และท้ายที่สุดคือใคร
เป็นผู้ตัดสินใจสุดท้าย
 เพื่อส่งเสริมความรับผิดชอบและความโปร่งใสมากขึ้ น บริษัทพลังงานหมุนเวียนแห่งหนึ่งจัดการ
สนทนาความยาว 30 นาที ในเรื่อง "บัตรบทบาท (role card)" ซึ่งผู้จัดการใช้ในการสนทนากับ
ผู้ใต้บังคับบัญชาโดยตรง ในการสนทนาเหล่านี้ ผู้จัดการบอกอย่างชัดเจนถึงสิทธิในการตัดสินใจและ
ความรับผิดชอบ สาหรับผู้ใต้บังคับบัญชาแต่ละราย ด้วยความพยายามนี้ บริษัทได้เร่งกระบวนการ
ตัดสินใจ และทาให้มั่นใจว่าการตัดสินใจมุ่งเน้นไปที่ลูกค้าเป็นหลัก
1.2 การประชุมและการบริหารเวลาอย่างมีประสิทธิผล (Effective meetings and time management)
 ผลการสารวจล่าสุดของ McKinsey พบว่า ในยุคหลังโควิด-19 ผู้บริหารร้อยละ 80 กาลังพิจารณา
หรือดาเนินการเปลี่ยนแปลงเนื้ อหา โครงสร้าง ในการประชุมทางธุรกิจ หลังจากถามตัวเองว่า
ประชุมเพื่ออะไร?
 ตัวอย่างเช่น บริษัทสินค้าอุปโภคบริโภคแห่งหนึ่ง ตั้งกติกาการประชุมต้องใช้เวลา 30 นาทีหรือน้อย
กว่านั้น และผู้เข้าร่วมประชุมจะต้องศึกษาเอกสารล่วงหน้า เวลามีไว้เพื่อแก้ไขปัญหาอย่างแท้จริง
ไม่ใช่การนาเสนอ
 บริษัทอื่นๆ บางแห่ง กาหนดให้บางวันเป็นวันที่ไม่มีการประชุม หรือเน้นไปที่งานที่เอื้อให้เกิด
นวัตกรรม เช่น การเรียนรู้แบบ peer-learning และ hack-a-thons
 แต่การดูแค่คุณภาพของการประชุมเพียงอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอ ผู้นาและทีมควรใช้เวลาสักครู่
เพื่อถามตัวเองเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติ และลาดับความสาคัญในการจัดการเวลาของตนเองว่า พวก
เขาอยู่ในห้องกับคนที่เหมาะสมในเวลาที่เหมาะสมหรือไม่? พวกเขาใช้เวลาเพียงพอกับ
ผู้ใต้บังคับบัญชาโดยตรงหรือไม่?
 ผู้นาและทีมควรวางแผนที่จะกลับมาถามคาถามเหล่านี้ เป็ นครั้งคราว เช่น ในช่วงเริ่มต้นและสิ้นสุด
โครงการใหม่ทุกโครงการ หรือเมื่อเปลี่ยนบทบาทหรือความรับผิดชอบ
2. ทีมที่พึ่งพาตนเองและได้รับมอบอานาจเพื่อส่งเสริมความยืดหยุ่น
 งานขององค์กรควรดาเนินการโดยทีมงานที่ต้องเผชิญกับข้อมูลใหม่และไม่สมบูรณ์ มีแรงบันดาลใจ
และมีอานาจในการดาเนินการ
 เพื่อปลูกฝังความยืดหยุ่นขององค์กร และเพื่อให้แน่ใจว่ามีความสามารถในการปรับตัว บริษัทต่างๆ
จะต้องคิดให้แตกต่างเกี่ยวกับวิธีการจัดโครงสร้างและการจัดการทีม รวมถึงวิธีเชื่อมต่อกันทั่วทั้ง
องค์กร
 ยิ่งไปกว่านั้น บริษัทต่างๆ จะต้องจัดให้มีระบบสนับสนุน ที่ช่วยให้พนักงานมีส่วนร่วมในความ
ขัดแย้งและการอภิปรายอย่างสร้างสรรค์ แบ่งปันข้อเสนอแนะอย่างตรงไปตรงมา และนา
ข้อเสนอแนะนั้นมารวมไว้ในกิจวัตรของพวกเขาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้พวกเขาสามารถปรับตัวเข้ากับ
ความท้าทายในอนาคตได้ดีขึ้ น
 เพื่อปลูกฝังความยืดหยุ่นขององค์กร และเพื่อให้แน่ใจว่ามีความสามารถในการปรับตัว บริษัทต่างๆ
จะต้องคิดให้แตกต่างออกไป เกี่ยวกับวิธีการจัดโครงสร้างและการจัดการทีม
2.1 การจัดการทีม (Team management)
 แทนที่จะบอกทีมอย่างต่อเนื่องว่าต้องทาอะไร ผู้นาในองค์กรที่มีความยืดหยุ่นจะลดระบบราชการลง
และส่งเสริมความเป็นผู้ประกอบการระหว่างและภายในทีม
 พวกเขาจะมอบการตัดสินใจให้กับทีมงานข้ามสายงานขนาดเล็ก โดยอยู่ห่างจากศูนย์กลางและใกล้
กับลูกค้ามากที่สุด
 พวกเขาชี้ แจงวัตถุประสงค์ของทีมและองค์กร จัดเตรียมขอบเขต รับรองความรับผิดชอบและความ
สอดคล้อง จากนั้นพวกเขาก็ถอยกลับและปล่อยให้พนักงานเป็ นผู้นา
 สวนสนุกดิสนีย์เป็นตัวอย่างที่ดี พนักงานทุกคนได้รับการขนานนามว่าเป็นนักแสดง และวัตถุประสงค์
ที่ชัดเจนของพวกเขาคือการสร้าง "ประสบการณ์อันน่าทึ่งของแขก" ภายในขอบเขตที่รวมถึงการ
รับรองความปลอดภัยของผู้มาเยือน และการส่งเสริมพฤติกรรมที่เป็นมิตรกับครอบครัว
 ในขณะเดียวกัน ผู้ผลิตข้ามชาติรายใหญ่รายหนึ่ง ได้แบ่งตัวเองออกเป็นวิสาหกิจขนาดย่อยหลายพัน
แห่ง โดยมีพนักงานประมาณสิบกว่าคนในแต่ละกลุ่ม วิสาหกิจขนาดย่อยมีอิสระในการจัดตั้งและ
พัฒนา ซึ่งทั้งหมดมีแนวทางเดียวกันในการกาหนดเป้าหมาย การทาสัญญาภายใน และการ
ประสานงานระหว่างหน่วยงาน การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้สร้างกรอบความคิดด้านนวัตกรรมให้กับ
พนักงาน
 คุณลักษณะอีกประการหนึ่งขององค์กรที่มีความยืดหยุ่นคือความสามารถในการทาลายไซโลและใช้
"ทีมเสือ (tiger teams)" เพื่อจัดการกับปัญหาทางธุรกิจขนาดใหญ่ ผู้คนเหล่านี้ คือกลุ่มผู้เชี่ยวชาญจาก
ส่วนต่างๆ ขององค์กรที่มารวมตัวกันชั่วคราวเพื่อมุ่งเน้นไปที่ปัญหาเฉพาะ เมื่อปัญหาได้รับการแก้ไข
แล้ว ให้กลับไปยังโดเมนที่เกี่ยวข้อง
 ตัวอย่างเช่น เมื่อสถาบันการเงินจาเป็นต้องขายสินทรัพย์หลักหลายรายการ สถาบันการเงินจะเรียก
ประชุมทีมงานโครงการขนาดเล็กที่ประกอบด้วยสมาชิกของทีมการเงินและหน่วยธุรกิจ เพื่อระบุและ
ดาเนินการตามขั้นตอนทั้งหมดที่จาเป็ นในช่วง 9 ถึง 12 เดือนข้างหน้า เพื่อขจัดต้นทุนที่ไม่จาเป็น
ออกจากข้อตกลง สิ่งนี้ ทาให้ผู้นาในสถาบันการเงินมีอิสระในการมุ่งเน้นไปที่องค์ประกอบที่สาคัญ
อื่นๆ
2.2 ระบบสนับสนุน (Support systems)
 พนักงานจะไม่เปลี่ยนพฤติกรรมหากความล้มเหลวนั้นไม่มีทางเลือกอื่น พวกเขาจะตอบสนองต่อ
วิกฤติหรือโอกาสในการเปลี่ยนแปลงโดยการซ่อนปัญหาที่จะเกิดขึ้ น และความกลัวที่จะถูกถาม
คาถาม แทนการลองสิ่งใหม่ ๆ ซึ่งเป็นความเสี่ยงที่มาพร้อมกับนวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง
 องค์กรที่ปลูกฝังการตอบสนองต่อความยืดหยุ่น เน้นความปลอดภัยทางจิตใจ (emphasize
psychological safety) ว่าความเสี่ยงของบุคคลว่าเป็นเรื่องปกติ และเป็นการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
 ผู้นาธุรกิจในบริษัทเหล่านี้ มักจะถามทีมและตัวเองอย่างต่อเนื่องว่า พวกเขารู้สึกหรือไม่ว่า พวกเขามี
พื้นที่ที่จะหยิบยกข้อกังวลหรือความขัดแย้ง โดยไม่ต้องกลัวการลงโทษจากความผิดพลาด ได้รับ
ความเชื่อใจจากผู้อื่น และรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่าสาหรับทักษะและความสามารถเฉพาะตัว
 จากคาตอบสาหรับคาถามเหล่านี้ ทาให้ผู้นาธุรกิจสามารถดาเนินการเพื่อสนับสนุนพนักงานของตนได้
ดียิ่งขึ้ น
 พวกเขาอาจสร้างวิธีใหม่ในการรับรู้ถึงประสิทธิภาพของบุคคลและทีม ผ่านรางวัลนวัตกรรมราย
เดือนหรือรางวัลอื่น ๆ ที่บ่งถึงความพยายามของพนักงานเช่นเดียวกับผลงานของพนักงาน
 พวกเขาสร้างข้อพิสูจน์ก่อนและหลังทุกโครงการ เช่น ให้สมาชิกในทีมมีเสียงหรือมีโอกาสในการแจ้ง
ข้อกังวล และเรียนรู้จากทั้งความสาเร็จและข้อผิดพลาดในสภาพแวดล้อมที่เปิ ดกว้าง
 ในสถาบันการเงินแห่งหนึ่ง ประธานการประชุมทางธุรกิจมักจะกาหนดให้บุคคลหนึ่งคนในห้องนั้น
เป็ นผู้สังเกตการณ์ที่เป็ นกลาง โดยมีหน้าที่ให้ข้อเสนอแนะหลังจบวาระนั้น ๆ เกี่ยวกับสิ่งที่ได้ผลและ
สิ่งที่ไม่ได้ผล
3. ผู้นาที่ปรับตัวได้เพื่อกาหนดเงื่อนไขสาหรับความยืดหยุ่น
 ผู้นาที่ปรับตัวได้ช่วยให้เกิดความคล่องตัวขององค์กรและเสริมศักยภาพของทีม และกาหนดแนวทาง
สาหรับความยืดหยุ่นในท้ายที่สุด ซึ่งเป็นเหตุผลว่า ทาไมจึงเป็นสิ่งสาคัญสาหรับบริษัทต่างๆ ที่จะ
ระบุคุณลักษณะที่ทาให้ผู้นาเหล่านี้ แตกต่างออกไป ส่งพวกเขาเข้าไปในกระบวนการประเมินผลการ
ปฏิบัติงานของบริษัท และส่งเสริมงานที่ผู้นาเหล่านี้ ได้ทา
 การเป็นผู้นาที่ปรับตัวได้หมายความว่าอย่างไร ซึ่งหมายถึงผู้นาที่ไม่เพียงแต่การตอบสนองต่อวิกฤติ
หรือสถานการณ์กดดันเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการค้นหาบทเรียนในสถานการณ์ ตลอดจนการฝึกสอน
และสนับสนุนบุคคลและกลุ่มให้ทาเช่นเดียวกันกับเขาอย่างต่อเนื่อง
 หมายถึงการยอมรับว่าคุณ (เช่นเดียวกับคนอื่นๆ) อาจไม่มีคาตอบทั้งหมด และเต็มใจที่จะถาม
คาถามมากมาย
 จากประสบการณ์ ผู้นาที่ปรับตัวได้มีแนวโน้มที่จะยอมรับความขัดแย้งในที่ทางาน มากกว่ามองว่าทุก
สิ่งถูกหรือผิด
 งานวิจัยของ McKinsey อีกชิ้ นหนึ่งเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มแข็งองค์กรของบริษัทกับ
ผลการดาเนินงานทางการเงินในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 แสดงให้เห็นว่า ลักษณะของ
"ความเป็นผู้นาที่ท้าทาย (challenging leadership)" หรือแนวคิดที่ว่าผู้นาที่ปรับตัวได้ เรียกร้องให้
พนักงานและทีมก้าวออกจากตาแหน่งโซนความสะดวกสบายของพวกเขา ตลอดจนให้คิดและทางาน
แตกต่างออกไปเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ซึ่งเป็นหนึ่งในแนวทางปฏิบัติด้านความเข้มแข็งขององค์กรที่
มีความสัมพันธ์กับความยืดหยุ่นมากที่สุด
 ผู้นาที่ปรับตัวได้มักจะมีกรอบความคิดที่เป็นระบบ มองหารูปแบบ ความเชื่อมโยง และมีแนวโน้มที่
จะมองเห็นโอกาสในขณะที่ผู้อื่นมองเห็นปัญหา
 พวกเขาสามารถกาหนดทิศทาง โดยไม่ต้องระบุจุดหมายปลายทางให้ชัดเจนทั้งหมด
 พวกเขาใช้เวลาในการกาหนด DNA ทางวัฒนธรรม หรือรหัสพฤติกรรมที่แนะนาวิธีการตัดสินใจ การ
จัดลาดับความสาคัญ และทางานให้งานเสร็จสิ้น
 พวกเขาเดินสารวจความเห็นบ่อยครั้ง ทั้งแบบตัวต่อตัวและแบบเสมือนทั้งองค์กร เพื่อทาความเข้าใจ
ว่า พนักงานต้องการอะไรในช่วงระยะเวลาต่างๆ ของการทางานในองค์กร
 พวกเขาใช้ประโยชน์จากแบบสารวจเป็นระยะและกลไกอื่นๆ เพื่อรับคาติชมแบบทันทีเกี่ยวกับการ
เปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงาน จานวนพนักงาน การสื่อสารภายนอก หรือกิจกรรมทางธุรกิจอื่นๆ
 พวกเขาแนะนาแนวทางปฏิบัติใหม่ๆ ที่ไม่เพียงแต่มีประสิทธิผลในช่วงวิกฤตเท่านั้น แต่ยังสามารถ
ปรับให้เข้ากับความท้าทายทางธุรกิจในชีวิตประจาวันได้ และกาหนดทิศทางเชิงกลยุทธ์ที่มีพื้นฐาน
อยู่ที่วัตถุประสงค์และผลลัพธ์มากกว่าที่จะทาเครื่องหมายถูกในช่องเท่านั้น ดังนั้น เมื่อองค์กร
จาเป็นต้องเปลี่ยนไปสู่รูปแบบธุรกิจใหม่หรือเปลี่ยนแปลงหลังวิกฤติ อาจส่งผลให้เกิดความร่วมมือ
ของพนักงานที่มีมากขึ้ น และเกิดความรวดเร็วในการดาเนินการ
 นั่นคือสิ่งที่ Northrop Grumman ทาเมื่อต้นปี ค.ศ. 2020 ตามคากล่าวของ CEO คือ Kathy Warden โดย
บริษัทได้ทาการตอกย้าพฤติกรรมกับค่านิยมของบริษัท
 "เราจับคู่ค่านิยมเหล่านั้นกับพฤติกรรมความเป็ นผู้นา และเราได้มอบเครื่องมือและฝึกอบรมผู้นาของ
เรา เพื่อให้พวกเขาสามารถนาไปใช้และสื่อสารค่านิยมและพฤติกรรมเหล่านั้นกับทีมของพวกเขาได้"
เธอกล่าวเพิ่มเติมว่า "ความพยายามนี้ ทาให้บุคลากรของเรามีจุดมุ่งหมายอย่างแท้จริง และเสริม
ศักยภาพให้พวกเขาดาเนินงานภายในระบบคุณค่าของเรา และเมื่อเวลาผ่านไป มันช่วยให้เราก้าวไป
อย่างรวดเร็วในฐานะองค์กร
 สุดท้าย พวกเขารักษาพลังงานของพนักงาน (และของผู้นาเอง) ที่เน้นความเป็นอยู่ที่ดีเทียบกับการ
ผลักดันการปฏิบัติงานตลอดวัน โดยทาหน้าที่เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับพนักงานภายใต้แรงกดดัน
 ผู้นาที่สามารถปรับตัวได้บางคนกล่าวว่า พวกเขาจะใช้เวลาสั้นๆ (ห้าหรือสิบนาที) ในช่วงวันที่วุ่นวาย
เดินพบปะผู้คน และจัดเวลาสาหรับการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ การฟื้ นฟูความทรงจา และการ
ดูแลตนเองขั้นพื้นฐานของพนักงาน
 การวิจัยแสดงให้เห็นว่า แบบจาลองบทบาทดังกล่าว สามารถส่งผลดีทั่วทั้งองค์กร
 การสารวจของ McKinsey เกี่ยวกับประสบการณ์ของพนักงานพบว่า การดูแลสุขภาพกายและ
สุขภาพจิต มีความเกี่ยวข้องกับการปรับปรุงประสิทธิภาพในการทางาน 21 เปอร์เซ็นต์ ความผูกพัน
ของพนักงานดีขึ้ น 46 เปอร์เซ็นต์ และความเป็ นอยู่ที่ดีขึ้ น 45 เปอร์เซ็นต์
4. คนเก่งและวัฒนธรรมเป็ นรากฐานของทุกสิ่ง ทั้งในปัจจุบันและในอนาคต
 เพื่อปลูกฝังการตอบสนองด้านความยืดหยุ่นในระยะยาว องค์กรต่างๆ ควรคิดใหม่เกี่ยวกับแนว
ทางการจัดการคนเก่ง และให้ความสาคัญกับปัจจัยทางวัฒนธรรมที่สาคัญ
 เป็นที่ได้รับการพิสูจน์แล้วว่า บริษัทที่สามารถจับคู่คนเก่งเข้ากับกลยุทธ์ได้ มีแนวโน้มที่จะมี
ประสิทธิภาพเหนือกว่าบริษัทอื่นๆ
 การวิจัยของ McKinsey แสดงให้เห็นว่า ประมาณร้อยละ 45 ขององค์กรต่างๆ คาดว่า จะมีช่องว่าง
ด้านทักษะภายในห้าปีข้างหน้า ยิ่งไปกว่านั้น องค์กรต่างๆ ยังคงรู้สึกไม่สบายใจจากผลกระทบของ
การเลิกจ้างครั้งใหญ่ จานวนคนที่ลาออกจากงานเป็ นประวัติการณ์ในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-
19 และผู้ที่กลับมาทางานอีกครั้งก็ต้องการค่าตอบแทน ความอ่อนตัว โอกาสในการพัฒนา และ
เป้าหมายในการทางานที่มากขึ้ น
 องค์กรที่มีความยืดหยุ่นได้สร้างโครงสร้าง ความสามารถในการรับมือกับความท้าทายในการจัดการ
คนเก่งในปัจจุบัน และความท้าทายที่จะเกิดขึ้ นในอนาคต ตัวอย่างเช่น พวกเขาลงทุนในการวิเคราะห์
เพื่อจ้าง พัฒนา และรักษาคนเก่งได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้ น
 พวกเขากาลังเปลี่ยนแปลงกระบวนการจ้างงานโดยมองข้ามแหล่งคนเก่งแบบดั้งเดิม สร้างรายชื่อ
ผู้สมัครที่หลากหลายมากขึ้ น ลดความซับซ้อนของขั้นตอนการสมัคร และเร่งการตัดสินใจ
 บางบริษัทถึงกับขยายประสบการณ์เริ่มต้นให้ครอบคลุมหลายสัปดาห์ ก่อนที่ผู้สมัครจะเริ่มต้นทางาน
อย่างเป็นทางการ (เพื่อให้แน่ใจว่าพวกเขาจะไม่ถูกล่อลวงด้วยข้อเสนออื่น ๆ ในนาทีสุดท้าย)
 และพวกเขากาลังพยายามเชิงรุก ในการระบุและยกระดับทักษะของพนักงานที่มีศักยภาพสูงภายใน
องค์กร โดยมุ่งเน้นไปที่ประสบการณ์มากกว่าวุฒิการศึกษา
 นี่อาจเป็นเรื่องจริงโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีของคนเก่งด้านเทคโนโลยี
 ในช่วงเวลาที่ทุกบริษัทเป็นบริษัทด้านเทคโนโลยี เกือบ 90 เปอร์เซ็นต์ของผู้บริหารระดับสูงทั่วโลก
กล่าวว่า บริษัทของตนไม่พร้อมที่จะจัดการกับช่องว่างในทักษะดิจิทัล และอาจรู้สึกเสี่ยงในการจัดหา
และจ้างผู้สมัครที่มีภูมิหลังที่แปลกใหม่ มาเติมเต็มบทบาทด้านเทคโนโลยี
 การวิจัยล่าสุดของ McKinsey ชี้ ให้เห็นว่า ประสบการณ์การทางาน ช่วยเพิ่มมูลค่าของทุนมนุษย์เมื่อ
เวลาผ่านไป และแสดงให้เห็นว่า ผู้คนที่มาจากส่วนต่างๆ ขององค์กร หรือแม้กระทั่งจากสาขาต่างๆ
สามารถฝึกฝนทักษะใหม่ๆ ได้
 ในกรณีนี้ การจ้างงานผู้ที่มีศักยภาพมากกว่ามีความเหมาะสม สามารถเพิ่มความคล่องตัวภายใน
บริษัท ความภักดีของพนักงาน และความสามารถขององค์กรในระยะยาว
 องค์กรที่ต้องการปลูกฝังความยืดหยุ่นมากขึ้ น จะต้องมีความชัดเจนเกี่ยวกับวิธีการปรับวัฒนธรรม
และประสบการณ์ของพนักงาน เพื่อเสนอคุณค่าให้กับพนักงานใหม่ที่มีพลัง และเอาชนะสงครามเพื่อ
แย่งชิงคนเก่ง ขณะเดียวกัน ก็ทาให้มั่นใจว่าองค์กรสามารถปฏิบัติตามกลยุทธ์และภารกิจของตนได้
 ตัวอย่างเช่น บางบริษัทประเมินแพ็คเกจค่าตอบแทนและสวัสดิการอีกครั้ง รวมถึงตัวเลือกที่พนักงาน
ต้องการ เช่น ความคุ้มครองเพิ่มเติมสาหรับความต้องการด้านสุขภาพจิต บริการดูแลเด็ก ความ
ช่วยเหลือส่วนบุคคล หรือรูปแบบเวลาทางานที่ยืดหยุ่นแตกต่างกัน
 บริษัทอื่นๆ กาลังพยายามสร้างทุนทางสังคมขึ้ นใหม่ ซึ่งส่วนใหญ่ได้สูญเสียไปในระหว่างและหลัง
การแพร่ระบาดของโควิด-19
 ตัวอย่างเช่น การนาทุนทางสังคมมาเป็นปัจจัยในการพัฒนาอาชีพของพนักงาน ผ่าน KPI ที่กาหนด
เป้าหมายตัวชี้ วัดเชิงสัมพันธ์ (เชื่อมโยงกับการทางานร่วมกัน การฝึกงาน และการสร้าง
ความสัมพันธ์) แทนที่จะเป็ นตัวชี้ วัดเชิงปฏิบัติการ
 พวกเขาลงทุนในโปรแกรมที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมมากขึ้ น ทั้งเครือข่ายภายในและภายนอก
 บางแห่งถึงกับออกแบบพื้นที่สานักงานใหม่ เพื่อให้พนักงานเกิดการพบปะกันโดยธรรมชาติมากขึ้ น
 การแพร่โรคระบาด ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และแนวโน้ม
การเปลี่ยนแปลงของ "ความหลากหลายของสวน (garden variety)" เช่น การเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล
และโลกาภิวัตน์ ทาให้หลายองค์กรสะดุดล้มในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา
 ความปั่นป่ วนในห่วงโซ่อุปทานส่งผลให้บริษัทในสหรัฐฯ สูญเสียเงินหลายล้านล้านดอลลาร์
 และบริษัทต่างๆ กาลังสูญเสียคนเก่งในอัตราที่ไม่เคยเกิดขึ้ นมาก่อน
 แต่นี่คือจุดที่บริษัทที่มีความยืดหยุ่นมีข้อได้เปรียบเหนือบริษัทอื่นๆ อย่างชัดเจน
 ในระดับจุลภาค พวกเขาแสดงให้เห็นถึงผลตอบแทนของผู้ถือหุ้นที่ดีขึ้ น และดีกว่าคู่แข่งในการบูรณา
การเทคโนโลยีใหม่ๆ การสนับสนุนลูกค้า การสร้างความร่วมมือ และการดึงดูดและรักษาพนักงาน
 ในระดับมหภาค พวกเขากระตุ้นการลงทุนในธุรกิจใหม่ เพิ่มความแข็งแกร่งให้กับ GDP เพิ่มผลผลิต
และช่วยการเติบโตอย่างรวดเร็วของความสามารถและทักษะบุคลากร
 บริษัทเหล่านี้ ให้ความสาคัญกับการพัฒนาภาวะผู้นา และขับเคลื่อนโดยผู้นาที่ปรับตัวได้ ซึ่งอานวย
ความสะดวกในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการเปลี่ยนกรอบความคิดที่จาเป็ นต่อการฟื้ นตัว เมื่อ
เผชิญกับการเปลี่ยนแปลง
สรุป
 แทนที่จะมองว่าการหยุดชะงักทางธุรกิจอย่างกะทันหัน เป็นสถานการณ์ที่ทาให้น้าเหลือเพียงครึ่งแก้ว
ผู้นาธุรกิจควรเลียนแบบการเคลื่อนไหวของผู้นาที่อยู่ในองค์กรที่มีความยืดหยุ่น และมองว่าการ
หยุดชะงักดังกล่าว เป็นโอกาสในการสร้างการเปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืน มีสาระสาคัญ เป็นเชิงบวกต่อ
ธุรกิจตามปกติ และเป็ นการเติมน้าในแก้วขึ้ นไปถึงด้านบน
— Nelson Mandela

More Related Content

More from maruay songtanin

๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 

Building Organizational Resilience การสร้างความยืดหยุ่นให้กับองค์กร

  • 2. By Dana Maor, Michael Park, and Brooke Weddle October 12, 2022 Repeatedly rebounding from disruption is tough, but some companies have a recipe for success: a systems mindset emphasizing agility, psychological safety, adaptable leadership, and cohesive culture.
  • 3. เกริ่นนา  องค์กรที่มีความยืดหยุ่น (Resilient organizations) ไม่เพียงแค่ฟื้ นตัวจากความโชคร้ายหรือการ เปลี่ยนแปลงเท่านั้น พวกเขายังก้าวกระโดดไปข้างหน้า  พวกเขาดูดซับแรงกระแทก และเปลี่ยนให้เป็นโอกาสในการเติบโตที่ยั่งยืนและครอบคลุม  เมื่อมีความท้าทายเกิดขึ้ น ผู้นาและทีมในองค์กรที่มีความยืดหยุ่น จะประเมินสถานการณ์อย่าง รวดเร็ว ปรับทิศทางใหม่ เพิ่มในสิ่งที่ได้ผลเป็นสองเท่า และละออกจากสิ่งที่ไม่ได้ผล  อย่างไรก็ตาม การสร้างความยืดหยุ่นขององค์กรดังกล่าวเป็นเรื่องยาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบัน เมื่อผู้นาธุรกิจ พนักงานแถวหน้า และหน่วยธุรกิจ ต้องเผชิญกับการหยุดชะงักหลายอย่างในคราว เดียวกัน
  • 4.  บริษัทที่ปลูกฝังความยืดหยุ่นขององค์กร (ซึ่งขับเคลื่อนต่อไปได้ไม่เพียงจากสภาวะวิกฤติเท่านั้น แต่ ยังรวมถึงการคว้าโอกาสได้ด้วย) กุมความได้เปรียบที่สาคัญ และยั่งยืนเหนือกว่าคู่แข่ง  เพื่อเป็ นข้อพิสูจน์นี้ งานวิจัยของ McKinsey เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทที่มีความแข็งแรง ขององค์กรกับประสิทธิภาพทางการเงิน ในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 แสดงให้เห็นว่า ธุรกิจ ที่มีพฤติกรรมที่ดีและมีความยืดหยุ่น เช่น การแบ่งปันความรู้ การทบทวนประสิทธิภาพ และ นวัตกรรมจากล่างขึ้ นบน มีโอกาสอยู่รอดดีกว่าองค์กรที่ "ไม่แข็งแรง"
  • 5. องค์กรจะเริ่มอย่างไรดี?  องค์กรที่ต้องการความยืดหยุ่นมากขึ้ น มีความจาเป็ นในการเสริมความสามารถในสี่ระดับ คือ  1. สร้างองค์กรที่คล่องตัว (agile organization) เพื่อการเปลี่ยนแปลงไปสู่การตัดสินใจที่รวดเร็วขึ้ น แบบสหพันธรัฐ และอาศัยข้อมูลและผลลัพธ์ที่ "ดีเพียงพอ" ทาให้ผู้นาและทีมเรียนรู้ และ ปรับเปลี่ยนได้ง่ายขึ้ น ท่ามกลางความท้าทายทางธุรกิจที่ซับซ้อน  2. สร้างทีมพึ่งพาตนเองได้ (self-sufficient teams) เมื่อทีมมีความรับผิดชอบและเป็นเจ้าของ ผลลัพธ์ จะรู้สึกว่าได้รับอานาจในการดาเนินแผนเชิงกลยุทธ์และอยู่ใกล้ชิดกับลูกค้า ซึ่งเป็น กระบวนการที่ครบวงจร รวมถึงกลไกข้อเสนอแนะอื่นๆ ส่งผลทาให้มีข้อมูลที่พวกเขาต้องการ เพื่อ เปลี่ยนแปลงแนวทาง หรือสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่อง
  • 6. • 3. ค้นหาและส่งเสริมผู้นาที่ปรับตัวได้ (find and promote adaptable leaders) เป็นผู้นาซึ่งไม่เพียงแค่ ตอบสนองเมื่อเผชิญกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ การเคลื่อนไหวของคู่แข่ง หรือการเปลี่ยนแปลงใน พลวัตของทีม พวกเขาโค้ชสมาชิกในทีมตลอดระยะการเปลี่ยนแปลง กระตุ้นพฤติกรรมใหม่ๆ และ พัฒนาความสามารถ เพื่อตอบสนองความยืดหยุ่นทั้งในระยะสั้นและในระยะยาว • 4. ลงทุนในคนเก่งและวัฒนธรรม (invest in talent and culture) ทั้งในปัจจุบันและอนาคต บริษัทที่ มุ่งเน้นความยืดหยุ่นในการดาเนินงาน ทีม และผู้นา มีข้อได้เปรียบคือ สภาพแวดล้อมที่ปรับเปลี่ยน ได้ดังกล่าว มีแนวโน้มที่จะดึงดูดคนเก่งมากกว่า และมีวงจรของความยืดหยุ่นที่จะคงอยู่ต่อไป
  • 7. ปัจจัยเพื่อสร้างความยืดหยุ่นขององค์กร  1. องค์กรที่คล่องตัวคือองค์กรที่มีความยืดหยุ่น (An agile organization is a resilient organization)  2. ทีมที่พึ่งพาตนเองและได้รับมอบอานาจ เพื่อส่งเสริมความยืดหยุ่น (Self-sufficient, empowered teams foster resilience)  3. ผู้นาที่ปรับตัวได้ เพื่อกาหนดเงื่อนไขสาหรับความยืดหยุ่น (Adaptable leaders set the conditions for resilience)  4. คนเก่งและวัฒนธรรมเป็ นรากฐานของทุกสิ่ง ทั้งในปัจจุบันและอนาคต (Talent and culture underpin everything—now and for the future)
  • 8. 1. องค์กรที่คล่องตัวคือองค์กรที่มีความยืดหยุ่น  องค์กรหลายแห่งถูกบังคับให้ปรับปรุงกลยุทธ์ การดาเนินงาน และข้อเสนอที่มีคุณค่าให้กับพนักงาน อย่างรวดเร็วในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 เนื่องจากอุปทานขาดแคลน ความต้องการที่ เปลี่ยนแปลงของลูกค้า และความคาดหวังที่เปลี่ยนแปลงไปของพนักงานต่อสภาพแวดล้อมการ ทางานโดยทั่วไป ว่าควรมีลักษณะอย่างไร  บางองค์กรแต่ไม่ใช่ทั้งหมดบอกว่า พวกเขาตั้งใจที่จะเรียนรู้จากประสบการณ์เหล่านั้น และดาเนิน ต่อไปในเส้นทางที่คล่องตัว เพื่อที่พวกเขาจะสามารถเผชิญกับความท้าทายในอนาคตได้ดีขึ้ น
  • 9.  พวกเขาตระหนักดีว่า แต่ละวิกฤติหรือโอกาสมีความแตกต่างกันในลักษณะของตัวเอง ดังนั้นจึงอาจ ต้องใช้โครงสร้างและทรัพยากรประเภทต่างๆ ที่แตกต่างกัน และปรับใช้ในรูปแบบที่แตกต่างกันใน เวลาที่ต่างกัน  นอกเหนือจากการดาเนินงาน (การเสริมกาลังการผลิตทางกายภาพ ห่วงโซ่อุปทาน ระบบเทคโนโลยี และอื่นๆ) บริษัทเหล่านี้ ยังได้ค้นพบวิธีในการสร้างสภาพแวดล้อมที่ยืดหยุ่นและฟื้ นตัวได้ ซึ่งช่วยให้ สามารถตัดสินใจแบบพลวัต มีประสิทธิภาพ และบริหารจัดการเวลาได้ดีขึ้ น
  • 10. 1.1 การตัดสินใจแบบพลวัต (Dynamic decision making)  ในบริษัทส่วนใหญ่ มีความไม่ชัดเจนต่อคาถามที่ว่า "ใครมีอานาจตัดสินใจ" ทาให้ทีมและบุคคลวิ่งไป ในทิศทางที่แตกต่างกันเพื่อขออนุมัติ และเป็นผลให้การตัดสินใจทางธุรกิจที่สาคัญอาจหยุดชะงักลง ได้  สิ่งนี้ อาจเป็ นปัญหาโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงเวลาที่เกิดวิกฤตหรือการหยุดชะงัก เมื่อผู้นาธุรกิจมุ่งเป้า ไปที่ทั้งความเร็วและคุณภาพเมื่อต้องตัดสินใจ ตัวอย่างเช่น มันไม่เป็ นผลดีเลยที่จะดาเนินการอย่าง รวดเร็วในการตัดสินใจจัดซื้ อจัดจ้าง แต่กลับต้องกลับทิศทางในอีกหนึ่งเดือนให้หลัง เนื่องจากผู้นาคน หนึ่งล้มเหลวในการรับข้อมูลจากผู้นาสายงานอื่นๆ ที่เกี่ยวกับเงื่อนไขของการตัดสินใจนั้น
  • 11.  เพื่อเร่งการตัดสินใจ ผู้นาควรหยุดชั่วคราวเพื่อแยกประเภทของการตัดสินใจ (การเดิมพันครั้งใหญ่ การสั่งงานในแนวขวาง การมอบหมายงาน) สิ่งที่พวกเขาต้องทา รวมถึงระดับความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง และการปรับแนวทางให้เหมาะสม  โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาหรับการตัดสินใจเดิมพันครั้งใหญ่ อาจเป็ นประโยชน์สาหรับบริษัทในการสร้าง ศูนย์ประสานงานหรือหน่วยงานในการตัดสินใจ ประกอบด้วยผู้นาระดับสูงหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หลัก ที่สามารถตอบสนองต่อเหตุการณ์แบบเรียลไทม์ โดยใช้ข้อมูลในโลกแห่งความเป็นจริง ทีมนี้ จะ รายงานกลับไปยัง CEO และผู้บริหารระดับสูงเป็นประจา เพื่อให้แน่ใจว่ามีความสอดคล้องและมี อานาจในการดาเนินการอย่างรวดเร็วในการตัดสินใจในแต่ละวัน
  • 12.  นอกเหนือจากการแยกแยะความแตกต่างระหว่างการตัดสินใจประเภทต่างๆ แล้ว ผู้นาธุรกิจควร สนับสนุนให้พนักงานสารวจคาถามที่ว่า "ใครมีอานาจตัดสินใจ" ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องในแต่ละ สถานการณ์ โดยชี้ แจงสิ่งที่จาเป็นที่ต้องสื่อสาร ควรได้รับคาปรึกษาจากใครบ้าง และท้ายที่สุดคือใคร เป็นผู้ตัดสินใจสุดท้าย  เพื่อส่งเสริมความรับผิดชอบและความโปร่งใสมากขึ้ น บริษัทพลังงานหมุนเวียนแห่งหนึ่งจัดการ สนทนาความยาว 30 นาที ในเรื่อง "บัตรบทบาท (role card)" ซึ่งผู้จัดการใช้ในการสนทนากับ ผู้ใต้บังคับบัญชาโดยตรง ในการสนทนาเหล่านี้ ผู้จัดการบอกอย่างชัดเจนถึงสิทธิในการตัดสินใจและ ความรับผิดชอบ สาหรับผู้ใต้บังคับบัญชาแต่ละราย ด้วยความพยายามนี้ บริษัทได้เร่งกระบวนการ ตัดสินใจ และทาให้มั่นใจว่าการตัดสินใจมุ่งเน้นไปที่ลูกค้าเป็นหลัก
  • 13. 1.2 การประชุมและการบริหารเวลาอย่างมีประสิทธิผล (Effective meetings and time management)  ผลการสารวจล่าสุดของ McKinsey พบว่า ในยุคหลังโควิด-19 ผู้บริหารร้อยละ 80 กาลังพิจารณา หรือดาเนินการเปลี่ยนแปลงเนื้ อหา โครงสร้าง ในการประชุมทางธุรกิจ หลังจากถามตัวเองว่า ประชุมเพื่ออะไร?  ตัวอย่างเช่น บริษัทสินค้าอุปโภคบริโภคแห่งหนึ่ง ตั้งกติกาการประชุมต้องใช้เวลา 30 นาทีหรือน้อย กว่านั้น และผู้เข้าร่วมประชุมจะต้องศึกษาเอกสารล่วงหน้า เวลามีไว้เพื่อแก้ไขปัญหาอย่างแท้จริง ไม่ใช่การนาเสนอ  บริษัทอื่นๆ บางแห่ง กาหนดให้บางวันเป็นวันที่ไม่มีการประชุม หรือเน้นไปที่งานที่เอื้อให้เกิด นวัตกรรม เช่น การเรียนรู้แบบ peer-learning และ hack-a-thons
  • 14.  แต่การดูแค่คุณภาพของการประชุมเพียงอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอ ผู้นาและทีมควรใช้เวลาสักครู่ เพื่อถามตัวเองเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติ และลาดับความสาคัญในการจัดการเวลาของตนเองว่า พวก เขาอยู่ในห้องกับคนที่เหมาะสมในเวลาที่เหมาะสมหรือไม่? พวกเขาใช้เวลาเพียงพอกับ ผู้ใต้บังคับบัญชาโดยตรงหรือไม่?  ผู้นาและทีมควรวางแผนที่จะกลับมาถามคาถามเหล่านี้ เป็ นครั้งคราว เช่น ในช่วงเริ่มต้นและสิ้นสุด โครงการใหม่ทุกโครงการ หรือเมื่อเปลี่ยนบทบาทหรือความรับผิดชอบ
  • 15. 2. ทีมที่พึ่งพาตนเองและได้รับมอบอานาจเพื่อส่งเสริมความยืดหยุ่น  งานขององค์กรควรดาเนินการโดยทีมงานที่ต้องเผชิญกับข้อมูลใหม่และไม่สมบูรณ์ มีแรงบันดาลใจ และมีอานาจในการดาเนินการ  เพื่อปลูกฝังความยืดหยุ่นขององค์กร และเพื่อให้แน่ใจว่ามีความสามารถในการปรับตัว บริษัทต่างๆ จะต้องคิดให้แตกต่างเกี่ยวกับวิธีการจัดโครงสร้างและการจัดการทีม รวมถึงวิธีเชื่อมต่อกันทั่วทั้ง องค์กร
  • 16.  ยิ่งไปกว่านั้น บริษัทต่างๆ จะต้องจัดให้มีระบบสนับสนุน ที่ช่วยให้พนักงานมีส่วนร่วมในความ ขัดแย้งและการอภิปรายอย่างสร้างสรรค์ แบ่งปันข้อเสนอแนะอย่างตรงไปตรงมา และนา ข้อเสนอแนะนั้นมารวมไว้ในกิจวัตรของพวกเขาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้พวกเขาสามารถปรับตัวเข้ากับ ความท้าทายในอนาคตได้ดีขึ้ น  เพื่อปลูกฝังความยืดหยุ่นขององค์กร และเพื่อให้แน่ใจว่ามีความสามารถในการปรับตัว บริษัทต่างๆ จะต้องคิดให้แตกต่างออกไป เกี่ยวกับวิธีการจัดโครงสร้างและการจัดการทีม
  • 17. 2.1 การจัดการทีม (Team management)  แทนที่จะบอกทีมอย่างต่อเนื่องว่าต้องทาอะไร ผู้นาในองค์กรที่มีความยืดหยุ่นจะลดระบบราชการลง และส่งเสริมความเป็นผู้ประกอบการระหว่างและภายในทีม  พวกเขาจะมอบการตัดสินใจให้กับทีมงานข้ามสายงานขนาดเล็ก โดยอยู่ห่างจากศูนย์กลางและใกล้ กับลูกค้ามากที่สุด  พวกเขาชี้ แจงวัตถุประสงค์ของทีมและองค์กร จัดเตรียมขอบเขต รับรองความรับผิดชอบและความ สอดคล้อง จากนั้นพวกเขาก็ถอยกลับและปล่อยให้พนักงานเป็ นผู้นา
  • 18.  สวนสนุกดิสนีย์เป็นตัวอย่างที่ดี พนักงานทุกคนได้รับการขนานนามว่าเป็นนักแสดง และวัตถุประสงค์ ที่ชัดเจนของพวกเขาคือการสร้าง "ประสบการณ์อันน่าทึ่งของแขก" ภายในขอบเขตที่รวมถึงการ รับรองความปลอดภัยของผู้มาเยือน และการส่งเสริมพฤติกรรมที่เป็นมิตรกับครอบครัว  ในขณะเดียวกัน ผู้ผลิตข้ามชาติรายใหญ่รายหนึ่ง ได้แบ่งตัวเองออกเป็นวิสาหกิจขนาดย่อยหลายพัน แห่ง โดยมีพนักงานประมาณสิบกว่าคนในแต่ละกลุ่ม วิสาหกิจขนาดย่อยมีอิสระในการจัดตั้งและ พัฒนา ซึ่งทั้งหมดมีแนวทางเดียวกันในการกาหนดเป้าหมาย การทาสัญญาภายใน และการ ประสานงานระหว่างหน่วยงาน การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้สร้างกรอบความคิดด้านนวัตกรรมให้กับ พนักงาน
  • 19.  คุณลักษณะอีกประการหนึ่งขององค์กรที่มีความยืดหยุ่นคือความสามารถในการทาลายไซโลและใช้ "ทีมเสือ (tiger teams)" เพื่อจัดการกับปัญหาทางธุรกิจขนาดใหญ่ ผู้คนเหล่านี้ คือกลุ่มผู้เชี่ยวชาญจาก ส่วนต่างๆ ขององค์กรที่มารวมตัวกันชั่วคราวเพื่อมุ่งเน้นไปที่ปัญหาเฉพาะ เมื่อปัญหาได้รับการแก้ไข แล้ว ให้กลับไปยังโดเมนที่เกี่ยวข้อง  ตัวอย่างเช่น เมื่อสถาบันการเงินจาเป็นต้องขายสินทรัพย์หลักหลายรายการ สถาบันการเงินจะเรียก ประชุมทีมงานโครงการขนาดเล็กที่ประกอบด้วยสมาชิกของทีมการเงินและหน่วยธุรกิจ เพื่อระบุและ ดาเนินการตามขั้นตอนทั้งหมดที่จาเป็ นในช่วง 9 ถึง 12 เดือนข้างหน้า เพื่อขจัดต้นทุนที่ไม่จาเป็น ออกจากข้อตกลง สิ่งนี้ ทาให้ผู้นาในสถาบันการเงินมีอิสระในการมุ่งเน้นไปที่องค์ประกอบที่สาคัญ อื่นๆ
  • 20. 2.2 ระบบสนับสนุน (Support systems)  พนักงานจะไม่เปลี่ยนพฤติกรรมหากความล้มเหลวนั้นไม่มีทางเลือกอื่น พวกเขาจะตอบสนองต่อ วิกฤติหรือโอกาสในการเปลี่ยนแปลงโดยการซ่อนปัญหาที่จะเกิดขึ้ น และความกลัวที่จะถูกถาม คาถาม แทนการลองสิ่งใหม่ ๆ ซึ่งเป็นความเสี่ยงที่มาพร้อมกับนวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง  องค์กรที่ปลูกฝังการตอบสนองต่อความยืดหยุ่น เน้นความปลอดภัยทางจิตใจ (emphasize psychological safety) ว่าความเสี่ยงของบุคคลว่าเป็นเรื่องปกติ และเป็นการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
  • 21.  ผู้นาธุรกิจในบริษัทเหล่านี้ มักจะถามทีมและตัวเองอย่างต่อเนื่องว่า พวกเขารู้สึกหรือไม่ว่า พวกเขามี พื้นที่ที่จะหยิบยกข้อกังวลหรือความขัดแย้ง โดยไม่ต้องกลัวการลงโทษจากความผิดพลาด ได้รับ ความเชื่อใจจากผู้อื่น และรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่าสาหรับทักษะและความสามารถเฉพาะตัว  จากคาตอบสาหรับคาถามเหล่านี้ ทาให้ผู้นาธุรกิจสามารถดาเนินการเพื่อสนับสนุนพนักงานของตนได้ ดียิ่งขึ้ น
  • 22.  พวกเขาอาจสร้างวิธีใหม่ในการรับรู้ถึงประสิทธิภาพของบุคคลและทีม ผ่านรางวัลนวัตกรรมราย เดือนหรือรางวัลอื่น ๆ ที่บ่งถึงความพยายามของพนักงานเช่นเดียวกับผลงานของพนักงาน  พวกเขาสร้างข้อพิสูจน์ก่อนและหลังทุกโครงการ เช่น ให้สมาชิกในทีมมีเสียงหรือมีโอกาสในการแจ้ง ข้อกังวล และเรียนรู้จากทั้งความสาเร็จและข้อผิดพลาดในสภาพแวดล้อมที่เปิ ดกว้าง  ในสถาบันการเงินแห่งหนึ่ง ประธานการประชุมทางธุรกิจมักจะกาหนดให้บุคคลหนึ่งคนในห้องนั้น เป็ นผู้สังเกตการณ์ที่เป็ นกลาง โดยมีหน้าที่ให้ข้อเสนอแนะหลังจบวาระนั้น ๆ เกี่ยวกับสิ่งที่ได้ผลและ สิ่งที่ไม่ได้ผล
  • 23. 3. ผู้นาที่ปรับตัวได้เพื่อกาหนดเงื่อนไขสาหรับความยืดหยุ่น  ผู้นาที่ปรับตัวได้ช่วยให้เกิดความคล่องตัวขององค์กรและเสริมศักยภาพของทีม และกาหนดแนวทาง สาหรับความยืดหยุ่นในท้ายที่สุด ซึ่งเป็นเหตุผลว่า ทาไมจึงเป็นสิ่งสาคัญสาหรับบริษัทต่างๆ ที่จะ ระบุคุณลักษณะที่ทาให้ผู้นาเหล่านี้ แตกต่างออกไป ส่งพวกเขาเข้าไปในกระบวนการประเมินผลการ ปฏิบัติงานของบริษัท และส่งเสริมงานที่ผู้นาเหล่านี้ ได้ทา  การเป็นผู้นาที่ปรับตัวได้หมายความว่าอย่างไร ซึ่งหมายถึงผู้นาที่ไม่เพียงแต่การตอบสนองต่อวิกฤติ หรือสถานการณ์กดดันเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการค้นหาบทเรียนในสถานการณ์ ตลอดจนการฝึกสอน และสนับสนุนบุคคลและกลุ่มให้ทาเช่นเดียวกันกับเขาอย่างต่อเนื่อง  หมายถึงการยอมรับว่าคุณ (เช่นเดียวกับคนอื่นๆ) อาจไม่มีคาตอบทั้งหมด และเต็มใจที่จะถาม คาถามมากมาย
  • 24.  จากประสบการณ์ ผู้นาที่ปรับตัวได้มีแนวโน้มที่จะยอมรับความขัดแย้งในที่ทางาน มากกว่ามองว่าทุก สิ่งถูกหรือผิด  งานวิจัยของ McKinsey อีกชิ้ นหนึ่งเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มแข็งองค์กรของบริษัทกับ ผลการดาเนินงานทางการเงินในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 แสดงให้เห็นว่า ลักษณะของ "ความเป็นผู้นาที่ท้าทาย (challenging leadership)" หรือแนวคิดที่ว่าผู้นาที่ปรับตัวได้ เรียกร้องให้ พนักงานและทีมก้าวออกจากตาแหน่งโซนความสะดวกสบายของพวกเขา ตลอดจนให้คิดและทางาน แตกต่างออกไปเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ซึ่งเป็นหนึ่งในแนวทางปฏิบัติด้านความเข้มแข็งขององค์กรที่ มีความสัมพันธ์กับความยืดหยุ่นมากที่สุด
  • 25.  ผู้นาที่ปรับตัวได้มักจะมีกรอบความคิดที่เป็นระบบ มองหารูปแบบ ความเชื่อมโยง และมีแนวโน้มที่ จะมองเห็นโอกาสในขณะที่ผู้อื่นมองเห็นปัญหา  พวกเขาสามารถกาหนดทิศทาง โดยไม่ต้องระบุจุดหมายปลายทางให้ชัดเจนทั้งหมด  พวกเขาใช้เวลาในการกาหนด DNA ทางวัฒนธรรม หรือรหัสพฤติกรรมที่แนะนาวิธีการตัดสินใจ การ จัดลาดับความสาคัญ และทางานให้งานเสร็จสิ้น  พวกเขาเดินสารวจความเห็นบ่อยครั้ง ทั้งแบบตัวต่อตัวและแบบเสมือนทั้งองค์กร เพื่อทาความเข้าใจ ว่า พนักงานต้องการอะไรในช่วงระยะเวลาต่างๆ ของการทางานในองค์กร
  • 26.  พวกเขาใช้ประโยชน์จากแบบสารวจเป็นระยะและกลไกอื่นๆ เพื่อรับคาติชมแบบทันทีเกี่ยวกับการ เปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงาน จานวนพนักงาน การสื่อสารภายนอก หรือกิจกรรมทางธุรกิจอื่นๆ  พวกเขาแนะนาแนวทางปฏิบัติใหม่ๆ ที่ไม่เพียงแต่มีประสิทธิผลในช่วงวิกฤตเท่านั้น แต่ยังสามารถ ปรับให้เข้ากับความท้าทายทางธุรกิจในชีวิตประจาวันได้ และกาหนดทิศทางเชิงกลยุทธ์ที่มีพื้นฐาน อยู่ที่วัตถุประสงค์และผลลัพธ์มากกว่าที่จะทาเครื่องหมายถูกในช่องเท่านั้น ดังนั้น เมื่อองค์กร จาเป็นต้องเปลี่ยนไปสู่รูปแบบธุรกิจใหม่หรือเปลี่ยนแปลงหลังวิกฤติ อาจส่งผลให้เกิดความร่วมมือ ของพนักงานที่มีมากขึ้ น และเกิดความรวดเร็วในการดาเนินการ
  • 27.  นั่นคือสิ่งที่ Northrop Grumman ทาเมื่อต้นปี ค.ศ. 2020 ตามคากล่าวของ CEO คือ Kathy Warden โดย บริษัทได้ทาการตอกย้าพฤติกรรมกับค่านิยมของบริษัท  "เราจับคู่ค่านิยมเหล่านั้นกับพฤติกรรมความเป็ นผู้นา และเราได้มอบเครื่องมือและฝึกอบรมผู้นาของ เรา เพื่อให้พวกเขาสามารถนาไปใช้และสื่อสารค่านิยมและพฤติกรรมเหล่านั้นกับทีมของพวกเขาได้" เธอกล่าวเพิ่มเติมว่า "ความพยายามนี้ ทาให้บุคลากรของเรามีจุดมุ่งหมายอย่างแท้จริง และเสริม ศักยภาพให้พวกเขาดาเนินงานภายในระบบคุณค่าของเรา และเมื่อเวลาผ่านไป มันช่วยให้เราก้าวไป อย่างรวดเร็วในฐานะองค์กร  สุดท้าย พวกเขารักษาพลังงานของพนักงาน (และของผู้นาเอง) ที่เน้นความเป็นอยู่ที่ดีเทียบกับการ ผลักดันการปฏิบัติงานตลอดวัน โดยทาหน้าที่เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับพนักงานภายใต้แรงกดดัน
  • 28.  ผู้นาที่สามารถปรับตัวได้บางคนกล่าวว่า พวกเขาจะใช้เวลาสั้นๆ (ห้าหรือสิบนาที) ในช่วงวันที่วุ่นวาย เดินพบปะผู้คน และจัดเวลาสาหรับการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ การฟื้ นฟูความทรงจา และการ ดูแลตนเองขั้นพื้นฐานของพนักงาน  การวิจัยแสดงให้เห็นว่า แบบจาลองบทบาทดังกล่าว สามารถส่งผลดีทั่วทั้งองค์กร  การสารวจของ McKinsey เกี่ยวกับประสบการณ์ของพนักงานพบว่า การดูแลสุขภาพกายและ สุขภาพจิต มีความเกี่ยวข้องกับการปรับปรุงประสิทธิภาพในการทางาน 21 เปอร์เซ็นต์ ความผูกพัน ของพนักงานดีขึ้ น 46 เปอร์เซ็นต์ และความเป็ นอยู่ที่ดีขึ้ น 45 เปอร์เซ็นต์
  • 29. 4. คนเก่งและวัฒนธรรมเป็ นรากฐานของทุกสิ่ง ทั้งในปัจจุบันและในอนาคต  เพื่อปลูกฝังการตอบสนองด้านความยืดหยุ่นในระยะยาว องค์กรต่างๆ ควรคิดใหม่เกี่ยวกับแนว ทางการจัดการคนเก่ง และให้ความสาคัญกับปัจจัยทางวัฒนธรรมที่สาคัญ  เป็นที่ได้รับการพิสูจน์แล้วว่า บริษัทที่สามารถจับคู่คนเก่งเข้ากับกลยุทธ์ได้ มีแนวโน้มที่จะมี ประสิทธิภาพเหนือกว่าบริษัทอื่นๆ  การวิจัยของ McKinsey แสดงให้เห็นว่า ประมาณร้อยละ 45 ขององค์กรต่างๆ คาดว่า จะมีช่องว่าง ด้านทักษะภายในห้าปีข้างหน้า ยิ่งไปกว่านั้น องค์กรต่างๆ ยังคงรู้สึกไม่สบายใจจากผลกระทบของ การเลิกจ้างครั้งใหญ่ จานวนคนที่ลาออกจากงานเป็ นประวัติการณ์ในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด- 19 และผู้ที่กลับมาทางานอีกครั้งก็ต้องการค่าตอบแทน ความอ่อนตัว โอกาสในการพัฒนา และ เป้าหมายในการทางานที่มากขึ้ น
  • 30.  องค์กรที่มีความยืดหยุ่นได้สร้างโครงสร้าง ความสามารถในการรับมือกับความท้าทายในการจัดการ คนเก่งในปัจจุบัน และความท้าทายที่จะเกิดขึ้ นในอนาคต ตัวอย่างเช่น พวกเขาลงทุนในการวิเคราะห์ เพื่อจ้าง พัฒนา และรักษาคนเก่งได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้ น  พวกเขากาลังเปลี่ยนแปลงกระบวนการจ้างงานโดยมองข้ามแหล่งคนเก่งแบบดั้งเดิม สร้างรายชื่อ ผู้สมัครที่หลากหลายมากขึ้ น ลดความซับซ้อนของขั้นตอนการสมัคร และเร่งการตัดสินใจ  บางบริษัทถึงกับขยายประสบการณ์เริ่มต้นให้ครอบคลุมหลายสัปดาห์ ก่อนที่ผู้สมัครจะเริ่มต้นทางาน อย่างเป็นทางการ (เพื่อให้แน่ใจว่าพวกเขาจะไม่ถูกล่อลวงด้วยข้อเสนออื่น ๆ ในนาทีสุดท้าย)  และพวกเขากาลังพยายามเชิงรุก ในการระบุและยกระดับทักษะของพนักงานที่มีศักยภาพสูงภายใน องค์กร โดยมุ่งเน้นไปที่ประสบการณ์มากกว่าวุฒิการศึกษา
  • 31.  นี่อาจเป็นเรื่องจริงโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีของคนเก่งด้านเทคโนโลยี  ในช่วงเวลาที่ทุกบริษัทเป็นบริษัทด้านเทคโนโลยี เกือบ 90 เปอร์เซ็นต์ของผู้บริหารระดับสูงทั่วโลก กล่าวว่า บริษัทของตนไม่พร้อมที่จะจัดการกับช่องว่างในทักษะดิจิทัล และอาจรู้สึกเสี่ยงในการจัดหา และจ้างผู้สมัครที่มีภูมิหลังที่แปลกใหม่ มาเติมเต็มบทบาทด้านเทคโนโลยี  การวิจัยล่าสุดของ McKinsey ชี้ ให้เห็นว่า ประสบการณ์การทางาน ช่วยเพิ่มมูลค่าของทุนมนุษย์เมื่อ เวลาผ่านไป และแสดงให้เห็นว่า ผู้คนที่มาจากส่วนต่างๆ ขององค์กร หรือแม้กระทั่งจากสาขาต่างๆ สามารถฝึกฝนทักษะใหม่ๆ ได้  ในกรณีนี้ การจ้างงานผู้ที่มีศักยภาพมากกว่ามีความเหมาะสม สามารถเพิ่มความคล่องตัวภายใน บริษัท ความภักดีของพนักงาน และความสามารถขององค์กรในระยะยาว
  • 32.  องค์กรที่ต้องการปลูกฝังความยืดหยุ่นมากขึ้ น จะต้องมีความชัดเจนเกี่ยวกับวิธีการปรับวัฒนธรรม และประสบการณ์ของพนักงาน เพื่อเสนอคุณค่าให้กับพนักงานใหม่ที่มีพลัง และเอาชนะสงครามเพื่อ แย่งชิงคนเก่ง ขณะเดียวกัน ก็ทาให้มั่นใจว่าองค์กรสามารถปฏิบัติตามกลยุทธ์และภารกิจของตนได้  ตัวอย่างเช่น บางบริษัทประเมินแพ็คเกจค่าตอบแทนและสวัสดิการอีกครั้ง รวมถึงตัวเลือกที่พนักงาน ต้องการ เช่น ความคุ้มครองเพิ่มเติมสาหรับความต้องการด้านสุขภาพจิต บริการดูแลเด็ก ความ ช่วยเหลือส่วนบุคคล หรือรูปแบบเวลาทางานที่ยืดหยุ่นแตกต่างกัน
  • 33.  บริษัทอื่นๆ กาลังพยายามสร้างทุนทางสังคมขึ้ นใหม่ ซึ่งส่วนใหญ่ได้สูญเสียไปในระหว่างและหลัง การแพร่ระบาดของโควิด-19  ตัวอย่างเช่น การนาทุนทางสังคมมาเป็นปัจจัยในการพัฒนาอาชีพของพนักงาน ผ่าน KPI ที่กาหนด เป้าหมายตัวชี้ วัดเชิงสัมพันธ์ (เชื่อมโยงกับการทางานร่วมกัน การฝึกงาน และการสร้าง ความสัมพันธ์) แทนที่จะเป็ นตัวชี้ วัดเชิงปฏิบัติการ  พวกเขาลงทุนในโปรแกรมที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมมากขึ้ น ทั้งเครือข่ายภายในและภายนอก  บางแห่งถึงกับออกแบบพื้นที่สานักงานใหม่ เพื่อให้พนักงานเกิดการพบปะกันโดยธรรมชาติมากขึ้ น
  • 34.  การแพร่โรคระบาด ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และแนวโน้ม การเปลี่ยนแปลงของ "ความหลากหลายของสวน (garden variety)" เช่น การเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล และโลกาภิวัตน์ ทาให้หลายองค์กรสะดุดล้มในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา  ความปั่นป่ วนในห่วงโซ่อุปทานส่งผลให้บริษัทในสหรัฐฯ สูญเสียเงินหลายล้านล้านดอลลาร์  และบริษัทต่างๆ กาลังสูญเสียคนเก่งในอัตราที่ไม่เคยเกิดขึ้ นมาก่อน
  • 35.  แต่นี่คือจุดที่บริษัทที่มีความยืดหยุ่นมีข้อได้เปรียบเหนือบริษัทอื่นๆ อย่างชัดเจน  ในระดับจุลภาค พวกเขาแสดงให้เห็นถึงผลตอบแทนของผู้ถือหุ้นที่ดีขึ้ น และดีกว่าคู่แข่งในการบูรณา การเทคโนโลยีใหม่ๆ การสนับสนุนลูกค้า การสร้างความร่วมมือ และการดึงดูดและรักษาพนักงาน  ในระดับมหภาค พวกเขากระตุ้นการลงทุนในธุรกิจใหม่ เพิ่มความแข็งแกร่งให้กับ GDP เพิ่มผลผลิต และช่วยการเติบโตอย่างรวดเร็วของความสามารถและทักษะบุคลากร  บริษัทเหล่านี้ ให้ความสาคัญกับการพัฒนาภาวะผู้นา และขับเคลื่อนโดยผู้นาที่ปรับตัวได้ ซึ่งอานวย ความสะดวกในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการเปลี่ยนกรอบความคิดที่จาเป็ นต่อการฟื้ นตัว เมื่อ เผชิญกับการเปลี่ยนแปลง
  • 36. สรุป  แทนที่จะมองว่าการหยุดชะงักทางธุรกิจอย่างกะทันหัน เป็นสถานการณ์ที่ทาให้น้าเหลือเพียงครึ่งแก้ว ผู้นาธุรกิจควรเลียนแบบการเคลื่อนไหวของผู้นาที่อยู่ในองค์กรที่มีความยืดหยุ่น และมองว่าการ หยุดชะงักดังกล่าว เป็นโอกาสในการสร้างการเปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืน มีสาระสาคัญ เป็นเชิงบวกต่อ ธุรกิจตามปกติ และเป็ นการเติมน้าในแก้วขึ้ นไปถึงด้านบน