SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 8
การควบคุมและตรวจสอบฐานข้ อมูล
1. ลักษณะทั่วไปของฐานข้ อมูล
ฐานข้ อมูลนับเป็ นสิงที่สาคัญอย่างมากของโปรแกรมประยุกต์ เนื่องจาก
่
ฐานข้ อมูลเป็ นแหล่งรวมข้ อมูลทังหมดของกิจการ ฐานข้ อมูลเป็ นที่
้
รวบรวมข้ อมูลที่มีความสัมพันธ์กนไว้ ร่วมกัน โดยข้ อมูลในฐานข้ อมูล
ั
สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1. Declarative คือข้ อมูลที่มีคาคงที่ (Static aspects) ซึงเกี่ยวกับสิง
่
่
่
ต่างๆที่เป็ นจริง
2. Procedural คือข้ อมูลที่เปลี่ยนแปลง (Dynamic aspects) ซึง
่
เกี่ยวข้ องกับสิงต่างๆที่เป็ นจริงที่แสดงความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ เช่น
่
ฐานความรู้ในระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert system)
ลักษณะของฐานข้ อมูล
การจัดเก็บข้ อมูลใบระบบสารสนเทศสามารถจัดเก็บข้ อมูลได้ 2
ลักษณะด้ วยกันคือ การจัดเก็บข้ อมูลในรูปแบบแฟมข้ อมูลการจัดเก็บข้ อมูล
้
ในรูปแบบฐานข้ อมูลการข้ อมูลในแฟมข้ อมูลมักแบ่งชนิดต่างๆ ประกอบด้ วย
้
1. แฟมข้ อมูลหลักหรื อแฟมข้ อมูลถาวร (Master file)
้
้
2. แฟมข้ อมูลรายการเปลี่ยนแปลงหรื อแฟมชัวคราว (Transaction file)
้
้ ่
3. แฟมตารางข้ อมูล(Look-up table file)
้
4. แฟมใช้ งาน (Work file)
้
5. แฟมปองกันหรื อแฟมร่องรอยการตรวจสอบ(Protection file หรื อ Audit trail)
้ ้
้
6. แฟมประวัติ(History file)
้
2. ระบบจัดการฐานข้ อมูล
ระบบจัดการฐานข้ อมูล คือซอฟต์แวร์ ที่อนุญาตให้ ผ้ ที่ใช้ สามารถสร้ าง
ู
เข้ าถึง และจัดการฐานข้ อมูลมีทงระบบที่ใช้ สาหรับองค์กรขนาดใหญ่
ั้
เช่น Oracle database และ Microsoft SQL server เป็ นต้ น ปั จจุบนมีระบบ
ั
จัดการฐานข้ อมูลที่เป็ นโอเพนซอร์ ส (open source) โดยผู้ใช้ ไม่ต้องเสีย
ค่าลิขสิทธิ์ เช่น mySQL เป็ นต้ น
1) สร้ างฐานข้ อมูล
ชุดของคาสังที่ใช้ เพื่อทาหน้ าที่ดงกล่าวเรี ยกว่า ภาษาทีใช้ ในการกาหนดคา
่
ั
่
นิยามข้ อมูล (Data definition language หรื อ DDL) ซึงจะถูกนามาใช้ เพื่อ
่
สร้ างพจนานุกรมข้ อมูล สร้ างฐานข้ อมูล อธิบายภาพทางตรรกะของแต่ละ
ผู้ใช้ งานหรื อโปรแกรมเมอร์ และระบุข้อจากัดของการควบคุมที่เกี่ยวกับการ
รักษาความปลอดภัยต่อเรคคอร์ ดของฐานข้ อมูลหรื อฟิ ลด์
2) เปลี่ยนแปลงฐานข้ อมูล
ภาษาที่ใช้ ในการจัดการข้ อมูล (Data manipulaion language หรื อ DML) เป็ น
ภาษาที่ใช้ เพื่อบารุงรักษาข้ อมูล ประกอบด้ วย การปรับปรุงฐานข้ อมูล
บางส่วนการเพิ่มเติมฐานข้ อมูลข้ อมูลบางส่วน และการลบฐานข้ อมูล
บางส่วน
3) สอบถามฐานข้ อมูล
ภาษาที่ใช้ ในการสอบถามข้ อมูล (Data query language หรื อ DQL) มีหน้ าที่
ในการดึง จัดเรี ยง และให้ ชดของข้ อมูลบางส่วนที่ตอบกลับต่อการสอบถาม
ุ
ของผู้ใช้ ประกอบด้ วย CREATE,INSERT,DELETE,UPDATE
และ SELECT นอกจากนี ้ยังสามารถใช้ SQL command เพื่อค้ นหารายการ
ตามเงื่อนไขที่กาหนดได้ ด้วย
3.ประเภทของฐานข้ อมูล
ระบบจัดการฐานข้ อมูลจะแบ่งแยกภาพของข้ อมูลในฐานข้ อมูล
ออกเป็ น 2 ประเภทด้ วยกันคือภาพเชิงตรรกะและภาพเชิงกายภาพ
ข้ อมูลจะถูกจัดเก็บในสื่อบันทึกในลักษณะภาพเชิงกายภาพการเรี ยกใช้
งานข้ อมูลที่ถกจัดเก็บจะแสดงออกมาในลักษณะเชิงตรรกะ ทาให้
ู
โปรแกรมเมอร์ และผู้ใช้ งานไม่จาเป็ นต้ องทราบว่าข้ อมูลถูกจัดเก็บไว้ ที่
ไหนและอย่างไรในสื่อบันทึก สิงที่โปรแกรมเมอร์ และผู้ใช้ ต้องการคือ จะ
่
เข้ าถึงข้ อมูลที่ต้องการได้ อย่างไรเท่านัน
้
4. ความเสี่ ยงทีอาจเกิดกับฐานข้ อมูล
่
ความเสี่ยงที่อาจเกิดกับฐานข้ อมูลที่เด่นชัดมากที่สดคือ ขโมยข้ อมูล
ุ
ปรับเปลี่ยน และลบข้ อมูลในฐานข้ อมูลผลเสียหายที่เกิดจากข้ อมูล
ดังกล่าวสร้ างความเสียหายให้ กบกิจการอย่างมาก กล่าวคือข้ อมูลที่ถก
ั
ู
ขโมยอาจถูกนาไปขายให้ กบคูแข่งหรื อเลขบัตรเครดิตที่ถกขโมยถูก
ั ่
ู
นาไปซื ้อสินค้ าและบริการตามที่ตางๆ
่
5. การควบคุมฐานข้ อมูล
การควบคุมความเชื่อถือได้ และถูกต้ องของฐานข้ อมูล
จากการที่ฐานข้ อมูลเป็ นแหล่งจัดเก็บข้ อมูลต่างๆของทังกิจการไว้ ในที่
้
เดียวกันทาให้ ต้องมีการควบคุมฐานข้ อมูลอย่างเหมาะสม การควบคุม
สามารถแบ่งออกเป็ นประเภทใหญ่ ๆ ด้ วยกัน คือ
1) การควบคุมความถูกต้ องของข้ อมูลในฐานข้ อมูล(Integrity controls)
วัตถุประสงค์ของการควบคุมความถูกต้ องของข้ อมูลในฐานข้ อมูลเพือแน่ใจ
่
ในความสมบูรณ์และความเหมาะสมของการจัดโครงสร้ างข้ อมูลที่ใช้ ในการ
กาหนดองค์ประกอบของข้ อมูลในฐานข้ อมูล (Conceptual
datamodeling) เนื่องจากในการนาข้ อมูลไปจัดเก็บในฐานข้ อมูลนัน
้
จาเป็ นต้ องกาหนดว่าฐานข้ อมูลประกอบด้ วยข้ อมูลใดบ้ าง โดยสรุปความ
ถูกต้ องของข้ อมูลสามารถแบ่งออกเป็ น 3 ส่วนด้ วยกัน คือ
1. ความสมบูรณ์ ของฐานข้ อมูลเชิงศักยภาพ คือ การที่ฐานข้ อมูลปกปอง
้
ตัวเองจากปั ญหาทางกายภาพเป็ นต้ น ไฟฟาดับ และแผ่นดินไหว เป็ นต้ น
้
กล่าวคือกิจการสามารถจัดสร้ างฐานข้ อมูลขึ ้นมาใหม่แม้ ว้าฐานข้ อมูลจะถูก
ทาลายอย่างรุนแรงหรื อโดยฉับพลันก็ตาม การควบคุมความสมบรูณ์ของ
ข้ อมูลเชิงกายภาพนี ้ทาได้ โดยสารองฐานข้ อมูลประจา เช่น การลงบันทึก
หรื อล็อก (Log) รายการทังหมดที่นาไปประมวลผลกับฐานข้ อมูล
้
2. ความสมบูรณ์ ของฐานข้ อมูลเชิงตรรกะ คือความถูกต้ องของโครงสร้ าง
ฐานข้ อมูล กล่าวคือการออกแบบโครงสร้ างฐานข้ อมูลต้ องมีความเหมาะสม
ในลักษณะที่การเปลี่ยนแปลงข้ อมูลในข้ อมูลส่วนย่อยหนึง ๆ ต้ องไม่สงผล
่
่
กระทบต่อข้ อมูลส่วนย่อยอื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้ องหรื อไม่สมพันธ์กน เป็ นต้ น
ั
ั
3. ความสมบูรณ์ ทางด้ านองค์ ประกอบข้ อมูล คือ ความถูกต้ องของ
ค่าของข้ อมูลย่อย ๆ ที่เก็บในฐานข้ อมูล สามารถทาได้ 3 วิธี คือ
- ใช้ วิธีการตรวจสอบฟิ ลด์ (file checks) เป็ นการตรวจสอบความเหมาะสม
ของข้ อมูล
- ควบคุมการเข้ าถึงข้ อมูล (Access control) ฐานข้ อมูลเป็ นที่จดเก็บข้ อมูล
ั
ต่าง ๆ ของกิจการไว้ แหล่งเดียวกัน ถ้ าไม่มีการควบคุมการเข้ าถึงข้ อมูลก็
จะส่งผลต่อเจ้ าหน้ าที่
- บันทึกการเปลี่ยนแปลง (Change log) รายการที่เปลี่ยนแปลงข้ อมูลทา
โดยจัดเก็บข้ อมูลก่อน - หลังการเปลี่ยนแปลง
2) การควบคุมด้ านความสามารถในการตรวจสอบได้
กิจการควรจัดเก็บข้ อมูลการเข้ าถึงฐานข้ อมูลทังหมดไม่วาจะเป็ นการอ่าน
้
่
ปรับปรุงหรื อเขียนข้ อมูลในฐานข้ อมูล เพื่อผู้ตรวจสอบสามารถติดตามความ
เหมาะสมและถูกต้ องของการปรับปรุงข้ อมูลในฐานข้ อมูลได้
3) การควบคุมการเข้ าถึงข้ อมูลในฐานข้ อมูล
การควบคุมที่สาคัญอีกประเภทหนึงของฐานข้ อมูล คือการควบคุมไม่ให้
่
บุคคลที่ไม่ได้ รับอนุมตเิ ข้ าถึงข้ อมูลในฐานข้ อมูลได้ ข้ อมูลในฐานข้ อมูลมักมา
ั
จากหลายแหล่งด้ วยกัน ทาให้ เกิดคาถามที่ผ้ บริ หารฐานข้ อมูลต้ องตัดสินใจ
ู
เกี่ยวกับความเป็ นเจ้ าของร่วมกันในฐานข้ อมูลและการใช้ งานฐานข้ อมูล การ
ควบคุมเข้ าถึงข้ อมูลในฐานข้ อมูล
6. การควบคุมผู้บริหารข้ อมูลและบริหารข้ อมูล
(1) ความรู้ ท่ วไปเกี่ยวกับหน้ าที่งานและความรั บผิดชอบของผู้บริหารข้ อมูลและผู้
ั
บริการฐานข้ อมูล
หน้ าที่และความรับผิดชอบของผู้บริ หารข้ อมูลและผู้บริ หารฐานข้ อมูลซึ่งต้ องติดต่อและ
ประสานงานกับผู้ใช้ ฐานข้ อมูล (Database users) เพื่อกาหนดความต้ องการของข้ อมูล
ผู้บริ หารฐานข้ อมูลจะติดต่อประสานงานกับผู้บริ หารข้ อมูลและโปรแกรมเมอร์ เพื่อ
จัดสร้ างฐานข้ อมูลเข้ าไปในระบบคอมพิวเตอร์
1) หน้ าที่งานและความรั บผิดชอบของผู้บริหาร จะทาหน้ าที่ด้านการบริหารและ
จัดการฐานข้ อมูล หน้ าที่ของผู้บริ หารประกอบด้ วย
- กาหนดคานิยายข้ อมูล ผู้บริ หารข้ อมูลจะทาหน้ าที่ในการกาหนดเค้ าร่างข้ อมูล
ภายนอก(External schema) ซึงเป็ นภาพของข้ อมูลที่ผ้ ใช้ งานสามารถเห็นได้
่
ู
- สร้ างฐานข้ อมูล การที่ผ้ บริ หารข้ อมูลเสนอแนะผู้ใช้ งานเกี่ยวกับขันตอนที่จะนาไป
ู
้
ปอนเพื่อจัดเก็บใน ฐานข้ อมูล
้
- ปรั บปรุ งคานิยายและโครงสร้ างข้ อมูล ข้ อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้ าง เช่น ต้ อง
จัดเก็บข้ อมูลที่เป็ นรูปภาพเพิ่มเติมที่ไม่เคยจัดเก็บมาก่อน เป็ นต้ น
- กาหนดอายุฐานข้ อมูล ข้ อมูลที่มีอายุครบตามที่กาหนดจะถูกโอนไปจัดเก็บในสื่อบันทึกที่
เข้ าถึงข้ อมูลได้ ช้ากว่าและมีราคาถูกกว่าสื่อบันทึกเดิม
- การทาให้ สามารถใช้ งานฐานข้ อมูลได้ คือ การที่ผ้ บริ หารแจ้ งความต้ องการข้ อมูลใน
ู
ฐานข้ อมูลให้ กบผู้บริ หารฐานข้ อมูลทราบเพื่อนาความต้ องการไปติดตังในฐานข้ อมูล
ั
้
- การแจ้ งข่ าวบริการฐานข้ อมูล ผู้บริ หารข้ อมูลจะแจ้ งให้ ผ้ ใช้ งานทราบว่าสามารถใช้ ระบบ
ู
ฐานข้ อมูลได้ พร้ อมทั ้งทาหน้ าที่ในการตอบคาถามเกี่ยวกับปั ญหาต่างๆที่เกิดขันจากการใช้
้
การระบบฐานข้ อมูล
- รั กษาความน่ าเชื่อถือของข้ อมูล ผู้บริ หารมีหน้ าที่ในการพัฒนามาตรฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ
ฐานข้ อมูลเพื่อช่วยผู้ใช้ งานในการจัดสร้ างและควบคุมความถูกต้ องของข้ อมูลในฐานข้ อมูล
- ติดตามผลการปฏิบัติงาน เป็ นหน้ าที่ในการติดตามรูปแบบการใช้ งานฐานข้ อมูลของ
ผู้ใช้ งาน
2) หน้ าที่งานและความรับผิดชอบของบริหารฐานข้ อมูล หน้ าที่หลักของผู้บริ หารฐานข้ อมูล
คือควบคุมและใช้ ทรัพยากรข้ อมูลของกิจการอย่างมีประสิทธิภาพซึงเน้ นทางด้ านเทคโนโลยีเป็ น
่
หลักโดยทางานด้ วยกับโปรแกรมเมอร์ หน้ าที่หลักและความรับผิดชอบของผู้บริ หารข้ อมูล
ประกอบด้ วย
- กาหนดคานิยามข้ อมูล เป็ นการแปลงความต้ องการข้ อมูลในฐานข้ อมูลให้ อยู่ในรู ปแบบที่
ผู้ใช้ งานเข้ าใจได้
- สร้ างฐานข้ อมูล หลังจากการกาหนดรูปแบบข้ อมูลที่จะนาไปจัดเก็บในฐานข้ อมูลแล้ วผู้บริ หาร
ข้ อมูลจะต้ องจัดสร้ างรูปแบบข้ อมูล ในระบบจัดการฐานข้ อมูลต่อจากนันผู้ใช้ จะปอนข้ อมูลเพื่อ
้
้
นาไปเก็บในฐานข้ อมูล
- ปรับปรุ งค่ านิยมและโครงสร้ างข้ อมูล ผู้บริ หารข้ อมูลมีหน้ าที่ในการปรับปรุ ง เปลี่ยนแปลงคา
นิยามข้ อมูลอาจต้ องปรับปรุงโปรแกรมประยุกต์บางส่วนที่เรี ยกใช้ ข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงคา
นิยามด้ วย
- กาหนดอายุฐานข้ อมูล เป็ นการนานโยบายการโอนข้ อมูลหรื อการลบข้ อมูลที่จดทาโดยผู้บริ หาร
ั
ข้ อมูลมาปฏิบติตาม เพื่อทาการโอนข้ อมูลหรื อลบข้ อมูลออกจากฐานข้ อมูล
ั
- การทาให้ สามารถใช้ งานฐานข้ อมูลได้ เป็ นการจัดหาเครื่ องอานวยความสะดวกและเครื่ องมือเพื่อ
ผู้ใช้ งานสามารถเรี ยกดูและปรับปรุงแก้ ไขข้ อมูลในฐานข้ อมูลที่เป็ นเจ้ าของได้ โดยเครื่ องมือที่จดหานันมา
ั
้
เพื่อในรูปของโปรแกรมอรรถประโยชน์หรื อระบบจัดการฐานข้ อมูลเพื่อให้ เหมาะกับความต้ องการของ
ผู้ใช้ งาน
- การแจ้ งข่ าวบริการฐานข้ อมูล ทาหน้ าที่ในการตอบคาถามและให้ การฝึ กอบรบแกโปรแกรมเมอร์ ที่ทา
หน้ าที่ในการพัฒนาระบบฐานข้ อมูล
- รักษาความน่ าเชื่อถือของข้ อมูล การควบคุมเพื่อก่อให้ เกิดความมันใจในความเชื่อถือของข้ อมูลใน
่
ฐานข้ อมูลซึงผู้บริ หารระบบฐานข้ อมูลมักนามาใช้ ประกอบด้ วย
่
+ การควบคุมคานิยามข้ อมูล
+ ควบคุมการเข้ าถึงข้ อมูลของบุคคลที่ไม่ได้ รับอนุมติ
ั
+ การจัดทาและเก็บรักษาร่องรอยการตรวจสอบเพื่อแสดงให้ เห็นว่าความน่าเชื่อถือของข้ อมูลได้ รับการ
ควบคุมอย่างเหมาะสมตลอดเวลา
+ การควบคุมการปรับปรุงข้ อมูล
- ติดตามผลการปฏิบัตงาน เป็ นการติดตามกิจกรรมต่าง ๆ ที่กระทากับ
ิ
ฐานข้ อมูล และการทางานของโปรแกรมเมอร์ การติดตามปฏิบติงานจะช่วย
ั
ให้ ผ้ บริ หารข้ อมูลทราบถึงประสิทธิภาพของฐานข้ อมูล
ู
(2) การควบคุมการปฏิบัตงานของผู้บริหารข้ อมูลและผู้บริหารฐานข้ อมูล
ิ
ผู้บริ หารข้ อมูลและผู้บริ หารฐานข้ อมูลมีหน้ าที่และความรับผิดชอบที่เกี่ยวข้ อง
กัน นอกจากนี ้ยังสามารถใช้ อานาจและหน้ าที่งานที่มีอยู่ การหลีกเลี่ยงการ
ควบคุมของระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อปรับปรุง แก้ ไขข้ อมูลในฐานข้ อมูล โดยไม่
มีผ้ ใดทราบได้ กิจการควรควบคุมการทางานของข้ อมูลและผู้บริ หารข้ อมูล
ู
อย่างระมัดระวัง ดังนี ้
1) กาหนดอานาจและหน้ าที่ของผู้บริ หารข้ อมุลและผู้บริ หารฐานข้ อมูลใน
ระดับชันต่าง ๆ เพื่อให้ เจ้ าหน้ าที่แต่ละคนได้ รับการมอบหมายหน้ าที่และ
้
ความรับชอบที่ชดเจน
ั
2) แบ่งแยกหน้ าที่ด้านการจัดฐานข้ อมูลอย่างเหมาะสม กิจการควรแบ่งแยก
หน้ าที่ในการจักเก็บเอกสารและโปรแกรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับฐานข้ อมูล
3) จัดการฝึ กอบรมเจ้ าหน้ าที่อย่างเหมาะสม กิจการควรฝึ กอบรมเจ้ าหน้ าที่ที่
ทางานเกี่ยวกับการจัดการฐานข้ อมูลอย่างเหมาะสม
4) จดบันทึกการใช้ งานเครื่ องมือต่าง ๆ ที่ใช้ ในการจัดการกับข้ อมูลและผู้บริ หาร
ฐานข้ อมูล กิจการควรจดบันทึกการใช้ งานเครื่ องมือต่าง ๆ ที่ใช้ ในการจัดการ
กับข้ อมูลลงในแฟมลงบันทึก
้
5) ไม่ควรมีหน้ าที่ในการประมวลผลโปรแกรมประยุกต์ได้
7. การสารองข้ อมูล
การสารองข้ อมูลสามารถกระทาได้ ในหลายลักษณะ คือ กิจการอาจ
สารองข้ อมูลหลัก(Master file)และแฟมข้ อมูลรายการเปลี่ยนแปลงหรื อ
้
รายการค้ า(Transaction file) และฐานข้ อมูลทังหมดโดยประเภทของการ
้
สารองสามารถแบ่งออกเป็ น 4 ประเภทคือ การสารองทังหมด (full
้
backup) การสารองที่แตกต่าง(Differential backup) การสารองส่วน
เพิ่ม (Incremental backup) และการคัดลอกสารองซึงเป็ นการสารอง
่
บางส่วน(Copy backup) ซึงสามารถสรุปดังตารางนี ้
่
ตารางสรุ ปประเภทจดทาสารอง
ประเภทของสารอง

คาอธิบาย

วิธีการ
เป็ นส่วนของตารางการ
สารองปกติ

สถานะของ Archive Bit
ภายหลังการสารอง

การสารองทั ้งหมด

คัดลองแฟมข้ อมูลทั ้งหมด
้

การสารองที่แตกต่าง

คัดลองแฟมข้ อมูลทั ้งหมด เป็ นส่วนของตารางการ
้
นับตั ้งแต่การสารองทั ้งหมด สารองปกติ
ครังสุดท้ าย
้

เมื่อสารองเสร็จสิ ้นจะไม่
ล้ างค่า Archive bit (Not
Cleared)

การสารองเพิ่มส่วน

คัดลองแฟมข้ อมูลทั ้งหมดที่ เป็ นส่วนของตารางการ
้
มีการ
สารองปกติ
เปลี่ยนแปลง นับตั ้งแต่การ
สารองทั ้งหมดและส่วนที่
เพิ่มขึ ้น

เมื่อสารองเสร็จสิ ้นจะล้ าง
ค่าArchive bit (Cleared)

การคัดลอกสารอง

คัดลอกแฟมข้ อมูลที่เลือก
้
มา

เมื่อสารองเสร็จสิ ้นจะไม่
ล้ างค่า Archive bit (Not
Cleared)

คัดลองแฟมข้ อมูลไปยัง
้
สถานที่ใหม่

เมื่อสารองเสร็จสิ ้นจะล้ าง
ค่าArchive bit (Cleared)

More Related Content

Similar to บทที่ 8

โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
Peem Jirayut
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการskiats
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Thanawut Rattanadon
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
Orapan Chamnan
 
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
Chapter 02
Chapter 02Chapter 02
Chapter 02
Komsun See
 
แปล Design and implementation of e
แปล Design and implementation of eแปล Design and implementation of e
แปล Design and implementation of eSchool
 
งานครูทรงศักดิ์1
งานครูทรงศักดิ์1งานครูทรงศักดิ์1
งานครูทรงศักดิ์1startnaza
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
rubtumproject.com
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Orapan Chamnan
 

Similar to บทที่ 8 (20)

Sallai pro
Sallai proSallai pro
Sallai pro
 
Project Sky
Project SkyProject Sky
Project Sky
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการ
 
จัดการ
จัดการจัดการ
จัดการ
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
Chapter 02
Chapter 02Chapter 02
Chapter 02
 
แปล Design and implementation of e
แปล Design and implementation of eแปล Design and implementation of e
แปล Design and implementation of e
 
งานครูทรงศักดิ์1
งานครูทรงศักดิ์1งานครูทรงศักดิ์1
งานครูทรงศักดิ์1
 
รายงาน Project2
รายงาน Project2รายงาน Project2
รายงาน Project2
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 

More from noonnn

บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11noonnn
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10noonnn
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9noonnn
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7noonnn
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6noonnn
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5noonnn
 

More from noonnn (6)

บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 

บทที่ 8

  • 2. 1. ลักษณะทั่วไปของฐานข้ อมูล ฐานข้ อมูลนับเป็ นสิงที่สาคัญอย่างมากของโปรแกรมประยุกต์ เนื่องจาก ่ ฐานข้ อมูลเป็ นแหล่งรวมข้ อมูลทังหมดของกิจการ ฐานข้ อมูลเป็ นที่ ้ รวบรวมข้ อมูลที่มีความสัมพันธ์กนไว้ ร่วมกัน โดยข้ อมูลในฐานข้ อมูล ั สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ 1. Declarative คือข้ อมูลที่มีคาคงที่ (Static aspects) ซึงเกี่ยวกับสิง ่ ่ ่ ต่างๆที่เป็ นจริง 2. Procedural คือข้ อมูลที่เปลี่ยนแปลง (Dynamic aspects) ซึง ่ เกี่ยวข้ องกับสิงต่างๆที่เป็ นจริงที่แสดงความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ เช่น ่ ฐานความรู้ในระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert system)
  • 3. ลักษณะของฐานข้ อมูล การจัดเก็บข้ อมูลใบระบบสารสนเทศสามารถจัดเก็บข้ อมูลได้ 2 ลักษณะด้ วยกันคือ การจัดเก็บข้ อมูลในรูปแบบแฟมข้ อมูลการจัดเก็บข้ อมูล ้ ในรูปแบบฐานข้ อมูลการข้ อมูลในแฟมข้ อมูลมักแบ่งชนิดต่างๆ ประกอบด้ วย ้ 1. แฟมข้ อมูลหลักหรื อแฟมข้ อมูลถาวร (Master file) ้ ้ 2. แฟมข้ อมูลรายการเปลี่ยนแปลงหรื อแฟมชัวคราว (Transaction file) ้ ้ ่ 3. แฟมตารางข้ อมูล(Look-up table file) ้ 4. แฟมใช้ งาน (Work file) ้ 5. แฟมปองกันหรื อแฟมร่องรอยการตรวจสอบ(Protection file หรื อ Audit trail) ้ ้ ้ 6. แฟมประวัติ(History file) ้
  • 4. 2. ระบบจัดการฐานข้ อมูล ระบบจัดการฐานข้ อมูล คือซอฟต์แวร์ ที่อนุญาตให้ ผ้ ที่ใช้ สามารถสร้ าง ู เข้ าถึง และจัดการฐานข้ อมูลมีทงระบบที่ใช้ สาหรับองค์กรขนาดใหญ่ ั้ เช่น Oracle database และ Microsoft SQL server เป็ นต้ น ปั จจุบนมีระบบ ั จัดการฐานข้ อมูลที่เป็ นโอเพนซอร์ ส (open source) โดยผู้ใช้ ไม่ต้องเสีย ค่าลิขสิทธิ์ เช่น mySQL เป็ นต้ น 1) สร้ างฐานข้ อมูล ชุดของคาสังที่ใช้ เพื่อทาหน้ าที่ดงกล่าวเรี ยกว่า ภาษาทีใช้ ในการกาหนดคา ่ ั ่ นิยามข้ อมูล (Data definition language หรื อ DDL) ซึงจะถูกนามาใช้ เพื่อ ่ สร้ างพจนานุกรมข้ อมูล สร้ างฐานข้ อมูล อธิบายภาพทางตรรกะของแต่ละ ผู้ใช้ งานหรื อโปรแกรมเมอร์ และระบุข้อจากัดของการควบคุมที่เกี่ยวกับการ รักษาความปลอดภัยต่อเรคคอร์ ดของฐานข้ อมูลหรื อฟิ ลด์
  • 5. 2) เปลี่ยนแปลงฐานข้ อมูล ภาษาที่ใช้ ในการจัดการข้ อมูล (Data manipulaion language หรื อ DML) เป็ น ภาษาที่ใช้ เพื่อบารุงรักษาข้ อมูล ประกอบด้ วย การปรับปรุงฐานข้ อมูล บางส่วนการเพิ่มเติมฐานข้ อมูลข้ อมูลบางส่วน และการลบฐานข้ อมูล บางส่วน 3) สอบถามฐานข้ อมูล ภาษาที่ใช้ ในการสอบถามข้ อมูล (Data query language หรื อ DQL) มีหน้ าที่ ในการดึง จัดเรี ยง และให้ ชดของข้ อมูลบางส่วนที่ตอบกลับต่อการสอบถาม ุ ของผู้ใช้ ประกอบด้ วย CREATE,INSERT,DELETE,UPDATE และ SELECT นอกจากนี ้ยังสามารถใช้ SQL command เพื่อค้ นหารายการ ตามเงื่อนไขที่กาหนดได้ ด้วย
  • 6. 3.ประเภทของฐานข้ อมูล ระบบจัดการฐานข้ อมูลจะแบ่งแยกภาพของข้ อมูลในฐานข้ อมูล ออกเป็ น 2 ประเภทด้ วยกันคือภาพเชิงตรรกะและภาพเชิงกายภาพ ข้ อมูลจะถูกจัดเก็บในสื่อบันทึกในลักษณะภาพเชิงกายภาพการเรี ยกใช้ งานข้ อมูลที่ถกจัดเก็บจะแสดงออกมาในลักษณะเชิงตรรกะ ทาให้ ู โปรแกรมเมอร์ และผู้ใช้ งานไม่จาเป็ นต้ องทราบว่าข้ อมูลถูกจัดเก็บไว้ ที่ ไหนและอย่างไรในสื่อบันทึก สิงที่โปรแกรมเมอร์ และผู้ใช้ ต้องการคือ จะ ่ เข้ าถึงข้ อมูลที่ต้องการได้ อย่างไรเท่านัน ้
  • 7. 4. ความเสี่ ยงทีอาจเกิดกับฐานข้ อมูล ่ ความเสี่ยงที่อาจเกิดกับฐานข้ อมูลที่เด่นชัดมากที่สดคือ ขโมยข้ อมูล ุ ปรับเปลี่ยน และลบข้ อมูลในฐานข้ อมูลผลเสียหายที่เกิดจากข้ อมูล ดังกล่าวสร้ างความเสียหายให้ กบกิจการอย่างมาก กล่าวคือข้ อมูลที่ถก ั ู ขโมยอาจถูกนาไปขายให้ กบคูแข่งหรื อเลขบัตรเครดิตที่ถกขโมยถูก ั ่ ู นาไปซื ้อสินค้ าและบริการตามที่ตางๆ ่
  • 8. 5. การควบคุมฐานข้ อมูล การควบคุมความเชื่อถือได้ และถูกต้ องของฐานข้ อมูล จากการที่ฐานข้ อมูลเป็ นแหล่งจัดเก็บข้ อมูลต่างๆของทังกิจการไว้ ในที่ ้ เดียวกันทาให้ ต้องมีการควบคุมฐานข้ อมูลอย่างเหมาะสม การควบคุม สามารถแบ่งออกเป็ นประเภทใหญ่ ๆ ด้ วยกัน คือ 1) การควบคุมความถูกต้ องของข้ อมูลในฐานข้ อมูล(Integrity controls) วัตถุประสงค์ของการควบคุมความถูกต้ องของข้ อมูลในฐานข้ อมูลเพือแน่ใจ ่ ในความสมบูรณ์และความเหมาะสมของการจัดโครงสร้ างข้ อมูลที่ใช้ ในการ กาหนดองค์ประกอบของข้ อมูลในฐานข้ อมูล (Conceptual datamodeling) เนื่องจากในการนาข้ อมูลไปจัดเก็บในฐานข้ อมูลนัน ้ จาเป็ นต้ องกาหนดว่าฐานข้ อมูลประกอบด้ วยข้ อมูลใดบ้ าง โดยสรุปความ ถูกต้ องของข้ อมูลสามารถแบ่งออกเป็ น 3 ส่วนด้ วยกัน คือ
  • 9. 1. ความสมบูรณ์ ของฐานข้ อมูลเชิงศักยภาพ คือ การที่ฐานข้ อมูลปกปอง ้ ตัวเองจากปั ญหาทางกายภาพเป็ นต้ น ไฟฟาดับ และแผ่นดินไหว เป็ นต้ น ้ กล่าวคือกิจการสามารถจัดสร้ างฐานข้ อมูลขึ ้นมาใหม่แม้ ว้าฐานข้ อมูลจะถูก ทาลายอย่างรุนแรงหรื อโดยฉับพลันก็ตาม การควบคุมความสมบรูณ์ของ ข้ อมูลเชิงกายภาพนี ้ทาได้ โดยสารองฐานข้ อมูลประจา เช่น การลงบันทึก หรื อล็อก (Log) รายการทังหมดที่นาไปประมวลผลกับฐานข้ อมูล ้ 2. ความสมบูรณ์ ของฐานข้ อมูลเชิงตรรกะ คือความถูกต้ องของโครงสร้ าง ฐานข้ อมูล กล่าวคือการออกแบบโครงสร้ างฐานข้ อมูลต้ องมีความเหมาะสม ในลักษณะที่การเปลี่ยนแปลงข้ อมูลในข้ อมูลส่วนย่อยหนึง ๆ ต้ องไม่สงผล ่ ่ กระทบต่อข้ อมูลส่วนย่อยอื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้ องหรื อไม่สมพันธ์กน เป็ นต้ น ั ั
  • 10. 3. ความสมบูรณ์ ทางด้ านองค์ ประกอบข้ อมูล คือ ความถูกต้ องของ ค่าของข้ อมูลย่อย ๆ ที่เก็บในฐานข้ อมูล สามารถทาได้ 3 วิธี คือ - ใช้ วิธีการตรวจสอบฟิ ลด์ (file checks) เป็ นการตรวจสอบความเหมาะสม ของข้ อมูล - ควบคุมการเข้ าถึงข้ อมูล (Access control) ฐานข้ อมูลเป็ นที่จดเก็บข้ อมูล ั ต่าง ๆ ของกิจการไว้ แหล่งเดียวกัน ถ้ าไม่มีการควบคุมการเข้ าถึงข้ อมูลก็ จะส่งผลต่อเจ้ าหน้ าที่ - บันทึกการเปลี่ยนแปลง (Change log) รายการที่เปลี่ยนแปลงข้ อมูลทา โดยจัดเก็บข้ อมูลก่อน - หลังการเปลี่ยนแปลง
  • 11. 2) การควบคุมด้ านความสามารถในการตรวจสอบได้ กิจการควรจัดเก็บข้ อมูลการเข้ าถึงฐานข้ อมูลทังหมดไม่วาจะเป็ นการอ่าน ้ ่ ปรับปรุงหรื อเขียนข้ อมูลในฐานข้ อมูล เพื่อผู้ตรวจสอบสามารถติดตามความ เหมาะสมและถูกต้ องของการปรับปรุงข้ อมูลในฐานข้ อมูลได้ 3) การควบคุมการเข้ าถึงข้ อมูลในฐานข้ อมูล การควบคุมที่สาคัญอีกประเภทหนึงของฐานข้ อมูล คือการควบคุมไม่ให้ ่ บุคคลที่ไม่ได้ รับอนุมตเิ ข้ าถึงข้ อมูลในฐานข้ อมูลได้ ข้ อมูลในฐานข้ อมูลมักมา ั จากหลายแหล่งด้ วยกัน ทาให้ เกิดคาถามที่ผ้ บริ หารฐานข้ อมูลต้ องตัดสินใจ ู เกี่ยวกับความเป็ นเจ้ าของร่วมกันในฐานข้ อมูลและการใช้ งานฐานข้ อมูล การ ควบคุมเข้ าถึงข้ อมูลในฐานข้ อมูล
  • 12. 6. การควบคุมผู้บริหารข้ อมูลและบริหารข้ อมูล (1) ความรู้ ท่ วไปเกี่ยวกับหน้ าที่งานและความรั บผิดชอบของผู้บริหารข้ อมูลและผู้ ั บริการฐานข้ อมูล หน้ าที่และความรับผิดชอบของผู้บริ หารข้ อมูลและผู้บริ หารฐานข้ อมูลซึ่งต้ องติดต่อและ ประสานงานกับผู้ใช้ ฐานข้ อมูล (Database users) เพื่อกาหนดความต้ องการของข้ อมูล ผู้บริ หารฐานข้ อมูลจะติดต่อประสานงานกับผู้บริ หารข้ อมูลและโปรแกรมเมอร์ เพื่อ จัดสร้ างฐานข้ อมูลเข้ าไปในระบบคอมพิวเตอร์ 1) หน้ าที่งานและความรั บผิดชอบของผู้บริหาร จะทาหน้ าที่ด้านการบริหารและ จัดการฐานข้ อมูล หน้ าที่ของผู้บริ หารประกอบด้ วย - กาหนดคานิยายข้ อมูล ผู้บริ หารข้ อมูลจะทาหน้ าที่ในการกาหนดเค้ าร่างข้ อมูล ภายนอก(External schema) ซึงเป็ นภาพของข้ อมูลที่ผ้ ใช้ งานสามารถเห็นได้ ่ ู - สร้ างฐานข้ อมูล การที่ผ้ บริ หารข้ อมูลเสนอแนะผู้ใช้ งานเกี่ยวกับขันตอนที่จะนาไป ู ้ ปอนเพื่อจัดเก็บใน ฐานข้ อมูล ้
  • 13. - ปรั บปรุ งคานิยายและโครงสร้ างข้ อมูล ข้ อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้ าง เช่น ต้ อง จัดเก็บข้ อมูลที่เป็ นรูปภาพเพิ่มเติมที่ไม่เคยจัดเก็บมาก่อน เป็ นต้ น - กาหนดอายุฐานข้ อมูล ข้ อมูลที่มีอายุครบตามที่กาหนดจะถูกโอนไปจัดเก็บในสื่อบันทึกที่ เข้ าถึงข้ อมูลได้ ช้ากว่าและมีราคาถูกกว่าสื่อบันทึกเดิม - การทาให้ สามารถใช้ งานฐานข้ อมูลได้ คือ การที่ผ้ บริ หารแจ้ งความต้ องการข้ อมูลใน ู ฐานข้ อมูลให้ กบผู้บริ หารฐานข้ อมูลทราบเพื่อนาความต้ องการไปติดตังในฐานข้ อมูล ั ้ - การแจ้ งข่ าวบริการฐานข้ อมูล ผู้บริ หารข้ อมูลจะแจ้ งให้ ผ้ ใช้ งานทราบว่าสามารถใช้ ระบบ ู ฐานข้ อมูลได้ พร้ อมทั ้งทาหน้ าที่ในการตอบคาถามเกี่ยวกับปั ญหาต่างๆที่เกิดขันจากการใช้ ้ การระบบฐานข้ อมูล - รั กษาความน่ าเชื่อถือของข้ อมูล ผู้บริ หารมีหน้ าที่ในการพัฒนามาตรฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ ฐานข้ อมูลเพื่อช่วยผู้ใช้ งานในการจัดสร้ างและควบคุมความถูกต้ องของข้ อมูลในฐานข้ อมูล - ติดตามผลการปฏิบัติงาน เป็ นหน้ าที่ในการติดตามรูปแบบการใช้ งานฐานข้ อมูลของ ผู้ใช้ งาน
  • 14. 2) หน้ าที่งานและความรับผิดชอบของบริหารฐานข้ อมูล หน้ าที่หลักของผู้บริ หารฐานข้ อมูล คือควบคุมและใช้ ทรัพยากรข้ อมูลของกิจการอย่างมีประสิทธิภาพซึงเน้ นทางด้ านเทคโนโลยีเป็ น ่ หลักโดยทางานด้ วยกับโปรแกรมเมอร์ หน้ าที่หลักและความรับผิดชอบของผู้บริ หารข้ อมูล ประกอบด้ วย - กาหนดคานิยามข้ อมูล เป็ นการแปลงความต้ องการข้ อมูลในฐานข้ อมูลให้ อยู่ในรู ปแบบที่ ผู้ใช้ งานเข้ าใจได้ - สร้ างฐานข้ อมูล หลังจากการกาหนดรูปแบบข้ อมูลที่จะนาไปจัดเก็บในฐานข้ อมูลแล้ วผู้บริ หาร ข้ อมูลจะต้ องจัดสร้ างรูปแบบข้ อมูล ในระบบจัดการฐานข้ อมูลต่อจากนันผู้ใช้ จะปอนข้ อมูลเพื่อ ้ ้ นาไปเก็บในฐานข้ อมูล - ปรับปรุ งค่ านิยมและโครงสร้ างข้ อมูล ผู้บริ หารข้ อมูลมีหน้ าที่ในการปรับปรุ ง เปลี่ยนแปลงคา นิยามข้ อมูลอาจต้ องปรับปรุงโปรแกรมประยุกต์บางส่วนที่เรี ยกใช้ ข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงคา นิยามด้ วย - กาหนดอายุฐานข้ อมูล เป็ นการนานโยบายการโอนข้ อมูลหรื อการลบข้ อมูลที่จดทาโดยผู้บริ หาร ั ข้ อมูลมาปฏิบติตาม เพื่อทาการโอนข้ อมูลหรื อลบข้ อมูลออกจากฐานข้ อมูล ั
  • 15. - การทาให้ สามารถใช้ งานฐานข้ อมูลได้ เป็ นการจัดหาเครื่ องอานวยความสะดวกและเครื่ องมือเพื่อ ผู้ใช้ งานสามารถเรี ยกดูและปรับปรุงแก้ ไขข้ อมูลในฐานข้ อมูลที่เป็ นเจ้ าของได้ โดยเครื่ องมือที่จดหานันมา ั ้ เพื่อในรูปของโปรแกรมอรรถประโยชน์หรื อระบบจัดการฐานข้ อมูลเพื่อให้ เหมาะกับความต้ องการของ ผู้ใช้ งาน - การแจ้ งข่ าวบริการฐานข้ อมูล ทาหน้ าที่ในการตอบคาถามและให้ การฝึ กอบรบแกโปรแกรมเมอร์ ที่ทา หน้ าที่ในการพัฒนาระบบฐานข้ อมูล - รักษาความน่ าเชื่อถือของข้ อมูล การควบคุมเพื่อก่อให้ เกิดความมันใจในความเชื่อถือของข้ อมูลใน ่ ฐานข้ อมูลซึงผู้บริ หารระบบฐานข้ อมูลมักนามาใช้ ประกอบด้ วย ่ + การควบคุมคานิยามข้ อมูล + ควบคุมการเข้ าถึงข้ อมูลของบุคคลที่ไม่ได้ รับอนุมติ ั + การจัดทาและเก็บรักษาร่องรอยการตรวจสอบเพื่อแสดงให้ เห็นว่าความน่าเชื่อถือของข้ อมูลได้ รับการ ควบคุมอย่างเหมาะสมตลอดเวลา + การควบคุมการปรับปรุงข้ อมูล
  • 16. - ติดตามผลการปฏิบัตงาน เป็ นการติดตามกิจกรรมต่าง ๆ ที่กระทากับ ิ ฐานข้ อมูล และการทางานของโปรแกรมเมอร์ การติดตามปฏิบติงานจะช่วย ั ให้ ผ้ บริ หารข้ อมูลทราบถึงประสิทธิภาพของฐานข้ อมูล ู (2) การควบคุมการปฏิบัตงานของผู้บริหารข้ อมูลและผู้บริหารฐานข้ อมูล ิ ผู้บริ หารข้ อมูลและผู้บริ หารฐานข้ อมูลมีหน้ าที่และความรับผิดชอบที่เกี่ยวข้ อง กัน นอกจากนี ้ยังสามารถใช้ อานาจและหน้ าที่งานที่มีอยู่ การหลีกเลี่ยงการ ควบคุมของระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อปรับปรุง แก้ ไขข้ อมูลในฐานข้ อมูล โดยไม่ มีผ้ ใดทราบได้ กิจการควรควบคุมการทางานของข้ อมูลและผู้บริ หารข้ อมูล ู อย่างระมัดระวัง ดังนี ้
  • 17. 1) กาหนดอานาจและหน้ าที่ของผู้บริ หารข้ อมุลและผู้บริ หารฐานข้ อมูลใน ระดับชันต่าง ๆ เพื่อให้ เจ้ าหน้ าที่แต่ละคนได้ รับการมอบหมายหน้ าที่และ ้ ความรับชอบที่ชดเจน ั 2) แบ่งแยกหน้ าที่ด้านการจัดฐานข้ อมูลอย่างเหมาะสม กิจการควรแบ่งแยก หน้ าที่ในการจักเก็บเอกสารและโปรแกรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับฐานข้ อมูล 3) จัดการฝึ กอบรมเจ้ าหน้ าที่อย่างเหมาะสม กิจการควรฝึ กอบรมเจ้ าหน้ าที่ที่ ทางานเกี่ยวกับการจัดการฐานข้ อมูลอย่างเหมาะสม 4) จดบันทึกการใช้ งานเครื่ องมือต่าง ๆ ที่ใช้ ในการจัดการกับข้ อมูลและผู้บริ หาร ฐานข้ อมูล กิจการควรจดบันทึกการใช้ งานเครื่ องมือต่าง ๆ ที่ใช้ ในการจัดการ กับข้ อมูลลงในแฟมลงบันทึก ้ 5) ไม่ควรมีหน้ าที่ในการประมวลผลโปรแกรมประยุกต์ได้
  • 18. 7. การสารองข้ อมูล การสารองข้ อมูลสามารถกระทาได้ ในหลายลักษณะ คือ กิจการอาจ สารองข้ อมูลหลัก(Master file)และแฟมข้ อมูลรายการเปลี่ยนแปลงหรื อ ้ รายการค้ า(Transaction file) และฐานข้ อมูลทังหมดโดยประเภทของการ ้ สารองสามารถแบ่งออกเป็ น 4 ประเภทคือ การสารองทังหมด (full ้ backup) การสารองที่แตกต่าง(Differential backup) การสารองส่วน เพิ่ม (Incremental backup) และการคัดลอกสารองซึงเป็ นการสารอง ่ บางส่วน(Copy backup) ซึงสามารถสรุปดังตารางนี ้ ่
  • 19. ตารางสรุ ปประเภทจดทาสารอง ประเภทของสารอง คาอธิบาย วิธีการ เป็ นส่วนของตารางการ สารองปกติ สถานะของ Archive Bit ภายหลังการสารอง การสารองทั ้งหมด คัดลองแฟมข้ อมูลทั ้งหมด ้ การสารองที่แตกต่าง คัดลองแฟมข้ อมูลทั ้งหมด เป็ นส่วนของตารางการ ้ นับตั ้งแต่การสารองทั ้งหมด สารองปกติ ครังสุดท้ าย ้ เมื่อสารองเสร็จสิ ้นจะไม่ ล้ างค่า Archive bit (Not Cleared) การสารองเพิ่มส่วน คัดลองแฟมข้ อมูลทั ้งหมดที่ เป็ นส่วนของตารางการ ้ มีการ สารองปกติ เปลี่ยนแปลง นับตั ้งแต่การ สารองทั ้งหมดและส่วนที่ เพิ่มขึ ้น เมื่อสารองเสร็จสิ ้นจะล้ าง ค่าArchive bit (Cleared) การคัดลอกสารอง คัดลอกแฟมข้ อมูลที่เลือก ้ มา เมื่อสารองเสร็จสิ ้นจะไม่ ล้ างค่า Archive bit (Not Cleared) คัดลองแฟมข้ อมูลไปยัง ้ สถานที่ใหม่ เมื่อสารองเสร็จสิ ้นจะล้ าง ค่าArchive bit (Cleared)