SlideShare a Scribd company logo
1
ผันทนชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๒. ผันทนชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๗๕)
ว่าด้วยการผูกเวรของหมีและไม้สะคร้อ
(หมีได้บอกช่างไม้ว่า)
[๑๔] ท่านผู้เดียวถือขวานเข้ามาถึงป่ายืนอยู่ เพื่อน
เราถามแล้วท่านจงบอก ท่านต้องการจะตัดไม้หรือ
(ช่างไม้ได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวว่า)
[๑๕] เพื่อน เจ้าเป็ นหมีเที่ยวไปยังป่าน้อยใหญ่ ทั้งป่าทึบและป่าโปร่ง
เราถามแล้ว เจ้าจงบอก ไม้อะไรถึงจะแข็งแกร่งสาหรับกงรถ
(หมีกล่าวว่า)
[๑๖] ต้นรังก็ดี ต้นตะเคียนก็ดี ต้นหูกวางก็ดี ต้นสีเสียดก็ดี
ที่ไหนจะแข็งแกร่ง แต่ต้นไม้ที่มีนามว่าสะคร้อนั่นซิ
เป็นไม้ที่แข็งแกร่งสาหรับกงรถ
(ช่างไม้ถามว่า)
[๑๗] ก็ต้นสะคร้อนั้น ใบก็ตาม ลาต้นก็ตามเป็นเช่นไร เพื่อน
เราถามแล้ว ท่านจงตอบ เราจะรู้จักต้นสะคร้อได้อย่างไร
(หมีบอกว่า)
[๑๘] ต้นไม้ใดที่กิ่งห้อยน้อมลงมาแต่ไม่หัก
ข้าพเจ้ายืนอยู่ที่โคนต้นไม้ใด ต้นไม้นั้นมีนามว่าสะคร้อ
[๑๙] ต้นสะคร้อนี้จักเป็นไม้ที่สมควร แก่กิจการของท่านทุกอย่าง คือ
ทากาก็ได้ ล้อก็ได้ ดุมก็ได้ งอนไถก็ได้ กงก็ได้ ตัวรถก็ได้
(พระศาสดาทรงประกาศเรื่องนั้นว่า)
[๒๐] ทันใดนั้น รุกขเทวดาผู้สิงสถิตอยู่ที่ต้นสะคร้อ ก็ได้กล่าวอย่างนี้ว่า
ถึงข้าพเจ้าก็มีคาที่จะพูด ภารทวาชะ โปรดฟังคาของข้าพเจ้า
[๒๑] ท่านจงถลกหนังจากคอหมี ๔ องคุลีแล้วใช้หุ้มกงรถ เมื่อทาเช่นนี้
กงรถจะพึงมั่นคงยิ่งขึ้น
[๒๒] ถึงรุกขเทวดาผู้สิงสถิตอยู่ที่ต้นสะคร้อ ได้จองเวรแล้วเพียงนั้น
ได้นาความทุกข์มาให้แก่พวกหมี ทั้งที่เกิดแล้วและยังไม่เกิด ด้วยประการฉะนี้
[๒๓] ด้วยประการดังกล่าวมาฉะนี้ ไม้สะคร้อยุให้คนฆ่าหมี
ส่วนหมียุให้คนโค่นต้นสะคร้อ เพราะการวิวาทกันและกัน
ต่างคนต่างยุให้ฆ่ากันและกัน คือ
2
[๒๔] พวกมนุษย์เกิดการทะเลาะกันขึ้นที่ใด
ที่นั้นมนุษย์ทั้งหลายก็เปิดเผยความลับเหมือนนกยูงราแพน
และเหมือนหมีกับไม้สะคร้อเหล่านั้น
[๒๕] เพราะเหตุนั้น ตถาคตขอถวายพระพรมหาบพิตรทั้งหลาย
ขอมหาบพิตรทั้งหลายทรงพระเจริญ ตราบเท่าที่ทรงสมาคมกัน ณ สถานที่นี้
ขอทรงรื่นเริงบันเทิงพระทัย อย่าทรงวิวาทกัน
อย่าทรงเป็นเหมือนหมีกับไม้สะคร้อเลย
[๒๖] ขอมหาบพิตรทั้งหลายทรงสาเหนียกถึงความสามัคคีนั้น
ที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงสรรเสริญแล้ว บุคคลผู้ยินดีแล้วในความสามัคคี
ดารงอยู่ในธรรม ย่อมไม่เสื่อมจากนิพพานอันเป็ นแดนเกษมจากโยคะ
ผันทนชาดกที่ ๒ จบ
------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
ผันทนชาดก
ว่าด้วย การผูกเวรของหมีและไม้ตะคร้อ
พระศาสดา เมื่อเสด็จประทับอยู่ ณ ฝั่งแม่น้าโรหิณี
ทรงพระปรารภการทะเลาะแห่งพระญาติ จึงตรัสพระธรรมเทศนานี้ ดังนี้.
ก็เนื้อความจักมีแจ้งในกุณาลชาดก.
แต่ในครั้งนั้น พระศาสดาตรัสเรียกหมู่ญาติมาตรัสว่า
ขอถวายพระพรมหาบพิตรทั้งหลาย.
ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติ ณ กรุงพาราณสี
ได้มีบ้านช่างไม้อยู่ภายนอกพระนคร.
ในบ้านนั้นมีพราหมณ์ช่างไม้ผู้หนึ่งหาไม้มาจากป่า ทารถเลี้ยงชีวิต
ครั้งนั้นในหิมวันตประเทศ มีต้นตะคร้อใหญ่
มีหมีตัวหนึ่งเที่ยวหากินแล้วมานอนที่โคนไม้ตะคร้อนั้น ครั้นอยู่มาวันหนึ่ง
เมื่อลมระดมพัดกิ่งแห้งกิ่งหนึ่งของต้นตะคร้อหักตกถูกคอหมีนั้น
มันพอกิ่งไม้ทิ่มคอหน่อยก็สะดุ้งตกใจ ลุกขึ้นวิ่งไปหวนกลับมาใหม่
มองดูทางที่วิ่งมาไม่เห็นอะไร คิดว่าสีหะหรือพยัคฆ์อื่นๆ ที่จะติดตามมามิได้มีเลย
ก็แต่เทพยดาที่เกิด ณ ต้นไม้นี้ชะรอยจะไม่ทนดูเราผู้นอน ณ ที่นี้
เอาเถิดคงได้รู้กัน แล้วผูกโกรธในที่มิใช่ฐานะแล้วทุบฉีกต้นไม้
ตะคอกรุกขเทวดาว่า ข้าไม่ได้กินใบต้นไม้ของเจ้าเลยทีเดียว ข้าไม่ได้หักกิ่ง
ทีมฤคอื่นๆ พากันนอนที่ตรงนี้ เจ้าทนได้ ทีข้าละก็เจ้าทนไม่ได้
โทษอะไรของข้าเล่า รอสักสองสามวันต่อไปเถิด
ข้าจักให้เขาขุดต้นไม้ของเจ้าเสียทั้งรากทั้งโคน
แล้วให้ตัดเป็ นท่อนน้อยท่อนใหญ่จงได้ เที่ยวสอดส่องหาบุรุษผู้หนึ่งเรื่อยไป.
3
ครั้งนั้น พราหมณ์ช่างไม้ผู้นั้นพามนุษย์ ๒-๓ คนไปถึงประเทศตรงนั้น
โดยยานน้อยเพื่อต้องการไม้ทารถ จอดยานน้อยไว้ ณ ที่แห่งหนึ่ง
ถือพร้าและขวานเลือกเฟ้ นต้นไม้ ได้เดินไปจนใกล้ไม้ตะคร้อ.
หมีพบเข้าแล้วคิดว่า วันนี้น่าที่เราจะได้เห็นหลังปัจจามิตร ได้มายืนอยู่ที่โคนต้น.
ฝ่ายนายช่างไม้เล่ามองดูทางโน้นทางนี้ ผ่านไปใกล้ต้นตะคร้อ.
หมีนั้นคิดว่า เราต้องบอกเขาทันทีที่เขายังไม่ผ่านไป ดังนี้แล้ว
จึงกล่าวคาถาที่ ๑ ว่า
ท่านเป็นบุรุษถือขวานมาสู่ป่ายืนอยู่ ดูก่อนสหาย เราถามท่าน
ท่านจงบอกแก่เรา ท่านต้องการจะตัดไม้หรือ.
เขาฟังคาของมันแล้วคิดว่า ผู้เจริญน่าอัศจรรย์จริง
มฤคพูดภาษามนุษย์ เราไม่เคยพบมาก่อนจากนี้เลย
เจ้านี่คงจะรู้จักไม้ที่เหมาะแก่การทารถ ต้องถามมันดูก่อน
จึงกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า
เจ้าเป็นหมีเที่ยวอยู่ทั่วไปทั้งป่าทึบและป่าโปร่ง ดูก่อนสหาย เราถามเจ้า
ขอเจ้าจงบอกแก่เรา ไม้อะไรที่จะทากงรถได้มั่นคงดี.
หมีได้ฟังดังนั้นคิดว่า บัดนี้ มโนรถของข้าจักถึงที่สุด ดังนี้แล้ว
จึงกล่าวคาถาที่ ๓ ว่า
ไม้รังก็ไม่มั่นคง ไม้ตะเคียนก็ไม่มั่นคง ไม้หูกวางจะมั่นคงที่ไหนเล่า
แต่ว่าต้นไม้ชื่อว่าต้นตะคร้อนั่นแหละ ทาเป็นกงรถมั่นคงดีนัก.
เขาฟังคาของมันนั้นแล้ว เกิดโสมนัสว่า
วันนี้เป็นวันดีจริงเทียวละที่เราเข้าป่า
สัตว์ดิรัจฉานบอกไม้อันเหมาะที่จะกระทารถแก่เรา โอ ดีนัก
เมื่อจะถามจึงกล่าวคาถาที่ ๔ ว่า
ต้นตะคร้อนั้นใบเป็ นอย่างไร อนึ่ง ลาต้นเป็ นอย่างไร ดูก่อนสหาย
เราถามเจ้า ขอเจ้าจงบอกแก่เรา เราจะรู้จักไม้ตะคร้อได้อย่างไร.
ลาดับนั้น หมีเมื่อจะบอกแก่เขา ได้กล่าวคาถา ๒ คาถาว่า
กิ่งทั้งหลายแห่งต้นไม้ใด ย่อมห้อยลงด้วย ย่อมน้อมลงด้วย แต่ไม่หัก
ต้นไม้นั้นชื่อว่าต้นตะคร้อ ที่เรายืนอยู่ใกล้โคนต้นนี่.
ต้นไม้นี้แหละ ชื่อว่าต้นตะคร้อ
เป็นต้นไม้ควรแก่การงานของท่านทุกอย่าง คือควรทาล้อ ดุม งอน และกงรถ.
หมีนั้นครั้นบอกอย่างนี้แล้วดีใจ เดินเที่ยวไปเสียข้างหนึ่ง
ช่างไม้เล่าก็เตรียมการที่จะตัดต้นไม้. รุกขเทวดาคิดว่า อะไรๆ
เราก็มิได้ให้ตกใส่บนตัวหมีนั้น มันผูกอาฆาตในอันมิใช่เหตุเลย
กาลังจะทาลายวิมานของเราเสีย และตัวเราก็จักพลอยย่อยยับไปด้วย
ต้องล้างผลาญไอ้หมีตัวนี้ด้วยอุบายอย่างหนึ่งให้ได้
4
จาแลงเป็นคนทางานในป่ามาสู่สานักของช่างไม้นั้น แล้วถามว่า บุรุษผู้เจริญ
ท่านได้ต้นไม้ที่เหมาะใจแล้ว ท่านจักตัดต้นไม้นี้ไปทาอะไร.
ตอบว่า จักกระทากงรถ ด้วยต้นไม้นี้ จักเป็นตัวรถก็ได้.
ถามว่า ใครบอกท่าน.
ตอบว่า หมีตัวหนึ่งบอก.
รุกขเทวดาจึงกล่าวว่า ดีละดีแล้วที่หมีนั้นบอก รถจักงามด้วยไม้นี้
แต่เมื่อท่านลอกหนังคอหมีประมาณ ๔ นิ้วแล้วเอาหนังนั้นหุ้มกงรถ
ดุจหุ้มด้วยแผ่นเหล็ก กงรถก็จะแข็งแรง และท่านจักได้ทรัพย์มาก.
ถามว่า ข้าพเจ้าจักได้หนังหมีมาจากไหนเล่า
ตอบว่า ท่านเป็นคนโง่ ต้นไม้นี้ตั้งต้นอยู่ในป่า ไม่หนีหายไปดอกนะ
ท่านจงไปสู่สานักไอ้หมีตัวที่มันบอกต้นไม้นั้น หลอกมันว่า นายเอ๋ย
ข้าพเจ้าจะตัดต้นไม้ที่ท่านชี้ให้ตรงไหนเล่า พามันมา
ขณะที่มันหมดระแวงกาลังยื่นจะงอยปากบอกอยู่ว่า ตัดตรงนี้และตรงนั้น
ท่านจงฟันเสียด้วยขวานใหญ่อันคมให้ถึงสิ้นชีวิต ถลกหนังกินเนื้อที่ดีๆ
แล้วค่อยตัดต้นไม้
เป็นอันรุกขเทวดาจองเวรสาเร็จ.
พระศาสดา เมื่อจะประกาศเนื้อความนั้น จึงตรัสพระคาถาเหล่านี้ว่า
เทวดาผู้สิงอยู่ที่ต้นตะคร้อได้กล่าวดังนี้ว่า ดูก่อนภารทวาชะ
แม้ถ้อยคาของเรามีอยู่ เชิญท่านฟังถ้อยคาของเราบ้าง.
ท่านจงลอกหนังประมาณ ๔ นิ้ว จากคอแห่งหมีตัวนี้
แล้วจงเอาหนังนั้นหุ้มกงรถ เมื่อทาได้อย่างนั้น
กงรถของท่านก็จะพึงเป็นของมั่นคง.
เทวดาผู้สิงอยู่ต้นตะคร้อจองเวรได้สาเร็จ
นาความทุกข์มาให้แก่หมีทั้งหลายที่เกิดแล้ว และยังไม่เกิด ด้วยประการฉะนี้.
ช่างไม้ฟังคาของรุกขเทวดา คิดว่า โอ้โอ วันนี้เป็นวันมงคลของเรา
ฆ่าหมี ตัดต้นไม้ แล้วหลีกไป.
พระศาสดา เมื่อจะประกาศเนื้อความนั้น จึงตรัสคาถาว่า
ไม้ตะคร้อฆ่าหมี และหมีก็ฆ่าไม้ตะคร้อ
ต่างก็ฆ่ากันและกันด้วยการวิวาทกัน ด้วยประการฉะนี้.
ในหมู่มนุษย์ ความวิวาทเกิดขึ้น ณ ที่ใด มนุษย์ทั้งหลายในที่นั้น
ย่อมฟ้ อนราดังนกยูงราแพน เหมือนหมีและไม้ตะคร้อ ฉะนั้น.
เพราะเหตุนั้น อาตมภาพขอถวายพระพรแก่บพิตรทั้งหลาย
ขอความเจริญจงมีแก่บพิตรทั้งหลายเท่าที่มาประชุมกันอยู่ ณ ที่นี้
ขอบพิตรทั้งหลายจงร่วมบันเทิงใจ อย่าวิวาทกัน อย่าเป็นดังหมีและไม้ตะคร้อเลย.
ขอบพิตรทั้งหลายจงศึกษาความสามัคคี ความสามัคคีนั้นแหละ
5
พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงสรรเสริญแล้ว
บุคคลผู้ยินดีในสามัคคีธรรมตั้งอยู่ในธรรม
ย่อมไม่คลาดจากธรรมอันเป็นแดนเกษมจากโยคะ.
พระศาสดาทรงถือเอายอดแห่งเทศนาด้วยพระนิพพาน
ด้วยประการฉะนี้.
พระราชาทั้งหลายทรงสดับธรรมกถาของพระองค์แล้ว
ต่างก็ทรงสมัครสมานกันได้.
พระศาสดาทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประชุมชาดกว่า
ก็แลเทวดาผู้สิงอยู่ในราวป่านั้น ฟังเรื่องราวนั้นในครั้งนั้น
คือ เราตถาคต แล.
จบอรรถกถาผันทนชาดกที่ ๒
-----------------------------------------------------

More Related Content

More from maruay songtanin

๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
maruay songtanin
 
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
maruay songtanin
 
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
maruay songtanin
 
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
maruay songtanin
 
การคิดเชิงวิพากษ์ Critical Thinking.pdf
การคิดเชิงวิพากษ์  Critical Thinking.pdfการคิดเชิงวิพากษ์  Critical Thinking.pdf
การคิดเชิงวิพากษ์ Critical Thinking.pdf
maruay songtanin
 
๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
maruay songtanin
 
๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
 
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
 
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
 
การคิดเชิงวิพากษ์ Critical Thinking.pdf
การคิดเชิงวิพากษ์  Critical Thinking.pdfการคิดเชิงวิพากษ์  Critical Thinking.pdf
การคิดเชิงวิพากษ์ Critical Thinking.pdf
 
๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 
๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 

475 ผันทนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 ผันทนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ ๒. ผันทนชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๗๕) ว่าด้วยการผูกเวรของหมีและไม้สะคร้อ (หมีได้บอกช่างไม้ว่า) [๑๔] ท่านผู้เดียวถือขวานเข้ามาถึงป่ายืนอยู่ เพื่อน เราถามแล้วท่านจงบอก ท่านต้องการจะตัดไม้หรือ (ช่างไม้ได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวว่า) [๑๕] เพื่อน เจ้าเป็ นหมีเที่ยวไปยังป่าน้อยใหญ่ ทั้งป่าทึบและป่าโปร่ง เราถามแล้ว เจ้าจงบอก ไม้อะไรถึงจะแข็งแกร่งสาหรับกงรถ (หมีกล่าวว่า) [๑๖] ต้นรังก็ดี ต้นตะเคียนก็ดี ต้นหูกวางก็ดี ต้นสีเสียดก็ดี ที่ไหนจะแข็งแกร่ง แต่ต้นไม้ที่มีนามว่าสะคร้อนั่นซิ เป็นไม้ที่แข็งแกร่งสาหรับกงรถ (ช่างไม้ถามว่า) [๑๗] ก็ต้นสะคร้อนั้น ใบก็ตาม ลาต้นก็ตามเป็นเช่นไร เพื่อน เราถามแล้ว ท่านจงตอบ เราจะรู้จักต้นสะคร้อได้อย่างไร (หมีบอกว่า) [๑๘] ต้นไม้ใดที่กิ่งห้อยน้อมลงมาแต่ไม่หัก ข้าพเจ้ายืนอยู่ที่โคนต้นไม้ใด ต้นไม้นั้นมีนามว่าสะคร้อ [๑๙] ต้นสะคร้อนี้จักเป็นไม้ที่สมควร แก่กิจการของท่านทุกอย่าง คือ ทากาก็ได้ ล้อก็ได้ ดุมก็ได้ งอนไถก็ได้ กงก็ได้ ตัวรถก็ได้ (พระศาสดาทรงประกาศเรื่องนั้นว่า) [๒๐] ทันใดนั้น รุกขเทวดาผู้สิงสถิตอยู่ที่ต้นสะคร้อ ก็ได้กล่าวอย่างนี้ว่า ถึงข้าพเจ้าก็มีคาที่จะพูด ภารทวาชะ โปรดฟังคาของข้าพเจ้า [๒๑] ท่านจงถลกหนังจากคอหมี ๔ องคุลีแล้วใช้หุ้มกงรถ เมื่อทาเช่นนี้ กงรถจะพึงมั่นคงยิ่งขึ้น [๒๒] ถึงรุกขเทวดาผู้สิงสถิตอยู่ที่ต้นสะคร้อ ได้จองเวรแล้วเพียงนั้น ได้นาความทุกข์มาให้แก่พวกหมี ทั้งที่เกิดแล้วและยังไม่เกิด ด้วยประการฉะนี้ [๒๓] ด้วยประการดังกล่าวมาฉะนี้ ไม้สะคร้อยุให้คนฆ่าหมี ส่วนหมียุให้คนโค่นต้นสะคร้อ เพราะการวิวาทกันและกัน ต่างคนต่างยุให้ฆ่ากันและกัน คือ
  • 2. 2 [๒๔] พวกมนุษย์เกิดการทะเลาะกันขึ้นที่ใด ที่นั้นมนุษย์ทั้งหลายก็เปิดเผยความลับเหมือนนกยูงราแพน และเหมือนหมีกับไม้สะคร้อเหล่านั้น [๒๕] เพราะเหตุนั้น ตถาคตขอถวายพระพรมหาบพิตรทั้งหลาย ขอมหาบพิตรทั้งหลายทรงพระเจริญ ตราบเท่าที่ทรงสมาคมกัน ณ สถานที่นี้ ขอทรงรื่นเริงบันเทิงพระทัย อย่าทรงวิวาทกัน อย่าทรงเป็นเหมือนหมีกับไม้สะคร้อเลย [๒๖] ขอมหาบพิตรทั้งหลายทรงสาเหนียกถึงความสามัคคีนั้น ที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงสรรเสริญแล้ว บุคคลผู้ยินดีแล้วในความสามัคคี ดารงอยู่ในธรรม ย่อมไม่เสื่อมจากนิพพานอันเป็ นแดนเกษมจากโยคะ ผันทนชาดกที่ ๒ จบ ------------------------ คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา ผันทนชาดก ว่าด้วย การผูกเวรของหมีและไม้ตะคร้อ พระศาสดา เมื่อเสด็จประทับอยู่ ณ ฝั่งแม่น้าโรหิณี ทรงพระปรารภการทะเลาะแห่งพระญาติ จึงตรัสพระธรรมเทศนานี้ ดังนี้. ก็เนื้อความจักมีแจ้งในกุณาลชาดก. แต่ในครั้งนั้น พระศาสดาตรัสเรียกหมู่ญาติมาตรัสว่า ขอถวายพระพรมหาบพิตรทั้งหลาย. ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติ ณ กรุงพาราณสี ได้มีบ้านช่างไม้อยู่ภายนอกพระนคร. ในบ้านนั้นมีพราหมณ์ช่างไม้ผู้หนึ่งหาไม้มาจากป่า ทารถเลี้ยงชีวิต ครั้งนั้นในหิมวันตประเทศ มีต้นตะคร้อใหญ่ มีหมีตัวหนึ่งเที่ยวหากินแล้วมานอนที่โคนไม้ตะคร้อนั้น ครั้นอยู่มาวันหนึ่ง เมื่อลมระดมพัดกิ่งแห้งกิ่งหนึ่งของต้นตะคร้อหักตกถูกคอหมีนั้น มันพอกิ่งไม้ทิ่มคอหน่อยก็สะดุ้งตกใจ ลุกขึ้นวิ่งไปหวนกลับมาใหม่ มองดูทางที่วิ่งมาไม่เห็นอะไร คิดว่าสีหะหรือพยัคฆ์อื่นๆ ที่จะติดตามมามิได้มีเลย ก็แต่เทพยดาที่เกิด ณ ต้นไม้นี้ชะรอยจะไม่ทนดูเราผู้นอน ณ ที่นี้ เอาเถิดคงได้รู้กัน แล้วผูกโกรธในที่มิใช่ฐานะแล้วทุบฉีกต้นไม้ ตะคอกรุกขเทวดาว่า ข้าไม่ได้กินใบต้นไม้ของเจ้าเลยทีเดียว ข้าไม่ได้หักกิ่ง ทีมฤคอื่นๆ พากันนอนที่ตรงนี้ เจ้าทนได้ ทีข้าละก็เจ้าทนไม่ได้ โทษอะไรของข้าเล่า รอสักสองสามวันต่อไปเถิด ข้าจักให้เขาขุดต้นไม้ของเจ้าเสียทั้งรากทั้งโคน แล้วให้ตัดเป็ นท่อนน้อยท่อนใหญ่จงได้ เที่ยวสอดส่องหาบุรุษผู้หนึ่งเรื่อยไป.
  • 3. 3 ครั้งนั้น พราหมณ์ช่างไม้ผู้นั้นพามนุษย์ ๒-๓ คนไปถึงประเทศตรงนั้น โดยยานน้อยเพื่อต้องการไม้ทารถ จอดยานน้อยไว้ ณ ที่แห่งหนึ่ง ถือพร้าและขวานเลือกเฟ้ นต้นไม้ ได้เดินไปจนใกล้ไม้ตะคร้อ. หมีพบเข้าแล้วคิดว่า วันนี้น่าที่เราจะได้เห็นหลังปัจจามิตร ได้มายืนอยู่ที่โคนต้น. ฝ่ายนายช่างไม้เล่ามองดูทางโน้นทางนี้ ผ่านไปใกล้ต้นตะคร้อ. หมีนั้นคิดว่า เราต้องบอกเขาทันทีที่เขายังไม่ผ่านไป ดังนี้แล้ว จึงกล่าวคาถาที่ ๑ ว่า ท่านเป็นบุรุษถือขวานมาสู่ป่ายืนอยู่ ดูก่อนสหาย เราถามท่าน ท่านจงบอกแก่เรา ท่านต้องการจะตัดไม้หรือ. เขาฟังคาของมันแล้วคิดว่า ผู้เจริญน่าอัศจรรย์จริง มฤคพูดภาษามนุษย์ เราไม่เคยพบมาก่อนจากนี้เลย เจ้านี่คงจะรู้จักไม้ที่เหมาะแก่การทารถ ต้องถามมันดูก่อน จึงกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า เจ้าเป็นหมีเที่ยวอยู่ทั่วไปทั้งป่าทึบและป่าโปร่ง ดูก่อนสหาย เราถามเจ้า ขอเจ้าจงบอกแก่เรา ไม้อะไรที่จะทากงรถได้มั่นคงดี. หมีได้ฟังดังนั้นคิดว่า บัดนี้ มโนรถของข้าจักถึงที่สุด ดังนี้แล้ว จึงกล่าวคาถาที่ ๓ ว่า ไม้รังก็ไม่มั่นคง ไม้ตะเคียนก็ไม่มั่นคง ไม้หูกวางจะมั่นคงที่ไหนเล่า แต่ว่าต้นไม้ชื่อว่าต้นตะคร้อนั่นแหละ ทาเป็นกงรถมั่นคงดีนัก. เขาฟังคาของมันนั้นแล้ว เกิดโสมนัสว่า วันนี้เป็นวันดีจริงเทียวละที่เราเข้าป่า สัตว์ดิรัจฉานบอกไม้อันเหมาะที่จะกระทารถแก่เรา โอ ดีนัก เมื่อจะถามจึงกล่าวคาถาที่ ๔ ว่า ต้นตะคร้อนั้นใบเป็ นอย่างไร อนึ่ง ลาต้นเป็ นอย่างไร ดูก่อนสหาย เราถามเจ้า ขอเจ้าจงบอกแก่เรา เราจะรู้จักไม้ตะคร้อได้อย่างไร. ลาดับนั้น หมีเมื่อจะบอกแก่เขา ได้กล่าวคาถา ๒ คาถาว่า กิ่งทั้งหลายแห่งต้นไม้ใด ย่อมห้อยลงด้วย ย่อมน้อมลงด้วย แต่ไม่หัก ต้นไม้นั้นชื่อว่าต้นตะคร้อ ที่เรายืนอยู่ใกล้โคนต้นนี่. ต้นไม้นี้แหละ ชื่อว่าต้นตะคร้อ เป็นต้นไม้ควรแก่การงานของท่านทุกอย่าง คือควรทาล้อ ดุม งอน และกงรถ. หมีนั้นครั้นบอกอย่างนี้แล้วดีใจ เดินเที่ยวไปเสียข้างหนึ่ง ช่างไม้เล่าก็เตรียมการที่จะตัดต้นไม้. รุกขเทวดาคิดว่า อะไรๆ เราก็มิได้ให้ตกใส่บนตัวหมีนั้น มันผูกอาฆาตในอันมิใช่เหตุเลย กาลังจะทาลายวิมานของเราเสีย และตัวเราก็จักพลอยย่อยยับไปด้วย ต้องล้างผลาญไอ้หมีตัวนี้ด้วยอุบายอย่างหนึ่งให้ได้
  • 4. 4 จาแลงเป็นคนทางานในป่ามาสู่สานักของช่างไม้นั้น แล้วถามว่า บุรุษผู้เจริญ ท่านได้ต้นไม้ที่เหมาะใจแล้ว ท่านจักตัดต้นไม้นี้ไปทาอะไร. ตอบว่า จักกระทากงรถ ด้วยต้นไม้นี้ จักเป็นตัวรถก็ได้. ถามว่า ใครบอกท่าน. ตอบว่า หมีตัวหนึ่งบอก. รุกขเทวดาจึงกล่าวว่า ดีละดีแล้วที่หมีนั้นบอก รถจักงามด้วยไม้นี้ แต่เมื่อท่านลอกหนังคอหมีประมาณ ๔ นิ้วแล้วเอาหนังนั้นหุ้มกงรถ ดุจหุ้มด้วยแผ่นเหล็ก กงรถก็จะแข็งแรง และท่านจักได้ทรัพย์มาก. ถามว่า ข้าพเจ้าจักได้หนังหมีมาจากไหนเล่า ตอบว่า ท่านเป็นคนโง่ ต้นไม้นี้ตั้งต้นอยู่ในป่า ไม่หนีหายไปดอกนะ ท่านจงไปสู่สานักไอ้หมีตัวที่มันบอกต้นไม้นั้น หลอกมันว่า นายเอ๋ย ข้าพเจ้าจะตัดต้นไม้ที่ท่านชี้ให้ตรงไหนเล่า พามันมา ขณะที่มันหมดระแวงกาลังยื่นจะงอยปากบอกอยู่ว่า ตัดตรงนี้และตรงนั้น ท่านจงฟันเสียด้วยขวานใหญ่อันคมให้ถึงสิ้นชีวิต ถลกหนังกินเนื้อที่ดีๆ แล้วค่อยตัดต้นไม้ เป็นอันรุกขเทวดาจองเวรสาเร็จ. พระศาสดา เมื่อจะประกาศเนื้อความนั้น จึงตรัสพระคาถาเหล่านี้ว่า เทวดาผู้สิงอยู่ที่ต้นตะคร้อได้กล่าวดังนี้ว่า ดูก่อนภารทวาชะ แม้ถ้อยคาของเรามีอยู่ เชิญท่านฟังถ้อยคาของเราบ้าง. ท่านจงลอกหนังประมาณ ๔ นิ้ว จากคอแห่งหมีตัวนี้ แล้วจงเอาหนังนั้นหุ้มกงรถ เมื่อทาได้อย่างนั้น กงรถของท่านก็จะพึงเป็นของมั่นคง. เทวดาผู้สิงอยู่ต้นตะคร้อจองเวรได้สาเร็จ นาความทุกข์มาให้แก่หมีทั้งหลายที่เกิดแล้ว และยังไม่เกิด ด้วยประการฉะนี้. ช่างไม้ฟังคาของรุกขเทวดา คิดว่า โอ้โอ วันนี้เป็นวันมงคลของเรา ฆ่าหมี ตัดต้นไม้ แล้วหลีกไป. พระศาสดา เมื่อจะประกาศเนื้อความนั้น จึงตรัสคาถาว่า ไม้ตะคร้อฆ่าหมี และหมีก็ฆ่าไม้ตะคร้อ ต่างก็ฆ่ากันและกันด้วยการวิวาทกัน ด้วยประการฉะนี้. ในหมู่มนุษย์ ความวิวาทเกิดขึ้น ณ ที่ใด มนุษย์ทั้งหลายในที่นั้น ย่อมฟ้ อนราดังนกยูงราแพน เหมือนหมีและไม้ตะคร้อ ฉะนั้น. เพราะเหตุนั้น อาตมภาพขอถวายพระพรแก่บพิตรทั้งหลาย ขอความเจริญจงมีแก่บพิตรทั้งหลายเท่าที่มาประชุมกันอยู่ ณ ที่นี้ ขอบพิตรทั้งหลายจงร่วมบันเทิงใจ อย่าวิวาทกัน อย่าเป็นดังหมีและไม้ตะคร้อเลย. ขอบพิตรทั้งหลายจงศึกษาความสามัคคี ความสามัคคีนั้นแหละ
  • 5. 5 พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงสรรเสริญแล้ว บุคคลผู้ยินดีในสามัคคีธรรมตั้งอยู่ในธรรม ย่อมไม่คลาดจากธรรมอันเป็นแดนเกษมจากโยคะ. พระศาสดาทรงถือเอายอดแห่งเทศนาด้วยพระนิพพาน ด้วยประการฉะนี้. พระราชาทั้งหลายทรงสดับธรรมกถาของพระองค์แล้ว ต่างก็ทรงสมัครสมานกันได้. พระศาสดาทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประชุมชาดกว่า ก็แลเทวดาผู้สิงอยู่ในราวป่านั้น ฟังเรื่องราวนั้นในครั้งนั้น คือ เราตถาคต แล. จบอรรถกถาผันทนชาดกที่ ๒ -----------------------------------------------------