SlideShare a Scribd company logo
9
พฤษภาคม 2560
1
สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) เป็นหน่วยงานภายใต้ สวทช. ดาเนินงานให้บริการ
เทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรแบบครบวงจร ทางานร่วมกับหน่วยงานพันธมิตรทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อให้เกิด “การ
ปฏิรูปภาคเกษตรด้วยเทคโนโลยีและพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน ลดความเหลื่อมล้า เชื่อมโยงสู่เศรษฐกิจ
ชีวภาพ” โดยนาผลงานวิจัยจาก สวทช. และพันธมิตรสู่การใช้งานจริงในพื้นที่ ผ่านการถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนอย่าง
ทั่วถึง พร้อมทั้งพัฒนาบุคลากรด้านการเกษตรและชุมชนให้ก้าวทันเทคโนโลยี ตลอดจนเป็นแหล่งความรู้ที่เข้าถึงได้ง่ายและ
ตอบโจทย์ความต้องการของเกษตรกรและชุมชน
มื่อวันที่ 2-7 พฤษภาคม 2560 ผู้แทนของสถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ได้เข้าร่วม
เป็นคณะประชุมหารือเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเห็ด ณ เมืองกู่เทียน มณฑลฝูเจี้ยน สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยความ
ร่วมมือกับมหาวิทยาลัย Fujian Agriculture and Forestry University (FAFU) คณะผู้ร่วมประชุมได้เยี่ยมชมหน่วย
งานวิจัยด้านเห็ด โรงงานอุตสาหกรรมเพาะเลี้ยงเห็ด และฟาร์มเห็ดของเกษตรกร ประเทศจีนมีความก้าวหน้าด้าน
เทคโนโลยีการเพาะเห็ดอย่างมาก มีการบูรณาการร่วมกันอย่างจริงจัง ทั้งสถาบันวิจัยฯ ของรัฐบาล บริษัทเอกชน และ
เกษตรกร พร้อมทั้งได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญของประเทศจีน จากการศึกษาดูงานครั้งนี้จะขยายสู่
การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเห็ดในประเทศไทย โดยคณะผู้เข้าร่วมประชุมจากไทยได้จัดตั้งคณะทางานเพื่อ
ขับเคลื่อนการบริหารจัดการเห็ดครบวงจร โดยสร้างความร่วมมือกับประเทศจีนและร่วมมือกับหน่วยงานในประเทศ
ไทย โดยกาหนดแผนการสนับสนุนชุดโครงการวิจัยและนวัติกรรมเห็ด ปี 2560-2564 มีเป้าหมายสร้างมูลค่าเพิ่มจาก
เห็ด ชุมชนมีรายได้ที่ยั่งยืน และสร้างความสมดุลระหว่างเห็ดป่ากับระบบนิเวศป่าไม้ พร้อมทั้งวางแผนถ่ายทอด
เทคโนโลยีและความรู้ให้กับเกษตรกรหรือชุมชนต่อไป
เ
สท. สานต่อกิจกรรมปีที่ 2 “โครงการผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์รุ่นใหม่”
เมื่อวันที่ 24-27 พฤษภาคมที่ผ่านมา สท. ได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยแม่
โจ้ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่ และบริษัทผู้ผลิตเมล็ด
พันธุ์ จัดเวทีสรุปบทเรียนการพัฒนาทักษะผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์รุ่นใหม่ใน
ปีแรก ซึ่งมีผู้เข้าร่วมโครงการ 27 คน พร้อมทั้งจัดอบรมเสริมทักษะ
การทาธุรกิจด้วยแนวคิด Business Model Canvas ตลอดจนถ่ายทอด
เทคโนโลยีการวางระบบน้าและติตตั้งระบบควบคุมน้าด้วยเซ็นเซอร์
ของ สวทช. รวมทั้งเรียนรู้แนวคิดและประสบการณ์จากผู้ประกอบ-
การรุ่นใหม่ที่ประสบความสาเร็จในการทาธุรกิจ
จากสถานการณ์หมอกควันที่เกิดจากการเผาใน
เขตภาคเหนือ เกิดวิกฤตมลพิษสิ่งแวดล้อมที่ส่งผล
กระทบต่อสุขภาพอนามัยและชีวิตประชาชน สาเหตุ
หลักเกิดจากการเผาในพื้นที่เกษตรและพื้นที่ป่าในช่วง
เดือนกุมภาพันธ์-เมษายนของทุกปี จากการวัดค่าฝุ่น
ละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM 10) เกินค่า
มาตรฐานที่ 120 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร เกือบ
ทุกจังหวัดในภาคเหนือ และพบค่าสูงสุดเฉลี่ยถึง 383
ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (ส่วนควบคุมไฟป่า สานัก
ป้องกันปราบปรามและควบคุมไฟป่า)
การนาเศษวัสดุเหลือทิ้งมาทาประโยชน์ในรูปแบบ
ต่างๆ เช่น การทาปุ๋ยหมัก เป็นอีกแนวทางที่จะลดการ
เผาที่ก่อให้เกิดมลภาวะได้
การทาปุ๋ยหมัก
การทาปุ๋ยหมักด้วยระบบการเติมอากาศ
การทาปุ๋ยหมักด้วยแบบไม่พลิกกลับกอง
9
พฤษภาคม 2560
เชือจุลินทรีย์เข้มข้น ช่วยเร่งการย่อยสลาย :
ทางเลือกใหม่แก้ไขปัญหาหมอกควัน ตอนที่ 1
2
ที่มา : การผลิตปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินจากเกษตรอินทรีย์
จากกระบวนการผลิตปุ๋ยจะพบว่า หลังจากปรับค่า
C:N ratio พบว่ากระบวนการทาให้ย่อยสลายก่อนเป็น
ปุ๋ยหมักนั้น ใช้ระยะเวลานานพอควร
2
สวทช. ภาคเหนือได้ร่วมกับคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ คิดค้นวิธีการลดระยะเวลาการ
ย่อยสลายเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร ด้วยการ
ใช้จุลินทรีย์กลุ่มที่มีความสามารถย่อยสลายเส้นใย
จากเซลลูโลสของพืช ที่มีอัตราความเข้มข้นจุลินทรีย์
109 ต่อ 1,000 ml โดยปรับความชื้นที่ 60% และค่า
C:N ratio ที่ 60% ซึ่งสามารถย่อยสลายกองวัสดุได้
เร็วขึ้นกว่าเดิมได้ 40% ของระยะเวลาการทาปุ๋ย
หมัก อีกทั้งเมื่อผ่านการย่อยสลายแล้ว วัสดุที่ได้มี
ธาตุอาหารพืชและสามารถช่วยควบคุมและป้องกัน
โรคพืชได้
การน้าไปใช้ประโยชน์ : เชื้อจุลินทรีย์ที่คัดได้จาก
ห้องปฏิบัติการ ที่มีความเข้มข้น 109 ต่อ 1,000 ml.
การขยายและน้าไปใช้ประโยชน์
แหล่งข้อมูล :
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐปน ชื่นบาล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิราภรณ์ ชื่นบาล
รองศาสตราจารย์ ดร.อานัฐ ตันโช
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ติดตามเรื่องเล่า เชือจุลินทรีย์เข้มข้น ช่วยเร่งการ
ย่อยสลาย ตอนที่ 2 ในเดือนกรกฎาคม2560
3
ผู้เรียบเรียง นายเรืองฤทธิ์ ริณพัฒน์
กิจกรรมการอบรมถ่ายทอดความรู้และติดตามการพัฒนาปรับปรุงด้านสุขลักษณะที่ดีในการ
ท้างาน ให้แก่พนักงานและเจ้าหน้าที่ของสถานีวิจัยโครงการหลวงอินทนนท์ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงขุนวาง และ
สถานีเกษตรหลวงปางดะ เป็นกิจกรรมหนึ่งภายใต้ โครงการถ่ายทอดความรู้และติดตามผลการด้าเนินงาน
ของสถานีวิจัยโครงการหลวง การอบรมเริ่มจากการอธิบายถึงความสาคัญของการมีระบบมาตรฐานในการ
ทางาน ซึ่งจะสามารถยกระดับมาตรฐานที่ดีให้แก่สถานี/ศูนย์ฯ ได้ จากนั้นจึงให้ความรู้พื้นฐานในเรื่อง 5ส.
ประกอบด้วย สะสาง สะอาด สะดวก สุขลักษณะ และสร้างนิสัย ระบบ 5ส. ยังเป็นพื้นฐานในการสร้างระบบ
มาตรฐานที่สูงขึ้นไป สามารถดาเนินกิจกรรมได้ทันที และสามารถนาไปปรับใช้กับที่พัก/ครอบครัวของพนักงานได้
จากนั้นได้อบรมเรื่อง หลักสุขลักษณะที่ดีในการปฏิบัติงาน โดยให้ความรู้ถึงอันตรายที่เกิดขึ้นกับ
อาหาร 3 ลักษณะ ได้แก่ อันตรายทางกายภาพ ทางเคมี และทางจุลินทรีย์/ หนอนพยาธิ อธิบายถึงแหล่งที่มาของ
เชื้อโรค และหัวใจ 3 ประการ ในการผลิตอาหารให้ปลอดภัย ได้แก่ ลด ฆ่า คุม เพื่อลดอันตรายหรือป้องกัน
อันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้ คุณลักษณะของคุณภาพอาหาร ประกอบด้วย รสชาติดี สะอาด ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ
มีความสม่าเสมอ และเป็นไปตามกฏหมาย รวมถึงความสาคัญของปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพอาหาร ซึ่งความรู้ที่ได้
จากการอบรมนี้จะเป็นพื้นฐานสาคัญในการสร้างระบบมาตรฐานที่ดีในการปฏิบัติงาน และต่อยอดการขอรับรอง
มาตรฐาน GMP ได้
หลังจากการอบรมให้ความรู้แล้วจะตรวจเยี่ยมในพื้นที่ปฏิบัติงาน เช่น อาคารสานักงาน โรงครัว
โรงอาหาร อาคารคัดบรรจุ รวมทั้งส่วนงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม 5ส. และหลัก GHP/GMP เพื่อให้คาแนะนา
ปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง และจัดทาเป็นรายงานเพื่อติดตามการปรับปรุงพัฒนาต่อไป
วันที่ 4 พ.ค. 60 สถานีฯอินทนนท์ วันที่ 5 พ.ค. 60 ศูนย์ฯขุนวาง วันที่ 6 พ.ค. 60 สถานีฯปางดะ
9
พฤษภาคม 2560
4
กลุ่มมือนารอ เป็นการวมตัวของเกษตรกรผู้เลี้ยงโคในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส มีสมาชิก
จัดตั้ง 7 คน โดยมีแนวคิดปรับปรุงและพัฒนาการเลี้ยงโคในพื้นที่ให้ได้มาตรฐาน กลุ่มฯ ได้แสวงหาความรู้
ด้านวิชาการและประสานงานกับหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา
ตลอดจนสร้างเครือข่ายเกษตรกรผู้เลี้ยงและผู้ประกอบการด้านโคทั้งในประเทศและต่างประเทศ
ปัจจุบันกลุ่มมือนารอได้จดทะเบียนสหกรณ์อย่างเป็นทางการในชื่อ สหกรณ์โคเนือมือ-นารอ
จ้ากัด มีสมาชิกทั้งหมด 250 คน ครอบคลุมทั้ง 13 อาเภอของจังหวัดนราธิวาส มีคณะกรรมการ
บริหารงานสหกรณ์ 13 คน บริหารงานในรูปแบบการจัดการหุ้นส่วน และมีการปันผลกาไร สานักงาน
ตั้งอยู่ที่ตลาดกลางการเกษตรเพื่อการส่งออกจังหวัดภาคใต้ชายแดน ตาบลละหาร อ.ยี่งอ จ.นราธิวาส
เป็นศูนย์ประสานงานและจุดจาหน่ายอาหารราคาถูกให้เกษตรกร
เมื่อวันที่ 22 - 23 พฤษภาคม 2560 สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.)
โดยฝ่ายพัฒนาพื้นที่เพื่อเกษตรและชุมชน (ABD) ได้เข้าร่วมประชุมกับสถาบันบ่มเพาะธุรกิจธนาคารเพื่อ
การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สนับสนุนการรวมกลุ่มสมาชิกจัดตั้งสหกรณ์โคเนื้อมือนารอ และการ
นาเอา วทน. ไปพัฒนาศักยภาพให้สมาชิกด้านการผลิตอาหารโคเนื้อระยะต่างๆ การตรวจสอบปริมาณ
ไขมันแทรกในเนื้อโค พัฒนาสายพันธุ์โคเนื้อที่สามารถเลี้ยงในพื้นที่ได้ดี เพื่อยกระดับมาตรฐานเนื้อโค ลด
ต้นทุนการเลี้ยง พัฒนาสินค้าแปรรูปให้มีคุณภาพได้มาตรฐานสามารถแข่งขันในตลาดและการส่งออก
ตลอดจนเชื่อมโยงการทางานกับหน่วยงานในพื้นที่ ได้แก่ สภาเกษตรกรจังหวัดนราธิวาส ปศุสัตว์จังหวัด
มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ศูนย์วิจัยอาหารสัตว์จังหวัดนราธิวาส สหกรณ์จังหวัดนราธิวาส
กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
กลุ่มมือนารอมีความมุ่งหวังว่า หากแผนงานของกลุ่มมือนารอที่ใช้ชื่อว่า “มือนารอ 60.โมเดล”
ได้รับการผลักดันและส่งเสริมให้เกิดความสาเร็จและเป็นรูปธรรมได้ จะเกิดประโยชน์สูงสุดแก่เกษตรกรใน
พื้นที่ และตรงตามเจตนารมณ์ของกลุ่มในเรื่องของการ “สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ ที่มั่นคง
และยั่งยืน”
การติดตามการจัดตั้งและการดาเนินงานกลุ่มสหกรณ์โคเนื้อมือนารอ จากัด
5
ฝ่ายยุทธศาสตร์และสร้างพันธมิตรร่วม
ประชุมเชิงปฏิบัติการ “การจัดทาแผนปฏิบัติการ วทน.
สู่ภูมิภาค ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-2564: ภาคกลาง
และภาคตะวันออก” วันที่ 21-23 พฤษภาคม 2560
ณ โรงแรมริชมอนด์ จ.นนทบุรี จัดโดยสานักส่งเสริม
และถ่ายทอดเทคโนโลยี สานักงานปลัดกระทรวง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทา
แผนปฏิบัติการตามอัตลักษณ์ที่โดดเด่นกลุ่มจังหวัด
ภาคกลาง ได้แก่ กลุ่มจังหวัดภาคกลางบน 1 (การท่อง
เที่ยวเชิงมรดกประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม) กลุ่ม
จังหวัดภาคกลางบน 2 (ครัวสุขภาพเพื่อมหานคร
“ผักปลอดภัยและกล้วยน้าว้า”) กลุ่มจังหวัดภาคกลาง
ตอนกลาง (มะม่วง สมุนไพร) กลุ่มจังหวัดภาคกลาง
ล่าง 1 (เมืองแห่งนวัตกรรมอาหาร) กลุ่มจังหวัดภาค
กลางล่าง 2 (การท่องเที่ยวเชิงนิเวศและอาหาร)
การประชุมกลุ่มย่อยเสนอความคิดเห็นตามกลุ่ม
จังหวัดเพื่อเสนอแผนงาน/โครงการ/ห่วงโซ่คุณค่า และ
ข้อเสนอโครงการตามกลุ่มจังหวัด แต่ละกลุ่มมี
เครือข่ายคลินิกเทคโนโลยีนาเสนอโครงการภายใต้
แผนปฏิบัติงานกลุ่มจังหวัด
ฝ่ายยุทธศาสตร์และสร้างพันธมิตรได้ร่วมประชุม
กลุ่มย่อยจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 (สระบุรี
พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี และนนทบุรี) ผลการ
ประชุมได้แผนปฏิบัติงานตามห่วงโซ่คุณค่า โดย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เสนอ
โครงการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์พันธุ์บัว
และโครงการใช้ วทน. แปรรูปผักตบชวาในพื้นที่
จ.ปทุมธานี โครงการดังกล่าวเกี่ยวข้องกับงานบูรณา
การ วทน. เพื่อการพัฒนาจังหวัดปทุมธานีที่ สวทช.
ได้ร่วมดาเนินงาน ผลจากการประชุมนี้ สวทช. จะ
นาไปบูรณาการทางานกับทาง จ.ปทุมธานี ต่อไป
ฝ่ายยุทธศาสตร์และสร้างพันธมิตรร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ “การจัดท้าแผนปฏิบัติการ
วทน. ส่วนภูมิภาค : กลุ่มภาคกลางและภาคตะวันออก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-2564”
9
พฤษภาคม 2560
6
ภาพบรรยากาศการประชุมเชิงปฏิบัติการ
“การจัดท้าแผนปฏิบัติการ วทน. สู่ภูมิภาค
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-2564 : ภาคกลาง
และภาคตะวันออก
ฝ่ายยุทธศาสตร์และสร้างพันธมิตรร่วมประชุม เรื่อง
“เกษตรไทย 4.0…ทบทวนจุดคิด พิชิตจุดต่าง”
เมื่อวันที่ 25’’’พฤษภาคม ที่ผ่านมา ณ ห้อง 314 ตึก
กสิกรรม กรมวิชาการเกษตร มีวิทยากรจากหน่วย
งานภาครัฐและเอกชนมาให้ความรู้ในงานสัมมนาใน
ภาคเช้า ได้แก่
• ดร.นิพนธ์ พัวพงษ์สกร จากสถาบันวิจัยเพื่อการ
พัฒนาประเทศไทย (TDRI)
• รศ.ดร.เจษฏา เด่นดวงบริพันธ์ จากคณะวิทยา-
ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
• นางสาวนฤทัย วระสถิตย์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการ
ผลิตพืช จากกรมวิชาการเกษตร
• นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายกสมาคมการ
ค้าเมล็ดพันธุ์ไทย
“เกษตรไทย 4.0 ทบทวนจุดคิด พิชิตจุดต่าง”
7
ดร.นิพนธ์ฯ บรรยาย เรื่อง “เกษตร 4.0 คืออะไร และจะต้องท้าอย่างไรเพื่อไปให้ถึง 4.0”
ความหมายเกษตรกรรมยุค 4.0 ของสหภาพยุโรปเป็นระบบการผลิตแบบเกษตรแม่นยา (Precision Agriculture) ให้
ผลผลิตสูง ลดเวลา ลดการใช้พลังงาน และลดต้นทุนการผลิต โดยใช้เทคโนโลยีช่วยตรวจวัดและช่วยเกษตรกร
ตัดสินใจในการผลิต ซึ่งแผนยุทธศาสตร์ 20 ปีและนโยบายเกษตร 4.0 ของรัฐบาลมีเป้าหมายให้เกษตรกรใช้
เทคโนโลยีในการผลิตมากขึ้น แต่มีจุดอ่อน คือ เป็นนโยบายรวมศูนย์ ทาให้ขาดการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่ใน
ท้องถิ่น วิธีการเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาได้ทุกพื้นที่ภายใต้ทรัพยากรที่มีจากัด ถูกใช้ภายใต้ยุทธศาสตร์
หลากหลาย ไม่จัดลาดับความสาคัญของยุทธศาสตร์ ส่งผลให้การแก้ไขปัญหาเกษตรกรให้พ้นกับดักความยากจน
ทาได้ยาก แนวทางแก้ไขต้องจัดลาดับความสาคัญของยุทธศาสตร์และให้เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการกาหนด
นโยบายมากขึ้น ทิศทางของยุทธศาสตร์ควรขับเคลื่อนแบบอิงอุปสงค์ของตลาด แทนที่การขับเคลื่อนแบบอิง
อุปทานของผู้ผลิต การขับเคลื่อนภาคเกษตรยุค 4.0 ต้องขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีสาคัญ คือ เทคโนโลยีชีวภาพ
(ประกอบด้วยเทคโนโลยีจีโนม เทคโนโลยีชุดตรวจสอบ เทคโนโลยีวัคซีน) และเทคโนโลยีดิจิทัล (ประกอบด้วย
เทคโนโลยีจัดเก็บข้อมูลผ่านเซ็นเซอร์ เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง และเทคโนโลยีประมวลผลข้อมูล)
เทคโนโลยีทั้ง 2 ชนิดมีหน่วยงานราชการเป็นผู้วิจัยและได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาล ภาคเอกชนจะเป็นผู้วิจัย
ต่อยอดในเชิงพาณิชย์ ซึ่งงานวิจัยที่เกิดขึ้นควรเริ่มจากการวิจัยเชิงเศรษฐศาสตร์เพื่อศึกษาและจัดลาดับ
ความสาคัญของปัญหาและสนับสนุนการวิจัย มีระบบติดตามและประเมินผลการวิจัยภายใต้ระบบการบริหาร
คลัสเตอร์และโปรแกรมที่เข้มแข็ง ตลอดจนรัฐบาลต้องสนับสนุนภาคเอกชนหรือผู้ประกอบการรุ่นใหม่ให้สามารถ
นาผลงานวิจัยไปวิจัยและพัฒนาต่อยอดในเชิงพาณิชย์สนับสนุนระบบการผลิตของเกษตรกรได้
รศ.ดร.เจษฎาฯ บรรยาย เรื่อง “เกษตร 4.0
การสร้างนวัตกรรมเทคโนโลยี (InnovativeTech-
nology) เพื่อการผลิตพืช” เกษตร 4.0 เป็นยุคแห่ง
การนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในการผลิต
เพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดที่เพิ่มขึ้น
ตลอดจนต่อสู้กับภาวะการเปลี่ยนแปลงของ
ภูมิอากาศโลก (Climate Change) การเกษตร 4.0
จึงนาเข้าสู่นวัตกรรมทดแทนการเพาะปลูกแบบเดิม
เช่น การใช้เทคโนโลยีเซ็นเซอร์ การใช้เทคโนโลยี
หุ่นยนต์ และการวิเคราะห์ BIG DATA เพื่อการสร้าง
แบบจาลองทางการเกษตรแบบแม่นยา การประ
มวลผลข้อมูลแบบ Artificial Intelligence (AI) แอป-
พลิเคชั่นเพื่อการเกษตรบนโทรศัพท์มือถือ การ
ปรับปรุงพันธุ์พืชระดับจีโนม เทคโนโลยีจีเอ็มโอ
และนวัตกรรมธัญพืชใหม่ๆ เพื่อสุขภาพ เป็นต้น
นางสาวนฤทัยฯ บรรยาย เรื่อง
“เกษตร 4.0..การใช้นวัตกรรมเพื่อพัฒนา การ
ผลิตพืชเศรษฐกิจ” การเกษตรของประเทศได้
เปลี่ยนจากการผลิตในเชิงปริมาณเป็นผลิตเพื่อเพิ่ม
มูลค่าสินค้าเกษตรมากขึ้น ลดต้นทุนการผลิต เพิ่ม
ผล ผลิต โดยอิงพื้นที่และอัตลักษณ์บนฐานวิทยา-
ศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ดังนั้นยุทธ
ศาสตร์งานวิจัยและพัฒนา กรมวิชาการเกษตร
พ.ศ. 2559-2564 เน้นสร้างนวัตกรรมเพิ่มขีดความ
สามารถด้านการผลิต 3 ด้าน ดังนี้
• การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตด้านเกษตรและ
อาหาร เช่น การปรับปรุงพันธุ์พืช การขยาย พันธุ์
พืชปลอดโรคเชิงพาณิชย์ การตรวจวิเคราะห์
คุณภาพผลผลิตทางการเกษตรเพื่อการนาเข้า
และส่งออก
• การวิจัยและพัฒนาพืชเพื่อความมั่นคงทาง
พลังงาน เช่น การผลิตเอทานอล ไบโอดีเซล แก็ส
ชีวภาพ และจุลินทรีย์ย่อยวัสดุเหลือใช้ทาง
การเกษตร
• การวิจัยด้านเกษตรวิศวกรรม เช่น เครื่องคัดแยก
เมล็ดถั่วเหลืองโดยใช้ Image Processing
โรงเรือนอนุบาลต้นกล้าเร่งการเจิรญเติบโตด้วย
คาร์บอนไดออกไซด์ การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
ทรัพยากรพันธุกรรมพืชของประเทศไทย
วิทยากรเสนอแนะควรใช้เทคโนโลยี
ชีวภาพในการพัฒนาคุณภาพพันธุ์พืชที่มีคุณค่าทาง
โภชนา การสูง การพัฒนาชุดตรวจสอบศัตรูพืชที่มี
ความแม่นยา การแปรรูปอาหารเพื่อสุขภาพ การใช้
วัสดุเหลือใช้จากพืชเศรษฐกิจและพืชท้องถิ่น การ
พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพืชระบบปิด การพัฒนา
ระบบการผลิตแม่นยา และ แอปพลิเคชั่นเพื่อการ
บริการวิชาการเกษตร
8
นายพรศิลป์ฯ บรรยาย เรื่อง “เกษตร 4.0 การพัฒนาภาคเกษตรอุตสาหกรรม”
การพัฒนาภาคเกษตรอุตสาหกรรม ต้องบริหารข้อมูลความต้องการของผู้บริโภคสุดท้ายใน
ห่วงโซ่อุปทานส่งมอบข้อมูลกลับมายังผู้ส่งออก ผู้ส่งออกส่งข้อมูลกลับมายังผู้ผลิต จนถึง
ผู้ผลิตสุดท้าย คือ ผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ เพื่อผลิตผลิตผลทางการเกษตรให้มีคุณภาพตรงตาม
ความต้องการของลูกค้า โดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสม เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
มาใช้บริหารจัดการผลิตอย่างครบวงจร
ภาคบ่ายเป็นเวทีอภิปราย เรื่อง “ภาคเกษตรไทยจะไปถึง 4.0 ได้อย่างไร” มีผู้ร่วม
อภิปราย ได้แก่ รศ.ดร.เจษฏาฯ นายพรศิลป์ฯ ดร.ชัยฤกษ์ สงวนทรัพยากร นายกสมาคมค้า
เมล็ดพันธุ์ไทยนายสุกรรณ์ สังข์วรรณะ ผู้นาเกษตรกร จ.สพุรรณบุรี นายดนัย นาคประเสริฐ
ผอ.สานักวิจัยฯ กรมวิชาการเกษตร มีนายวิชา ธิติประเสริฐ เป็นผู้ดาเนินการอภิปราย ผลการ
อภิปรายภาคเกษตรไทยในปัจจุบันยังเป็นระบบเกษตรที่ใช้แรงงานมนุษย์ร่วมกับเครื่องจักร
ทาให้เกษตรกรมีปัญหาค่าแรงและปัจจัยการผลิตที่มีต้นทุนแปรผันตามราคาค่าแรงและปัจจัย
การผลิตที่สูงขึ้นทาให้เกษตรกรมีปัญหาหนี้สิน ดังนั้น ระบบการเกษตร 4.0 จึงนาวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และนวัตกรรม มาเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร ด้วยการวิจัย
และพัฒนาระบบเกษตร 4.0 เริ่มต้นจากการวิจัยความต้องการของผู้บริโภคสุดท้ายเป็นโจทย์
เริ่มต้น จากนั้นนาโจทย์จากผู้บริโภคสุดท้ายวิจัยและพัฒนาย้อนกลับไปตามห่วงโซ่อุปทาน
จนถึงต้นน้า และนาความรู้ที่ได้จากการวิจัยและพัฒนาถ่ายทอดสู่เกษตรกร ประกอบด้วย
เทคโนโลยี 3 กลุ่ม ได้แก่ เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโลยีระบบเกษตรแม่นยา และเทคโนโลยี
เครื่องจักรกลเกษตร มีรัฐบาลนักวิชาการ ภาคเอกชน และผู้สนับสนุนทางการเงินร่วมกับ
เกษตรกรพัฒนาการเกษตรของไทยเข้าสู่ยุคเกษตร 4.0
9
“ถ้ามัวแต่กลัว ไม่ลงมือทา เราก็จะไม่รู้ว่า
สาเร็จมั้ย แต่ถ้าลงมือทา ก็ 50-50 ที่จะสาเร็จ
หรือไม่สาเร็จ และถ้าล้มวันนี้ ดีกว่าล้มตอนอายุ
30-40 ซึ่งเสี่ยงกว่า” น้องอุ้ม-นายอรุณ วงศ์คาปัน
บัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ หนึ่งในผู้เข้าร่วม
“โครงการพัฒนาทักษะผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์รุ่นใหม่”
ตอบคาถามผู้เข้าร่วมงานในเวทีสรุปบทเรียน
หนึ่งปีแรกของการพัฒนาทักษะผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์รุ่น
ใหม่ เมื่อปลายเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา
“โครงการพัฒนาทักษะผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์รุ่นใหม่”
เริ่มต้นเมื่อเดือนพฤษภาคม 2559 มีระยะเวลา 3 ปี
เกิดจากความร่วมมือของหน่วยงานภายใน สวทช.
ได้แก่ โปรแกรมเมล็ดพันธุ์ ฝ่ายพัฒนาบัณฑิตและ
นักวิจัย สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม
เกษตร ร่วมกับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ วิทยาลัยเกษตร
และเทคโนโลยีเชียงใหม่ และบริษัทผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์
6 แห่ง บ่มเพาะคนรุ่นใหม่สู่การเป็น “ผู้ประกอบการ
เมล็ดพันธุ์” ที่จะสร้างเครือข่ายการผลิตเมล็ดพันธุ์สู่
ชุมชน และเพิ่มขีดความสามารถการผลิตเมล็ดพันธุ์
ของประเทศสู่การเป็น “ศูนย์กลางเมล็ดพันธุ์โลก
หรือ Seed Hub”
ปีแรกของโครงการฯ ผู้เข้าร่วมทั้ง 27 คนได้เรียนรู้
และฝึกปฏิบัติทุกขั้นตอนจากบริษัทผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์
รวมทั้งความรู้ด้านธุรกิจ อาทิ การบริหารจัดการ การ
บริหารการเงินการบัญชี การตลาด และกฎระเบียบที่
9
พฤษภาคม 2560
10
หลังจากที่กลับไปเริ่มต้นผลิตเมล็ดพันธุ์ ผู้เข้าร่วม
โครงการได้เรียนรู้และแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในการผลิต
ไม่ว่าจะเป็น คุณภาพดิน การขาดแคลนน้า โรคพืชและ
แมลง โดยมี สวทช. ผู้เชี่ยวชาญ และบริษัทพี่เลี้ยง
ติดตามและให้คาแนะนาอย่างใกล้ชิด พร้อมทั้งสนับสนุน
เทคโนโลยีที่เหมาะสมจาก สวทช. และหน่วยงาน
พันธมิตร
เกี่ยวข้อง ก่อนที่จะกลับไปเริ่มปฏิบัติจริงที่บ้านเกิดของ
ตนเอง โดยในปีแรกนี้บัณฑิตจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้
11 คน ได้กลับไปเริ่มผลิตเมล็ดพันธุ์ที่บ้านเกิด หลังจาก
ฝึกปฏิบัติเข้มข้นกับบริษัทพี่เลี้ยงมาแล้ว 6 เดือน ขณะที่
น้องๆ จากวิทยาลัยฯ ทั้ง 16 คนยังฝึกปฏิบัติกับบริษัท
พี่เลี้ยง เนื่องจากยังต้องเรียนควบคู่ไปด้วย
น้องเมย์-น.ส.สุวิตรี แดนขนาน อ.ปากช่อง
จ. นครราชสีมา เลือกผลิตเมล็ดพันธุ์มะระ
และถั่วฝักยาว การผลิตรอบแรกสามารถ
ผลิตเมล็ดพันธุ์มะระส่งให้บริษัทได้ถึง 50
กิโลกรัม ถั่วฝักยาวได้ 60 กิโลกรัม แต่ยัง
ประสบปัญหาขาดแคลนน้าในช่วงหน้าแล้ง
ซึ่งน้องเมย์วางแผนเจาะบาดาลและขุดบ่อ
เก็บน้าเพื่อแก้ปัญหาในอนาคต
ขวบปีแรกของ “โครงการพัฒนาทักษะผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์รุ่นใหม่”: เรียนรู้...เพื่อเติบโต
11
ขณะที่น้องอุ้ม-นายอรุณ วงศ์คาปัน แม้จะยังไม่ได้ลงมือผลิตเมล็ดพันธุ์ทันทีหลังกลับบ้าน เนื่องจากต้องการปลูก
ให้เหมาะกับฤดูกาลของพืช แต่ได้วางแผนการใช้พื้นที่เช่าเพื่อการเพาะปลูกและผลิตเมล็ดพันธุ์ โดยจะผลิตทั้งเมล็ด
พันธุ์ส่งบริษัทและผลิตผลสดเพื่อสร้างรายได้ควบคู่ไปด้วย
“โครงการฯ นี้เป็นโครงการเฉพาะที่เน้นและมีเป้าหมายชัดเจนที่จะผลิต
นักผลิตเมล็ดพันธุ์รุ่นใหม่ โดยมีระยะเวลาบ่มเพาะที่ต่อเนื่อง เพื่อให้
ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถผลิตเมล็ดพันธุ์ด้วยตนเองได้ และพัฒนาเป็น
ผู้ประกอบการในอนาคต หลังจากที่ได้ร่วมกันฝึกผู้เข้าร่วมโครงการ
ความเปลี่ยนแปลงที่เห็นชัดเจนคือ ความมั่นใจในการทางาน ผู้เข้าร่วม
โครงการฯ สามารถนาความรู้ไปประกอบอาชีพของตัวเองได้ในระดับหนึ่ง
ถือว่าบรรลุเป้าหมายในเบื้องต้น” เสียงสะท้อนจากคุณอวด ตรีโอษฐ์ บริษัท สุพรีมโกลด์ซีดส์ จากัด หนึ่งใน
ผู้ประกอบการที่เข้าร่วมโครงการ
การเริ่มต้นผลิตเมล็ดพันธุ์ในช่วงแรก ไม่เพียงผู้เข้าร่วมโครงการได้เรียนรู้และรับมือปัญหาจากการผลิต หากยัง
ได้รับบททดสอบเป็นแรงกดดันจากผู้คนในชุมชน “เรียนจบปริญญาตรี แต่มาอยู่บ้านทาเกษตร” ซึ่งในเวทีสรุปบทเรียน
ครั้งนี้ ผู้เข้าร่วมโครงการทุกคนยังคงมุ่งมั่นที่จะเดินบนเส้นทางนี้ โดยมี “ครอบครัว” ที่พร้อมสนับสนุน
“กลัวแต่ก็เลือกที่จะทาต่อ เพราะได้ทางานที่อิสระและได้อยู่บ้านกับพ่อแม่ ความกลัวและความเสี่ยงเป็น
การลงทุนอย่างหนึ่ง และยังมีพ่อแม่ อาจารย์ สวทช. ที่อยู่กับเรา ทาให้เราฮึดสู้ มีกาลังใจ มีคนที่สู้ไปด้วยกัน”
น้องนก-น.ส.สุธานี วันดี
นอกจากประสบการณ์การผลิตเมล็ดพันธุ์ที่เพิ่มขึ้นจากการลงมือปฏิบัติจริงแล้ว ระยะเวลา 6 เดือนที่กลับไปอยู่
บ้าน หลายคนได้สะท้อนผ่านเวทีนี้ว่า รู้สึกโตเป็นผู้ใหญ่และมีความรับผิดชอบมากขึ้น โดยเฉพาะการหารายได้ให้
ครอบครัว
หนึ่งปีแรกของ “โครงการพัฒนาทักษะผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์รุ่นใหม่” ไม่เพียงบ่มเพาะคนรุ่นใหม่สู่อุตสาหกรรมเมล็ด
พันธุ์ หากยังได้นาคนรุ่นใหม่ที่มีความรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม กลับคืนถิ่นพัฒนาการทาเกษตรให้
ดียิ่งขึ้น
คุณจิราพร โคตรมิตร และคุณอดิศร โคตร
มิตร Young Smart Farmer จังหวัดนครพนม
สองพี่น้องเป็นเยาวชนในพื้นที่อาเภอนาหว้า จังหวัด
นครพนม ออกจากบ้านไปเรียนและทางานต่าง
จังหวัดนาน 20 ปี เพิ่งกลับมาอยู่บ้านกับพ่อแม่เมื่อ
ปี 2558 ที่จังหวัดนครพนม ตั้งใจจะกลับมาทาเรื่อง
เกษตรอินทรีย์ ปลูกข้าวและผักปลอดสารพิษ สาน
ต่อความฝันของผู้เป็นพ่อ ซึ่งเคยเป็นเกษตรอาเภอ
เก่า โดยเริ่มจากต้นจากสิ่งที่ตัวเองชอบ คุณจิราพร
เล่าว่า ตอนนั้นคิดแค่ว่าตั้งใจเก็บความรู้ที่ยายและ
พ่อแม่สอนไว้ก่อน พอยิ่งเรียนยิ่งรู้ว่าภูมิปัญญาที่
สืบทอดกันมามีคุณค่ามาก ถ้ารุ่นเราไม่ทาคงไม่มี
ใครทาต่อแล้ว จึงตัดสินใจเรียนรู้จริงจัง คิดหาทาง
ต่อยอดให้ภูมิปัญญานี้ให้ไปไกลที่สุด พอคิดแล้วก็
อยากทาให้ดี ขุดคุ้ยวิชาต่างๆ มีแผนทากิจกรรม
การท่องเที่ยวชุมชนเชิงเกษตรและวัฒนธรรม การ
ต่อยอดภูมิปัญญา การเชื่อมเครือข่ายให้ทุกคนมี
ส่วนร่วม และเกิดไอเดียสร้าง "โรงย้อมยายยอด“ ขึ้น
โดยให้โรงย้อมเป็นศูนย์กลางรับซื้อน้าคราม ฝ้าย
และวัตถุดิบที่ให้สีต่างๆ เช่น ขมิ้น อัญชัน เปลือกไม้
หมากเม่า ฯลฯ จากคนในชุมชน สาหรับสมาชิกที่
ชอบทอผ้าและทาคราม ส่วนสมาชิกที่ชอบทาเกษตร
ได้จัดตั้งกลุ่ม “ปลูกผักปลอดสาร” และ “ปลูกข้าว
อินทรีย์” เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับคนในชุมชน
โดยระหว่างนั้นได้ขอรับคาปรึกษาจาก คุณ
ปิยะทัศน์ ทัศนิยม ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
เกษตรอินทรีย์โนนกลาง จังหวัดอุบลราชธานี
เมื่อช่วงเดือนมีนาคม 2560 คุณจิราพร และ
คุณอดิศร ทราบจากคุณปิยะทัศน์ว่า สวทช. จะ
จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การบริหาร
จัดการพืชผักในระบบอินทรีย์แบบครบวงจร” ณ วัด
ธาตุน้อยศรีบุญเรือง อาเภอธาตุพนม จังหวัด
นครพนม จึงได้ขอเข้าร่วมการอบรมในครั้งนั้นด้วย
ซึ่งจากการเข้าร่วมอบรมได้นามาปรับใช้ผลิตปุ๋ยของ
ตน และเล็งเห็นว่าจะช่วยให้ต้นทุนการผลิตลดลง
มาก จึงมีความตั้งใจผลิตปุ๋ยอินทรีย์ที่มีคุณภาพและ
ใช้วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรตามฤดูกาลเป็น
วัตถุดิบหลัก เพื่อลดต้นทุนการผลิตภายในกลุ่ม
ต่อไป แต่ถ้าจะบอกให้คนในชุมชนทาตามที่บอกก็
ไม่ใช่เรื่องง่าย จึงได้ติดต่อมายังเจ้าหน้าที่ สวทช. อีก
ครั้ง เพื่อขอให้จัดการอบรม “การทาปุ๋ยหมักแบบ
ไม่พลิกกลับกอง” ให้กับชุมชน
เจ้าหน้าที่ สวทช. ได้ให้คาแนะนาว่า หัวใจ
หลักของการท้าเกษตรคือ “ดิน” หากต้องการนา
ปุ๋ยอินทรีย์ไปใช้ปรับปรุงดินให้มีประสิทธิภาพนั้น
เกษตรกรต้องรู้จักดินของตนเองก่อนและสามารถ
ตรวจวิเคราะห์ดินได้ด้วยตนเอง เพื่อปรับปรุงดินได้
ถูกต้องและสามารถเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรได้
จริง การปรับปรุงดินนั้นการใช้แค่ปุ๋ยอินทรีย์อย่าง
เดียวอาจไม่เพียงพอ อาจต้องเติมวัสดุปรับปรุงดิน
อื่นๆ ลงไปในปุ๋ยหรือดินเพิ่มเติม เพื่อให้ดินตนเอง
เหมาะแก่การเพาะปลูกพืชมากขึ้น
9
พฤษภาคม 2560
“สานฝันเพื่อพ่อ...ท้าสวนพอเพียง”
12
คุณจิราพร โคตรมิตร
Young Smart Farmer
จังหวัดนครพนมโรงย้อมยายยอด
กิจกรรมต่อมา คุณปิยะทัศน์ ทัศนิยม ประธาน
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ตาบลโนนกลาง
จังหวัดอุบลราชธานี ได้บรรยายเรื่อง “แนวทางการ
จัดการดินเบืองต้นเพื่อเพิ่มผลผลิตทาง
การเกษตร” โดยเล่าถึงวิธีการปรับปรุงดินด้วย
วัตถุดิบต้นทุนต่าที่สามารถหาได้ง่าย เช่น แกลบดา
โดโลไมท์ ขี้ไก่ ขี้หมู ขี้วัว ปูนขาว ฯลฯ และการใช้น้า
หมักจากเศษผัก ผลไม้ ช่วยปรับปรุงดิน
ช่วงสุดท้ายของกิจกรรม ผู้เข้าร่วมอบรมได้เรียนรู้
และฝึกปฏิบัติ “การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง
ด้วยวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร” โดยอาจารย์
แสนวสันต์ ยอดคา คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรม
เกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นวิทยากรให้ความรู้
“จากสิ่งที่ได้อบรมในครั้งนี้ มองว่าเป็นประโยชน์อย่าง
ยิ่งแก่ชุมชน สามารถทาได้ ซึ่งจะทาแน่นอน โดยจะต้อง
ร่วมกันทาเป็นกลุ่ม ไม่สามารถทาคนเดียวได้” คุณอดิศร
กล่าวทิ้งท้าย
หลังจากพูดคุยหารือร่วมกันแล้ว ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชน สท. จึงได้จัดอบรม
เชิงปฏิบัติการ “การผลิตอินทรียวัตถุบารุงดินและปุ๋ย” ณ ศูนย์การเรียนรู้สวนเกษตรเจ อ้าเภอนาหว้า จังหวัด
นครพนม เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560 เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยหมักไม่พลิกกลับกอง การตรวจ
วิเคราะห์ดิน และวางแนวทางลดต้นทุนการผลิตในภาคเกษตรกรรมให้ชุมชน โดยมีผู้เข้ารับการอบรมเป็นเกษตรกร
ในพื้นที่อาเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม จานวน 35 คน รูปแบบการอบรมมีทั้งบรรยายทฤษฎีและลงมือปฏิบัติ ซึ่ง
ก่อนการอบรม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลนาหว้าได้ตรวจเลือดเพื่อหาสารพิษตกค้างให้ผู้เข้าอบรม
โดยพบว่าส่วนใหญ่มีสารพิษตกค้างในร่างกาย ข้อมูลนี้จะเป็นส่วนสาคัญต่อการเปลี่ยนวิถีการทาเกษตรของชุมชน
ได้
หลังจากนั้นผู้เข้าร่วมอบรมได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติ “การตรวจวิเคราะห์ดินเบืองต้นส้าหรับเกษตรกร” ซึ่ง
นักวิชาการ สท. ได้ให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับดิน อาทิ คุณสมบัติดิน กรด-เบสในดิน ธาตุอาหารในดิน
ความสาคัญของการตรวจวิเคราะห์ธาตุอาหารในดิน เป็นต้น จากนั้นผู้เข้าร่วมอบรมได้ฝึกปฏิบัติตรวจวิเคราะห์ดิน
จากแปลงของตนเอง เพื่อวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง และตรวจวิเคราะห์ธาตุอาหารในดิน ได้แก่ แอมโมเนียม
ไนเตรต ฟอสเฟต โพแทสเซียม
13
ตรวจเลือดหาสารพิษตกค้าง ตรวจวิเคราะห์ดิน คุณณัฐวุฒิ ด้าริห์ คุณปิยะทัศน์ ทัศนิยม
การท้าปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกลับกอง
9
มิถุนายน 2560
เดือนมิถุนายน 2560
ฝ่ายจัดการความรู้เพื่อเกษตรและชุมชน
6 เก็บข้อมูลกิจกรรมทาปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกลับ
กอง ณ บ้านทุ่งฮ้าง อ.แม่แจ่ม จ.ลาปาง
7-8 เก็บข้อมูลการเสวนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตร
“ทายาทเกษตรกรรุ่นใหม่ ก้าวไกลด้วย วทน. รุ่นที่
1 และรุ่นที่ 2” ณ หอประชุมการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยภาคเหนือ จ.ลาปาง
9-10 เก็บข้อมูลการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ
หลักสูตร “วิธีการเพาะเลี้ยงและขยายรังชันโรง”
อ.อัมพวา จ.สมุทรสาคร
12-13 เก็บข้อมูลการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การ
เพาะเลี้ยงเพรียงทรายสู่การต่อยอดในเชิงธุรกิจ”
ณ อาคารบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร อุทยาน
วิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี
15-16 ร่วมกิจกรรมเก็บข้อมูลผลกระทบกลุ่ม
เครือข่ายวิสาหกิจชุมชนเกษตรกรรมยั่งยืนน้าอ้อม
และกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มข้าวคุณค่าชาวนา
คุณธรรม จ.ยโสธร
21-23…เก็บข้อมูลการให้คาแนะนาการผลิต
น้ายางข้นเพื่อใช้ผลิตหมอนยางพารา ณ กลุ่ม
เกษตรกรบ้านแพรกหา อ.ควนขนุน จ.พัทลุง
ฝ่ายบริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม
9-10 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “วิธีการ
เพาะเลี้ยงและขยายรังชันโรง” ณ จ.เชียงใหม่
15-16……เก็บผลกระทบเชิงสังคมกลุ่มเครือข่าย
วิสาหกิจชุมชนเกษตรกรรมยั่งยืนน้าอ้อม และกลุ่ม
วิสาหกิจชุมชนกลุ่มข้าวคุณค่าชาวนาคุณธรรม
และกลุ่มเกษตรธรรมชาติหนองยอ จ.ยโสธร
29-30…..ลงพื้นที่สัมภาษณ์กลุ่มเครือข่ายชุมชน
อ.ระโนด อ.กระแสสินธุ์ อ.สทิงพระ จ.สงขลา และ
สัมภาษณ์กลุ่มเครือข่ายชุมชน อ.รัตภูมิ อ.จะนะ
จ.สงขลา
ฝ่ายยุทธศาสตร์และสร้างพันธมิตร
12-13 ร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทาแผน วทน.
สู่ภูมิภาค ปีงบประมาณ 2560-2561 : ภาคใต้สอง
สมุทร ณ โรงแรมบรรจงบุรี จ.สุราษฏร์ธานี
21-22’’’ลงพื้นที่ศึกษาการดาเนินงานสุขภาวะ
ชุมชนเชิงบูรณการด้วย วทน. ของบริษัท เบทาโกร
จากัด (มหาชน) ณ บริษัทเบทาโก ต.ช่องสาริกา
อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี
28……ติดตามการดาเนินงานเครื่องสีข้าวชุมชน
วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ดอกคา อ.พร้าว
จ.เชียงใหม่
29-30…...ร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทาแผน
วทน. สู่ภูมิภาค ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-2564 :
กลุ่มภาคเหนือ
12
1
9
มิถุนายน 2560
เดือนมิถุนายน 2560
ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชน
5 ประชุมหารือความร่วมมือกับผู้อานวยการ
ชลประทานท่าโบสถ์ และเกษตรกร อ.หันคา
จ.ชัยนาท
6 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการทาปุ๋ยหมักแบบไม่
พลิบกลับกอง ณ บ้านทุ่งฮ้าง อ.แม่แจ่ม จ.ลาปาง
7-8 จัดกิจกรรมการเสวนาเชิงปฏิบัติการหลัก
สูตร ทายาทเกษตรกรรุ่นใหม่ ก้าวไกลด้วย วทน.
รุ่นที่ 1 และรุ่นที่ 2 ณ หอประชุมการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคเหนือ
จ.ลาปาง
12-13 ลงพื้นที่หารือแนวทางการใช้สารชีว-
ภัณฑ์ ร่วมกับ ศจช.อาเภอ ภูกระดึง จ.เลย และ
หารือแนวทางการใช้สารชีวภัณฑ์ ร่วมกับ ศทอ.
ขอนแก่น ณ ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตร
ด้านอารักขาพืช จังหวัดขอนแก่น
14-16 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “การ
ผลิตอินทรีย์วัตถุบารุงดินและการเลี้ยงไส้เดือนเพื่อ
ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ณ บ้านชบา ต.ตาโกน อ.เมือง
จันทร์ จ.ศรีสะเกษ
ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชน
19-20… ประชุมหารือการจัดโครงการทายาท
เกษตรกรรุ่นใหม่ ก้าวไกลด้วย วทน. ณ สานักงาน
ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย จ.สกลนคร
21 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “การกาจัด
ผักตบชวา ด้วยเทคโนโลยีการทาปุ๋ยหมักแบบ
ไม่พลิกกลับกอง” ณ สานักงานโครงการส่งน้า
และบารุงรักษาน้าท่าโบสถ์ ต.สามง่าม อ.หันคา
จ.ชัยนาท
21-22 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร การ
ใช้สารชีวภัณฑ์บิวเวอเรีย จ.เชียงใหม่ และจ.แพร่
27 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “การผลิต
ปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกลับกอง ณ บ้านนาคู อ.ผักไห่
จ.อยุธยา
29-30 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร การ
ใช้สารชีวภัณฑ์บิวเวอเรีย จ.สุราษฎร์ธานี และ
จ.สงขลา
13
2

More Related Content

Similar to จดหมายข่าว สท. ประจำเดือนพฤษภาคม 2560

NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2562
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
E news-june-2018-final
E news-june-2018-finalE news-june-2018-final
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
การประชุมความเข้าใจมิสเตอร์เกษรอินทรีย์ กรมพัฒนาที่ดิน
การประชุมความเข้าใจมิสเตอร์เกษรอินทรีย์ กรมพัฒนาที่ดินการประชุมความเข้าใจมิสเตอร์เกษรอินทรีย์ กรมพัฒนาที่ดิน
การประชุมความเข้าใจมิสเตอร์เกษรอินทรีย์ กรมพัฒนาที่ดิน
Totorokung
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
Makin Puttaisong
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2561
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2562
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
E news-aimi-july 2017.final
E news-aimi-july 2017.finalE news-aimi-july 2017.final
E news-aimi-july 2017.final
nok Piyaporn
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักPmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักpromboon09
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองbenya_28030
 

Similar to จดหมายข่าว สท. ประจำเดือนพฤษภาคม 2560 (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2562
 
E news-june-2018-final
E news-june-2018-finalE news-june-2018-final
E news-june-2018-final
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
 
การประชุมความเข้าใจมิสเตอร์เกษรอินทรีย์ กรมพัฒนาที่ดิน
การประชุมความเข้าใจมิสเตอร์เกษรอินทรีย์ กรมพัฒนาที่ดินการประชุมความเข้าใจมิสเตอร์เกษรอินทรีย์ กรมพัฒนาที่ดิน
การประชุมความเข้าใจมิสเตอร์เกษรอินทรีย์ กรมพัฒนาที่ดิน
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
 
20100905 wp ch3-smart farm
20100905 wp ch3-smart farm20100905 wp ch3-smart farm
20100905 wp ch3-smart farm
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2561
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2562
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
E news-aimi-july 2017.final
E news-aimi-july 2017.finalE news-aimi-july 2017.final
E news-aimi-july 2017.final
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
 
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักPmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
 
006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท
 
1
11
1
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 

จดหมายข่าว สท. ประจำเดือนพฤษภาคม 2560

  • 1. 9 พฤษภาคม 2560 1 สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) เป็นหน่วยงานภายใต้ สวทช. ดาเนินงานให้บริการ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรแบบครบวงจร ทางานร่วมกับหน่วยงานพันธมิตรทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อให้เกิด “การ ปฏิรูปภาคเกษตรด้วยเทคโนโลยีและพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน ลดความเหลื่อมล้า เชื่อมโยงสู่เศรษฐกิจ ชีวภาพ” โดยนาผลงานวิจัยจาก สวทช. และพันธมิตรสู่การใช้งานจริงในพื้นที่ ผ่านการถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนอย่าง ทั่วถึง พร้อมทั้งพัฒนาบุคลากรด้านการเกษตรและชุมชนให้ก้าวทันเทคโนโลยี ตลอดจนเป็นแหล่งความรู้ที่เข้าถึงได้ง่ายและ ตอบโจทย์ความต้องการของเกษตรกรและชุมชน มื่อวันที่ 2-7 พฤษภาคม 2560 ผู้แทนของสถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ได้เข้าร่วม เป็นคณะประชุมหารือเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเห็ด ณ เมืองกู่เทียน มณฑลฝูเจี้ยน สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยความ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัย Fujian Agriculture and Forestry University (FAFU) คณะผู้ร่วมประชุมได้เยี่ยมชมหน่วย งานวิจัยด้านเห็ด โรงงานอุตสาหกรรมเพาะเลี้ยงเห็ด และฟาร์มเห็ดของเกษตรกร ประเทศจีนมีความก้าวหน้าด้าน เทคโนโลยีการเพาะเห็ดอย่างมาก มีการบูรณาการร่วมกันอย่างจริงจัง ทั้งสถาบันวิจัยฯ ของรัฐบาล บริษัทเอกชน และ เกษตรกร พร้อมทั้งได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญของประเทศจีน จากการศึกษาดูงานครั้งนี้จะขยายสู่ การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเห็ดในประเทศไทย โดยคณะผู้เข้าร่วมประชุมจากไทยได้จัดตั้งคณะทางานเพื่อ ขับเคลื่อนการบริหารจัดการเห็ดครบวงจร โดยสร้างความร่วมมือกับประเทศจีนและร่วมมือกับหน่วยงานในประเทศ ไทย โดยกาหนดแผนการสนับสนุนชุดโครงการวิจัยและนวัติกรรมเห็ด ปี 2560-2564 มีเป้าหมายสร้างมูลค่าเพิ่มจาก เห็ด ชุมชนมีรายได้ที่ยั่งยืน และสร้างความสมดุลระหว่างเห็ดป่ากับระบบนิเวศป่าไม้ พร้อมทั้งวางแผนถ่ายทอด เทคโนโลยีและความรู้ให้กับเกษตรกรหรือชุมชนต่อไป เ สท. สานต่อกิจกรรมปีที่ 2 “โครงการผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์รุ่นใหม่” เมื่อวันที่ 24-27 พฤษภาคมที่ผ่านมา สท. ได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยแม่ โจ้ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่ และบริษัทผู้ผลิตเมล็ด พันธุ์ จัดเวทีสรุปบทเรียนการพัฒนาทักษะผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์รุ่นใหม่ใน ปีแรก ซึ่งมีผู้เข้าร่วมโครงการ 27 คน พร้อมทั้งจัดอบรมเสริมทักษะ การทาธุรกิจด้วยแนวคิด Business Model Canvas ตลอดจนถ่ายทอด เทคโนโลยีการวางระบบน้าและติตตั้งระบบควบคุมน้าด้วยเซ็นเซอร์ ของ สวทช. รวมทั้งเรียนรู้แนวคิดและประสบการณ์จากผู้ประกอบ- การรุ่นใหม่ที่ประสบความสาเร็จในการทาธุรกิจ
  • 2. จากสถานการณ์หมอกควันที่เกิดจากการเผาใน เขตภาคเหนือ เกิดวิกฤตมลพิษสิ่งแวดล้อมที่ส่งผล กระทบต่อสุขภาพอนามัยและชีวิตประชาชน สาเหตุ หลักเกิดจากการเผาในพื้นที่เกษตรและพื้นที่ป่าในช่วง เดือนกุมภาพันธ์-เมษายนของทุกปี จากการวัดค่าฝุ่น ละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM 10) เกินค่า มาตรฐานที่ 120 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร เกือบ ทุกจังหวัดในภาคเหนือ และพบค่าสูงสุดเฉลี่ยถึง 383 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (ส่วนควบคุมไฟป่า สานัก ป้องกันปราบปรามและควบคุมไฟป่า) การนาเศษวัสดุเหลือทิ้งมาทาประโยชน์ในรูปแบบ ต่างๆ เช่น การทาปุ๋ยหมัก เป็นอีกแนวทางที่จะลดการ เผาที่ก่อให้เกิดมลภาวะได้ การทาปุ๋ยหมัก การทาปุ๋ยหมักด้วยระบบการเติมอากาศ การทาปุ๋ยหมักด้วยแบบไม่พลิกกลับกอง 9 พฤษภาคม 2560 เชือจุลินทรีย์เข้มข้น ช่วยเร่งการย่อยสลาย : ทางเลือกใหม่แก้ไขปัญหาหมอกควัน ตอนที่ 1 2 ที่มา : การผลิตปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินจากเกษตรอินทรีย์ จากกระบวนการผลิตปุ๋ยจะพบว่า หลังจากปรับค่า C:N ratio พบว่ากระบวนการทาให้ย่อยสลายก่อนเป็น ปุ๋ยหมักนั้น ใช้ระยะเวลานานพอควร 2
  • 3. สวทช. ภาคเหนือได้ร่วมกับคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ คิดค้นวิธีการลดระยะเวลาการ ย่อยสลายเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร ด้วยการ ใช้จุลินทรีย์กลุ่มที่มีความสามารถย่อยสลายเส้นใย จากเซลลูโลสของพืช ที่มีอัตราความเข้มข้นจุลินทรีย์ 109 ต่อ 1,000 ml โดยปรับความชื้นที่ 60% และค่า C:N ratio ที่ 60% ซึ่งสามารถย่อยสลายกองวัสดุได้ เร็วขึ้นกว่าเดิมได้ 40% ของระยะเวลาการทาปุ๋ย หมัก อีกทั้งเมื่อผ่านการย่อยสลายแล้ว วัสดุที่ได้มี ธาตุอาหารพืชและสามารถช่วยควบคุมและป้องกัน โรคพืชได้ การน้าไปใช้ประโยชน์ : เชื้อจุลินทรีย์ที่คัดได้จาก ห้องปฏิบัติการ ที่มีความเข้มข้น 109 ต่อ 1,000 ml. การขยายและน้าไปใช้ประโยชน์ แหล่งข้อมูล : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐปน ชื่นบาล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิราภรณ์ ชื่นบาล รองศาสตราจารย์ ดร.อานัฐ ตันโช มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ติดตามเรื่องเล่า เชือจุลินทรีย์เข้มข้น ช่วยเร่งการ ย่อยสลาย ตอนที่ 2 ในเดือนกรกฎาคม2560 3 ผู้เรียบเรียง นายเรืองฤทธิ์ ริณพัฒน์
  • 4. กิจกรรมการอบรมถ่ายทอดความรู้และติดตามการพัฒนาปรับปรุงด้านสุขลักษณะที่ดีในการ ท้างาน ให้แก่พนักงานและเจ้าหน้าที่ของสถานีวิจัยโครงการหลวงอินทนนท์ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงขุนวาง และ สถานีเกษตรหลวงปางดะ เป็นกิจกรรมหนึ่งภายใต้ โครงการถ่ายทอดความรู้และติดตามผลการด้าเนินงาน ของสถานีวิจัยโครงการหลวง การอบรมเริ่มจากการอธิบายถึงความสาคัญของการมีระบบมาตรฐานในการ ทางาน ซึ่งจะสามารถยกระดับมาตรฐานที่ดีให้แก่สถานี/ศูนย์ฯ ได้ จากนั้นจึงให้ความรู้พื้นฐานในเรื่อง 5ส. ประกอบด้วย สะสาง สะอาด สะดวก สุขลักษณะ และสร้างนิสัย ระบบ 5ส. ยังเป็นพื้นฐานในการสร้างระบบ มาตรฐานที่สูงขึ้นไป สามารถดาเนินกิจกรรมได้ทันที และสามารถนาไปปรับใช้กับที่พัก/ครอบครัวของพนักงานได้ จากนั้นได้อบรมเรื่อง หลักสุขลักษณะที่ดีในการปฏิบัติงาน โดยให้ความรู้ถึงอันตรายที่เกิดขึ้นกับ อาหาร 3 ลักษณะ ได้แก่ อันตรายทางกายภาพ ทางเคมี และทางจุลินทรีย์/ หนอนพยาธิ อธิบายถึงแหล่งที่มาของ เชื้อโรค และหัวใจ 3 ประการ ในการผลิตอาหารให้ปลอดภัย ได้แก่ ลด ฆ่า คุม เพื่อลดอันตรายหรือป้องกัน อันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้ คุณลักษณะของคุณภาพอาหาร ประกอบด้วย รสชาติดี สะอาด ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ มีความสม่าเสมอ และเป็นไปตามกฏหมาย รวมถึงความสาคัญของปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพอาหาร ซึ่งความรู้ที่ได้ จากการอบรมนี้จะเป็นพื้นฐานสาคัญในการสร้างระบบมาตรฐานที่ดีในการปฏิบัติงาน และต่อยอดการขอรับรอง มาตรฐาน GMP ได้ หลังจากการอบรมให้ความรู้แล้วจะตรวจเยี่ยมในพื้นที่ปฏิบัติงาน เช่น อาคารสานักงาน โรงครัว โรงอาหาร อาคารคัดบรรจุ รวมทั้งส่วนงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม 5ส. และหลัก GHP/GMP เพื่อให้คาแนะนา ปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง และจัดทาเป็นรายงานเพื่อติดตามการปรับปรุงพัฒนาต่อไป วันที่ 4 พ.ค. 60 สถานีฯอินทนนท์ วันที่ 5 พ.ค. 60 ศูนย์ฯขุนวาง วันที่ 6 พ.ค. 60 สถานีฯปางดะ 9 พฤษภาคม 2560 4
  • 5. กลุ่มมือนารอ เป็นการวมตัวของเกษตรกรผู้เลี้ยงโคในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส มีสมาชิก จัดตั้ง 7 คน โดยมีแนวคิดปรับปรุงและพัฒนาการเลี้ยงโคในพื้นที่ให้ได้มาตรฐาน กลุ่มฯ ได้แสวงหาความรู้ ด้านวิชาการและประสานงานกับหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา ตลอดจนสร้างเครือข่ายเกษตรกรผู้เลี้ยงและผู้ประกอบการด้านโคทั้งในประเทศและต่างประเทศ ปัจจุบันกลุ่มมือนารอได้จดทะเบียนสหกรณ์อย่างเป็นทางการในชื่อ สหกรณ์โคเนือมือ-นารอ จ้ากัด มีสมาชิกทั้งหมด 250 คน ครอบคลุมทั้ง 13 อาเภอของจังหวัดนราธิวาส มีคณะกรรมการ บริหารงานสหกรณ์ 13 คน บริหารงานในรูปแบบการจัดการหุ้นส่วน และมีการปันผลกาไร สานักงาน ตั้งอยู่ที่ตลาดกลางการเกษตรเพื่อการส่งออกจังหวัดภาคใต้ชายแดน ตาบลละหาร อ.ยี่งอ จ.นราธิวาส เป็นศูนย์ประสานงานและจุดจาหน่ายอาหารราคาถูกให้เกษตรกร เมื่อวันที่ 22 - 23 พฤษภาคม 2560 สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) โดยฝ่ายพัฒนาพื้นที่เพื่อเกษตรและชุมชน (ABD) ได้เข้าร่วมประชุมกับสถาบันบ่มเพาะธุรกิจธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สนับสนุนการรวมกลุ่มสมาชิกจัดตั้งสหกรณ์โคเนื้อมือนารอ และการ นาเอา วทน. ไปพัฒนาศักยภาพให้สมาชิกด้านการผลิตอาหารโคเนื้อระยะต่างๆ การตรวจสอบปริมาณ ไขมันแทรกในเนื้อโค พัฒนาสายพันธุ์โคเนื้อที่สามารถเลี้ยงในพื้นที่ได้ดี เพื่อยกระดับมาตรฐานเนื้อโค ลด ต้นทุนการเลี้ยง พัฒนาสินค้าแปรรูปให้มีคุณภาพได้มาตรฐานสามารถแข่งขันในตลาดและการส่งออก ตลอดจนเชื่อมโยงการทางานกับหน่วยงานในพื้นที่ ได้แก่ สภาเกษตรกรจังหวัดนราธิวาส ปศุสัตว์จังหวัด มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ศูนย์วิจัยอาหารสัตว์จังหวัดนราธิวาส สหกรณ์จังหวัดนราธิวาส กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร กลุ่มมือนารอมีความมุ่งหวังว่า หากแผนงานของกลุ่มมือนารอที่ใช้ชื่อว่า “มือนารอ 60.โมเดล” ได้รับการผลักดันและส่งเสริมให้เกิดความสาเร็จและเป็นรูปธรรมได้ จะเกิดประโยชน์สูงสุดแก่เกษตรกรใน พื้นที่ และตรงตามเจตนารมณ์ของกลุ่มในเรื่องของการ “สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ ที่มั่นคง และยั่งยืน” การติดตามการจัดตั้งและการดาเนินงานกลุ่มสหกรณ์โคเนื้อมือนารอ จากัด 5
  • 6. ฝ่ายยุทธศาสตร์และสร้างพันธมิตรร่วม ประชุมเชิงปฏิบัติการ “การจัดทาแผนปฏิบัติการ วทน. สู่ภูมิภาค ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-2564: ภาคกลาง และภาคตะวันออก” วันที่ 21-23 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมริชมอนด์ จ.นนทบุรี จัดโดยสานักส่งเสริม และถ่ายทอดเทคโนโลยี สานักงานปลัดกระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทา แผนปฏิบัติการตามอัตลักษณ์ที่โดดเด่นกลุ่มจังหวัด ภาคกลาง ได้แก่ กลุ่มจังหวัดภาคกลางบน 1 (การท่อง เที่ยวเชิงมรดกประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม) กลุ่ม จังหวัดภาคกลางบน 2 (ครัวสุขภาพเพื่อมหานคร “ผักปลอดภัยและกล้วยน้าว้า”) กลุ่มจังหวัดภาคกลาง ตอนกลาง (มะม่วง สมุนไพร) กลุ่มจังหวัดภาคกลาง ล่าง 1 (เมืองแห่งนวัตกรรมอาหาร) กลุ่มจังหวัดภาค กลางล่าง 2 (การท่องเที่ยวเชิงนิเวศและอาหาร) การประชุมกลุ่มย่อยเสนอความคิดเห็นตามกลุ่ม จังหวัดเพื่อเสนอแผนงาน/โครงการ/ห่วงโซ่คุณค่า และ ข้อเสนอโครงการตามกลุ่มจังหวัด แต่ละกลุ่มมี เครือข่ายคลินิกเทคโนโลยีนาเสนอโครงการภายใต้ แผนปฏิบัติงานกลุ่มจังหวัด ฝ่ายยุทธศาสตร์และสร้างพันธมิตรได้ร่วมประชุม กลุ่มย่อยจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 (สระบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี และนนทบุรี) ผลการ ประชุมได้แผนปฏิบัติงานตามห่วงโซ่คุณค่า โดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เสนอ โครงการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์พันธุ์บัว และโครงการใช้ วทน. แปรรูปผักตบชวาในพื้นที่ จ.ปทุมธานี โครงการดังกล่าวเกี่ยวข้องกับงานบูรณา การ วทน. เพื่อการพัฒนาจังหวัดปทุมธานีที่ สวทช. ได้ร่วมดาเนินงาน ผลจากการประชุมนี้ สวทช. จะ นาไปบูรณาการทางานกับทาง จ.ปทุมธานี ต่อไป ฝ่ายยุทธศาสตร์และสร้างพันธมิตรร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ “การจัดท้าแผนปฏิบัติการ วทน. ส่วนภูมิภาค : กลุ่มภาคกลางและภาคตะวันออก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-2564” 9 พฤษภาคม 2560 6 ภาพบรรยากาศการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การจัดท้าแผนปฏิบัติการ วทน. สู่ภูมิภาค ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-2564 : ภาคกลาง และภาคตะวันออก
  • 7. ฝ่ายยุทธศาสตร์และสร้างพันธมิตรร่วมประชุม เรื่อง “เกษตรไทย 4.0…ทบทวนจุดคิด พิชิตจุดต่าง” เมื่อวันที่ 25’’’พฤษภาคม ที่ผ่านมา ณ ห้อง 314 ตึก กสิกรรม กรมวิชาการเกษตร มีวิทยากรจากหน่วย งานภาครัฐและเอกชนมาให้ความรู้ในงานสัมมนาใน ภาคเช้า ได้แก่ • ดร.นิพนธ์ พัวพงษ์สกร จากสถาบันวิจัยเพื่อการ พัฒนาประเทศไทย (TDRI) • รศ.ดร.เจษฏา เด่นดวงบริพันธ์ จากคณะวิทยา- ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • นางสาวนฤทัย วระสถิตย์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการ ผลิตพืช จากกรมวิชาการเกษตร • นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายกสมาคมการ ค้าเมล็ดพันธุ์ไทย “เกษตรไทย 4.0 ทบทวนจุดคิด พิชิตจุดต่าง” 7 ดร.นิพนธ์ฯ บรรยาย เรื่อง “เกษตร 4.0 คืออะไร และจะต้องท้าอย่างไรเพื่อไปให้ถึง 4.0” ความหมายเกษตรกรรมยุค 4.0 ของสหภาพยุโรปเป็นระบบการผลิตแบบเกษตรแม่นยา (Precision Agriculture) ให้ ผลผลิตสูง ลดเวลา ลดการใช้พลังงาน และลดต้นทุนการผลิต โดยใช้เทคโนโลยีช่วยตรวจวัดและช่วยเกษตรกร ตัดสินใจในการผลิต ซึ่งแผนยุทธศาสตร์ 20 ปีและนโยบายเกษตร 4.0 ของรัฐบาลมีเป้าหมายให้เกษตรกรใช้ เทคโนโลยีในการผลิตมากขึ้น แต่มีจุดอ่อน คือ เป็นนโยบายรวมศูนย์ ทาให้ขาดการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่ใน ท้องถิ่น วิธีการเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาได้ทุกพื้นที่ภายใต้ทรัพยากรที่มีจากัด ถูกใช้ภายใต้ยุทธศาสตร์ หลากหลาย ไม่จัดลาดับความสาคัญของยุทธศาสตร์ ส่งผลให้การแก้ไขปัญหาเกษตรกรให้พ้นกับดักความยากจน ทาได้ยาก แนวทางแก้ไขต้องจัดลาดับความสาคัญของยุทธศาสตร์และให้เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการกาหนด นโยบายมากขึ้น ทิศทางของยุทธศาสตร์ควรขับเคลื่อนแบบอิงอุปสงค์ของตลาด แทนที่การขับเคลื่อนแบบอิง อุปทานของผู้ผลิต การขับเคลื่อนภาคเกษตรยุค 4.0 ต้องขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีสาคัญ คือ เทคโนโลยีชีวภาพ (ประกอบด้วยเทคโนโลยีจีโนม เทคโนโลยีชุดตรวจสอบ เทคโนโลยีวัคซีน) และเทคโนโลยีดิจิทัล (ประกอบด้วย เทคโนโลยีจัดเก็บข้อมูลผ่านเซ็นเซอร์ เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง และเทคโนโลยีประมวลผลข้อมูล) เทคโนโลยีทั้ง 2 ชนิดมีหน่วยงานราชการเป็นผู้วิจัยและได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาล ภาคเอกชนจะเป็นผู้วิจัย ต่อยอดในเชิงพาณิชย์ ซึ่งงานวิจัยที่เกิดขึ้นควรเริ่มจากการวิจัยเชิงเศรษฐศาสตร์เพื่อศึกษาและจัดลาดับ ความสาคัญของปัญหาและสนับสนุนการวิจัย มีระบบติดตามและประเมินผลการวิจัยภายใต้ระบบการบริหาร คลัสเตอร์และโปรแกรมที่เข้มแข็ง ตลอดจนรัฐบาลต้องสนับสนุนภาคเอกชนหรือผู้ประกอบการรุ่นใหม่ให้สามารถ นาผลงานวิจัยไปวิจัยและพัฒนาต่อยอดในเชิงพาณิชย์สนับสนุนระบบการผลิตของเกษตรกรได้
  • 8. รศ.ดร.เจษฎาฯ บรรยาย เรื่อง “เกษตร 4.0 การสร้างนวัตกรรมเทคโนโลยี (InnovativeTech- nology) เพื่อการผลิตพืช” เกษตร 4.0 เป็นยุคแห่ง การนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในการผลิต เพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดที่เพิ่มขึ้น ตลอดจนต่อสู้กับภาวะการเปลี่ยนแปลงของ ภูมิอากาศโลก (Climate Change) การเกษตร 4.0 จึงนาเข้าสู่นวัตกรรมทดแทนการเพาะปลูกแบบเดิม เช่น การใช้เทคโนโลยีเซ็นเซอร์ การใช้เทคโนโลยี หุ่นยนต์ และการวิเคราะห์ BIG DATA เพื่อการสร้าง แบบจาลองทางการเกษตรแบบแม่นยา การประ มวลผลข้อมูลแบบ Artificial Intelligence (AI) แอป- พลิเคชั่นเพื่อการเกษตรบนโทรศัพท์มือถือ การ ปรับปรุงพันธุ์พืชระดับจีโนม เทคโนโลยีจีเอ็มโอ และนวัตกรรมธัญพืชใหม่ๆ เพื่อสุขภาพ เป็นต้น นางสาวนฤทัยฯ บรรยาย เรื่อง “เกษตร 4.0..การใช้นวัตกรรมเพื่อพัฒนา การ ผลิตพืชเศรษฐกิจ” การเกษตรของประเทศได้ เปลี่ยนจากการผลิตในเชิงปริมาณเป็นผลิตเพื่อเพิ่ม มูลค่าสินค้าเกษตรมากขึ้น ลดต้นทุนการผลิต เพิ่ม ผล ผลิต โดยอิงพื้นที่และอัตลักษณ์บนฐานวิทยา- ศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ดังนั้นยุทธ ศาสตร์งานวิจัยและพัฒนา กรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2559-2564 เน้นสร้างนวัตกรรมเพิ่มขีดความ สามารถด้านการผลิต 3 ด้าน ดังนี้ • การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตด้านเกษตรและ อาหาร เช่น การปรับปรุงพันธุ์พืช การขยาย พันธุ์ พืชปลอดโรคเชิงพาณิชย์ การตรวจวิเคราะห์ คุณภาพผลผลิตทางการเกษตรเพื่อการนาเข้า และส่งออก • การวิจัยและพัฒนาพืชเพื่อความมั่นคงทาง พลังงาน เช่น การผลิตเอทานอล ไบโอดีเซล แก็ส ชีวภาพ และจุลินทรีย์ย่อยวัสดุเหลือใช้ทาง การเกษตร • การวิจัยด้านเกษตรวิศวกรรม เช่น เครื่องคัดแยก เมล็ดถั่วเหลืองโดยใช้ Image Processing โรงเรือนอนุบาลต้นกล้าเร่งการเจิรญเติบโตด้วย คาร์บอนไดออกไซด์ การพัฒนาระบบฐานข้อมูล ทรัพยากรพันธุกรรมพืชของประเทศไทย วิทยากรเสนอแนะควรใช้เทคโนโลยี ชีวภาพในการพัฒนาคุณภาพพันธุ์พืชที่มีคุณค่าทาง โภชนา การสูง การพัฒนาชุดตรวจสอบศัตรูพืชที่มี ความแม่นยา การแปรรูปอาหารเพื่อสุขภาพ การใช้ วัสดุเหลือใช้จากพืชเศรษฐกิจและพืชท้องถิ่น การ พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพืชระบบปิด การพัฒนา ระบบการผลิตแม่นยา และ แอปพลิเคชั่นเพื่อการ บริการวิชาการเกษตร 8
  • 9. นายพรศิลป์ฯ บรรยาย เรื่อง “เกษตร 4.0 การพัฒนาภาคเกษตรอุตสาหกรรม” การพัฒนาภาคเกษตรอุตสาหกรรม ต้องบริหารข้อมูลความต้องการของผู้บริโภคสุดท้ายใน ห่วงโซ่อุปทานส่งมอบข้อมูลกลับมายังผู้ส่งออก ผู้ส่งออกส่งข้อมูลกลับมายังผู้ผลิต จนถึง ผู้ผลิตสุดท้าย คือ ผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ เพื่อผลิตผลิตผลทางการเกษตรให้มีคุณภาพตรงตาม ความต้องการของลูกค้า โดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสม เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มาใช้บริหารจัดการผลิตอย่างครบวงจร ภาคบ่ายเป็นเวทีอภิปราย เรื่อง “ภาคเกษตรไทยจะไปถึง 4.0 ได้อย่างไร” มีผู้ร่วม อภิปราย ได้แก่ รศ.ดร.เจษฏาฯ นายพรศิลป์ฯ ดร.ชัยฤกษ์ สงวนทรัพยากร นายกสมาคมค้า เมล็ดพันธุ์ไทยนายสุกรรณ์ สังข์วรรณะ ผู้นาเกษตรกร จ.สพุรรณบุรี นายดนัย นาคประเสริฐ ผอ.สานักวิจัยฯ กรมวิชาการเกษตร มีนายวิชา ธิติประเสริฐ เป็นผู้ดาเนินการอภิปราย ผลการ อภิปรายภาคเกษตรไทยในปัจจุบันยังเป็นระบบเกษตรที่ใช้แรงงานมนุษย์ร่วมกับเครื่องจักร ทาให้เกษตรกรมีปัญหาค่าแรงและปัจจัยการผลิตที่มีต้นทุนแปรผันตามราคาค่าแรงและปัจจัย การผลิตที่สูงขึ้นทาให้เกษตรกรมีปัญหาหนี้สิน ดังนั้น ระบบการเกษตร 4.0 จึงนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มาเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร ด้วยการวิจัย และพัฒนาระบบเกษตร 4.0 เริ่มต้นจากการวิจัยความต้องการของผู้บริโภคสุดท้ายเป็นโจทย์ เริ่มต้น จากนั้นนาโจทย์จากผู้บริโภคสุดท้ายวิจัยและพัฒนาย้อนกลับไปตามห่วงโซ่อุปทาน จนถึงต้นน้า และนาความรู้ที่ได้จากการวิจัยและพัฒนาถ่ายทอดสู่เกษตรกร ประกอบด้วย เทคโนโลยี 3 กลุ่ม ได้แก่ เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโลยีระบบเกษตรแม่นยา และเทคโนโลยี เครื่องจักรกลเกษตร มีรัฐบาลนักวิชาการ ภาคเอกชน และผู้สนับสนุนทางการเงินร่วมกับ เกษตรกรพัฒนาการเกษตรของไทยเข้าสู่ยุคเกษตร 4.0 9
  • 10. “ถ้ามัวแต่กลัว ไม่ลงมือทา เราก็จะไม่รู้ว่า สาเร็จมั้ย แต่ถ้าลงมือทา ก็ 50-50 ที่จะสาเร็จ หรือไม่สาเร็จ และถ้าล้มวันนี้ ดีกว่าล้มตอนอายุ 30-40 ซึ่งเสี่ยงกว่า” น้องอุ้ม-นายอรุณ วงศ์คาปัน บัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ หนึ่งในผู้เข้าร่วม “โครงการพัฒนาทักษะผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์รุ่นใหม่” ตอบคาถามผู้เข้าร่วมงานในเวทีสรุปบทเรียน หนึ่งปีแรกของการพัฒนาทักษะผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์รุ่น ใหม่ เมื่อปลายเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา “โครงการพัฒนาทักษะผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์รุ่นใหม่” เริ่มต้นเมื่อเดือนพฤษภาคม 2559 มีระยะเวลา 3 ปี เกิดจากความร่วมมือของหน่วยงานภายใน สวทช. ได้แก่ โปรแกรมเมล็ดพันธุ์ ฝ่ายพัฒนาบัณฑิตและ นักวิจัย สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม เกษตร ร่วมกับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ วิทยาลัยเกษตร และเทคโนโลยีเชียงใหม่ และบริษัทผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ 6 แห่ง บ่มเพาะคนรุ่นใหม่สู่การเป็น “ผู้ประกอบการ เมล็ดพันธุ์” ที่จะสร้างเครือข่ายการผลิตเมล็ดพันธุ์สู่ ชุมชน และเพิ่มขีดความสามารถการผลิตเมล็ดพันธุ์ ของประเทศสู่การเป็น “ศูนย์กลางเมล็ดพันธุ์โลก หรือ Seed Hub” ปีแรกของโครงการฯ ผู้เข้าร่วมทั้ง 27 คนได้เรียนรู้ และฝึกปฏิบัติทุกขั้นตอนจากบริษัทผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ รวมทั้งความรู้ด้านธุรกิจ อาทิ การบริหารจัดการ การ บริหารการเงินการบัญชี การตลาด และกฎระเบียบที่ 9 พฤษภาคม 2560 10 หลังจากที่กลับไปเริ่มต้นผลิตเมล็ดพันธุ์ ผู้เข้าร่วม โครงการได้เรียนรู้และแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในการผลิต ไม่ว่าจะเป็น คุณภาพดิน การขาดแคลนน้า โรคพืชและ แมลง โดยมี สวทช. ผู้เชี่ยวชาญ และบริษัทพี่เลี้ยง ติดตามและให้คาแนะนาอย่างใกล้ชิด พร้อมทั้งสนับสนุน เทคโนโลยีที่เหมาะสมจาก สวทช. และหน่วยงาน พันธมิตร เกี่ยวข้อง ก่อนที่จะกลับไปเริ่มปฏิบัติจริงที่บ้านเกิดของ ตนเอง โดยในปีแรกนี้บัณฑิตจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ 11 คน ได้กลับไปเริ่มผลิตเมล็ดพันธุ์ที่บ้านเกิด หลังจาก ฝึกปฏิบัติเข้มข้นกับบริษัทพี่เลี้ยงมาแล้ว 6 เดือน ขณะที่ น้องๆ จากวิทยาลัยฯ ทั้ง 16 คนยังฝึกปฏิบัติกับบริษัท พี่เลี้ยง เนื่องจากยังต้องเรียนควบคู่ไปด้วย น้องเมย์-น.ส.สุวิตรี แดนขนาน อ.ปากช่อง จ. นครราชสีมา เลือกผลิตเมล็ดพันธุ์มะระ และถั่วฝักยาว การผลิตรอบแรกสามารถ ผลิตเมล็ดพันธุ์มะระส่งให้บริษัทได้ถึง 50 กิโลกรัม ถั่วฝักยาวได้ 60 กิโลกรัม แต่ยัง ประสบปัญหาขาดแคลนน้าในช่วงหน้าแล้ง ซึ่งน้องเมย์วางแผนเจาะบาดาลและขุดบ่อ เก็บน้าเพื่อแก้ปัญหาในอนาคต ขวบปีแรกของ “โครงการพัฒนาทักษะผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์รุ่นใหม่”: เรียนรู้...เพื่อเติบโต
  • 11. 11 ขณะที่น้องอุ้ม-นายอรุณ วงศ์คาปัน แม้จะยังไม่ได้ลงมือผลิตเมล็ดพันธุ์ทันทีหลังกลับบ้าน เนื่องจากต้องการปลูก ให้เหมาะกับฤดูกาลของพืช แต่ได้วางแผนการใช้พื้นที่เช่าเพื่อการเพาะปลูกและผลิตเมล็ดพันธุ์ โดยจะผลิตทั้งเมล็ด พันธุ์ส่งบริษัทและผลิตผลสดเพื่อสร้างรายได้ควบคู่ไปด้วย “โครงการฯ นี้เป็นโครงการเฉพาะที่เน้นและมีเป้าหมายชัดเจนที่จะผลิต นักผลิตเมล็ดพันธุ์รุ่นใหม่ โดยมีระยะเวลาบ่มเพาะที่ต่อเนื่อง เพื่อให้ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถผลิตเมล็ดพันธุ์ด้วยตนเองได้ และพัฒนาเป็น ผู้ประกอบการในอนาคต หลังจากที่ได้ร่วมกันฝึกผู้เข้าร่วมโครงการ ความเปลี่ยนแปลงที่เห็นชัดเจนคือ ความมั่นใจในการทางาน ผู้เข้าร่วม โครงการฯ สามารถนาความรู้ไปประกอบอาชีพของตัวเองได้ในระดับหนึ่ง ถือว่าบรรลุเป้าหมายในเบื้องต้น” เสียงสะท้อนจากคุณอวด ตรีโอษฐ์ บริษัท สุพรีมโกลด์ซีดส์ จากัด หนึ่งใน ผู้ประกอบการที่เข้าร่วมโครงการ การเริ่มต้นผลิตเมล็ดพันธุ์ในช่วงแรก ไม่เพียงผู้เข้าร่วมโครงการได้เรียนรู้และรับมือปัญหาจากการผลิต หากยัง ได้รับบททดสอบเป็นแรงกดดันจากผู้คนในชุมชน “เรียนจบปริญญาตรี แต่มาอยู่บ้านทาเกษตร” ซึ่งในเวทีสรุปบทเรียน ครั้งนี้ ผู้เข้าร่วมโครงการทุกคนยังคงมุ่งมั่นที่จะเดินบนเส้นทางนี้ โดยมี “ครอบครัว” ที่พร้อมสนับสนุน “กลัวแต่ก็เลือกที่จะทาต่อ เพราะได้ทางานที่อิสระและได้อยู่บ้านกับพ่อแม่ ความกลัวและความเสี่ยงเป็น การลงทุนอย่างหนึ่ง และยังมีพ่อแม่ อาจารย์ สวทช. ที่อยู่กับเรา ทาให้เราฮึดสู้ มีกาลังใจ มีคนที่สู้ไปด้วยกัน” น้องนก-น.ส.สุธานี วันดี นอกจากประสบการณ์การผลิตเมล็ดพันธุ์ที่เพิ่มขึ้นจากการลงมือปฏิบัติจริงแล้ว ระยะเวลา 6 เดือนที่กลับไปอยู่ บ้าน หลายคนได้สะท้อนผ่านเวทีนี้ว่า รู้สึกโตเป็นผู้ใหญ่และมีความรับผิดชอบมากขึ้น โดยเฉพาะการหารายได้ให้ ครอบครัว หนึ่งปีแรกของ “โครงการพัฒนาทักษะผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์รุ่นใหม่” ไม่เพียงบ่มเพาะคนรุ่นใหม่สู่อุตสาหกรรมเมล็ด พันธุ์ หากยังได้นาคนรุ่นใหม่ที่มีความรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม กลับคืนถิ่นพัฒนาการทาเกษตรให้ ดียิ่งขึ้น
  • 12. คุณจิราพร โคตรมิตร และคุณอดิศร โคตร มิตร Young Smart Farmer จังหวัดนครพนม สองพี่น้องเป็นเยาวชนในพื้นที่อาเภอนาหว้า จังหวัด นครพนม ออกจากบ้านไปเรียนและทางานต่าง จังหวัดนาน 20 ปี เพิ่งกลับมาอยู่บ้านกับพ่อแม่เมื่อ ปี 2558 ที่จังหวัดนครพนม ตั้งใจจะกลับมาทาเรื่อง เกษตรอินทรีย์ ปลูกข้าวและผักปลอดสารพิษ สาน ต่อความฝันของผู้เป็นพ่อ ซึ่งเคยเป็นเกษตรอาเภอ เก่า โดยเริ่มจากต้นจากสิ่งที่ตัวเองชอบ คุณจิราพร เล่าว่า ตอนนั้นคิดแค่ว่าตั้งใจเก็บความรู้ที่ยายและ พ่อแม่สอนไว้ก่อน พอยิ่งเรียนยิ่งรู้ว่าภูมิปัญญาที่ สืบทอดกันมามีคุณค่ามาก ถ้ารุ่นเราไม่ทาคงไม่มี ใครทาต่อแล้ว จึงตัดสินใจเรียนรู้จริงจัง คิดหาทาง ต่อยอดให้ภูมิปัญญานี้ให้ไปไกลที่สุด พอคิดแล้วก็ อยากทาให้ดี ขุดคุ้ยวิชาต่างๆ มีแผนทากิจกรรม การท่องเที่ยวชุมชนเชิงเกษตรและวัฒนธรรม การ ต่อยอดภูมิปัญญา การเชื่อมเครือข่ายให้ทุกคนมี ส่วนร่วม และเกิดไอเดียสร้าง "โรงย้อมยายยอด“ ขึ้น โดยให้โรงย้อมเป็นศูนย์กลางรับซื้อน้าคราม ฝ้าย และวัตถุดิบที่ให้สีต่างๆ เช่น ขมิ้น อัญชัน เปลือกไม้ หมากเม่า ฯลฯ จากคนในชุมชน สาหรับสมาชิกที่ ชอบทอผ้าและทาคราม ส่วนสมาชิกที่ชอบทาเกษตร ได้จัดตั้งกลุ่ม “ปลูกผักปลอดสาร” และ “ปลูกข้าว อินทรีย์” เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับคนในชุมชน โดยระหว่างนั้นได้ขอรับคาปรึกษาจาก คุณ ปิยะทัศน์ ทัศนิยม ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เกษตรอินทรีย์โนนกลาง จังหวัดอุบลราชธานี เมื่อช่วงเดือนมีนาคม 2560 คุณจิราพร และ คุณอดิศร ทราบจากคุณปิยะทัศน์ว่า สวทช. จะ จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การบริหาร จัดการพืชผักในระบบอินทรีย์แบบครบวงจร” ณ วัด ธาตุน้อยศรีบุญเรือง อาเภอธาตุพนม จังหวัด นครพนม จึงได้ขอเข้าร่วมการอบรมในครั้งนั้นด้วย ซึ่งจากการเข้าร่วมอบรมได้นามาปรับใช้ผลิตปุ๋ยของ ตน และเล็งเห็นว่าจะช่วยให้ต้นทุนการผลิตลดลง มาก จึงมีความตั้งใจผลิตปุ๋ยอินทรีย์ที่มีคุณภาพและ ใช้วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรตามฤดูกาลเป็น วัตถุดิบหลัก เพื่อลดต้นทุนการผลิตภายในกลุ่ม ต่อไป แต่ถ้าจะบอกให้คนในชุมชนทาตามที่บอกก็ ไม่ใช่เรื่องง่าย จึงได้ติดต่อมายังเจ้าหน้าที่ สวทช. อีก ครั้ง เพื่อขอให้จัดการอบรม “การทาปุ๋ยหมักแบบ ไม่พลิกกลับกอง” ให้กับชุมชน เจ้าหน้าที่ สวทช. ได้ให้คาแนะนาว่า หัวใจ หลักของการท้าเกษตรคือ “ดิน” หากต้องการนา ปุ๋ยอินทรีย์ไปใช้ปรับปรุงดินให้มีประสิทธิภาพนั้น เกษตรกรต้องรู้จักดินของตนเองก่อนและสามารถ ตรวจวิเคราะห์ดินได้ด้วยตนเอง เพื่อปรับปรุงดินได้ ถูกต้องและสามารถเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรได้ จริง การปรับปรุงดินนั้นการใช้แค่ปุ๋ยอินทรีย์อย่าง เดียวอาจไม่เพียงพอ อาจต้องเติมวัสดุปรับปรุงดิน อื่นๆ ลงไปในปุ๋ยหรือดินเพิ่มเติม เพื่อให้ดินตนเอง เหมาะแก่การเพาะปลูกพืชมากขึ้น 9 พฤษภาคม 2560 “สานฝันเพื่อพ่อ...ท้าสวนพอเพียง” 12 คุณจิราพร โคตรมิตร Young Smart Farmer จังหวัดนครพนมโรงย้อมยายยอด
  • 13. กิจกรรมต่อมา คุณปิยะทัศน์ ทัศนิยม ประธาน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ตาบลโนนกลาง จังหวัดอุบลราชธานี ได้บรรยายเรื่อง “แนวทางการ จัดการดินเบืองต้นเพื่อเพิ่มผลผลิตทาง การเกษตร” โดยเล่าถึงวิธีการปรับปรุงดินด้วย วัตถุดิบต้นทุนต่าที่สามารถหาได้ง่าย เช่น แกลบดา โดโลไมท์ ขี้ไก่ ขี้หมู ขี้วัว ปูนขาว ฯลฯ และการใช้น้า หมักจากเศษผัก ผลไม้ ช่วยปรับปรุงดิน ช่วงสุดท้ายของกิจกรรม ผู้เข้าร่วมอบรมได้เรียนรู้ และฝึกปฏิบัติ “การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง ด้วยวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร” โดยอาจารย์ แสนวสันต์ ยอดคา คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรม เกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นวิทยากรให้ความรู้ “จากสิ่งที่ได้อบรมในครั้งนี้ มองว่าเป็นประโยชน์อย่าง ยิ่งแก่ชุมชน สามารถทาได้ ซึ่งจะทาแน่นอน โดยจะต้อง ร่วมกันทาเป็นกลุ่ม ไม่สามารถทาคนเดียวได้” คุณอดิศร กล่าวทิ้งท้าย หลังจากพูดคุยหารือร่วมกันแล้ว ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชน สท. จึงได้จัดอบรม เชิงปฏิบัติการ “การผลิตอินทรียวัตถุบารุงดินและปุ๋ย” ณ ศูนย์การเรียนรู้สวนเกษตรเจ อ้าเภอนาหว้า จังหวัด นครพนม เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560 เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยหมักไม่พลิกกลับกอง การตรวจ วิเคราะห์ดิน และวางแนวทางลดต้นทุนการผลิตในภาคเกษตรกรรมให้ชุมชน โดยมีผู้เข้ารับการอบรมเป็นเกษตรกร ในพื้นที่อาเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม จานวน 35 คน รูปแบบการอบรมมีทั้งบรรยายทฤษฎีและลงมือปฏิบัติ ซึ่ง ก่อนการอบรม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลนาหว้าได้ตรวจเลือดเพื่อหาสารพิษตกค้างให้ผู้เข้าอบรม โดยพบว่าส่วนใหญ่มีสารพิษตกค้างในร่างกาย ข้อมูลนี้จะเป็นส่วนสาคัญต่อการเปลี่ยนวิถีการทาเกษตรของชุมชน ได้ หลังจากนั้นผู้เข้าร่วมอบรมได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติ “การตรวจวิเคราะห์ดินเบืองต้นส้าหรับเกษตรกร” ซึ่ง นักวิชาการ สท. ได้ให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับดิน อาทิ คุณสมบัติดิน กรด-เบสในดิน ธาตุอาหารในดิน ความสาคัญของการตรวจวิเคราะห์ธาตุอาหารในดิน เป็นต้น จากนั้นผู้เข้าร่วมอบรมได้ฝึกปฏิบัติตรวจวิเคราะห์ดิน จากแปลงของตนเอง เพื่อวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง และตรวจวิเคราะห์ธาตุอาหารในดิน ได้แก่ แอมโมเนียม ไนเตรต ฟอสเฟต โพแทสเซียม 13 ตรวจเลือดหาสารพิษตกค้าง ตรวจวิเคราะห์ดิน คุณณัฐวุฒิ ด้าริห์ คุณปิยะทัศน์ ทัศนิยม การท้าปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกลับกอง
  • 14. 9 มิถุนายน 2560 เดือนมิถุนายน 2560 ฝ่ายจัดการความรู้เพื่อเกษตรและชุมชน 6 เก็บข้อมูลกิจกรรมทาปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกลับ กอง ณ บ้านทุ่งฮ้าง อ.แม่แจ่ม จ.ลาปาง 7-8 เก็บข้อมูลการเสวนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “ทายาทเกษตรกรรุ่นใหม่ ก้าวไกลด้วย วทน. รุ่นที่ 1 และรุ่นที่ 2” ณ หอประชุมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยภาคเหนือ จ.ลาปาง 9-10 เก็บข้อมูลการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “วิธีการเพาะเลี้ยงและขยายรังชันโรง” อ.อัมพวา จ.สมุทรสาคร 12-13 เก็บข้อมูลการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การ เพาะเลี้ยงเพรียงทรายสู่การต่อยอดในเชิงธุรกิจ” ณ อาคารบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร อุทยาน วิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี 15-16 ร่วมกิจกรรมเก็บข้อมูลผลกระทบกลุ่ม เครือข่ายวิสาหกิจชุมชนเกษตรกรรมยั่งยืนน้าอ้อม และกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มข้าวคุณค่าชาวนา คุณธรรม จ.ยโสธร 21-23…เก็บข้อมูลการให้คาแนะนาการผลิต น้ายางข้นเพื่อใช้ผลิตหมอนยางพารา ณ กลุ่ม เกษตรกรบ้านแพรกหา อ.ควนขนุน จ.พัทลุง ฝ่ายบริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม 9-10 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “วิธีการ เพาะเลี้ยงและขยายรังชันโรง” ณ จ.เชียงใหม่ 15-16……เก็บผลกระทบเชิงสังคมกลุ่มเครือข่าย วิสาหกิจชุมชนเกษตรกรรมยั่งยืนน้าอ้อม และกลุ่ม วิสาหกิจชุมชนกลุ่มข้าวคุณค่าชาวนาคุณธรรม และกลุ่มเกษตรธรรมชาติหนองยอ จ.ยโสธร 29-30…..ลงพื้นที่สัมภาษณ์กลุ่มเครือข่ายชุมชน อ.ระโนด อ.กระแสสินธุ์ อ.สทิงพระ จ.สงขลา และ สัมภาษณ์กลุ่มเครือข่ายชุมชน อ.รัตภูมิ อ.จะนะ จ.สงขลา ฝ่ายยุทธศาสตร์และสร้างพันธมิตร 12-13 ร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทาแผน วทน. สู่ภูมิภาค ปีงบประมาณ 2560-2561 : ภาคใต้สอง สมุทร ณ โรงแรมบรรจงบุรี จ.สุราษฏร์ธานี 21-22’’’ลงพื้นที่ศึกษาการดาเนินงานสุขภาวะ ชุมชนเชิงบูรณการด้วย วทน. ของบริษัท เบทาโกร จากัด (มหาชน) ณ บริษัทเบทาโก ต.ช่องสาริกา อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี 28……ติดตามการดาเนินงานเครื่องสีข้าวชุมชน วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ดอกคา อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ 29-30…...ร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทาแผน วทน. สู่ภูมิภาค ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-2564 : กลุ่มภาคเหนือ 12 1
  • 15. 9 มิถุนายน 2560 เดือนมิถุนายน 2560 ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชน 5 ประชุมหารือความร่วมมือกับผู้อานวยการ ชลประทานท่าโบสถ์ และเกษตรกร อ.หันคา จ.ชัยนาท 6 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการทาปุ๋ยหมักแบบไม่ พลิบกลับกอง ณ บ้านทุ่งฮ้าง อ.แม่แจ่ม จ.ลาปาง 7-8 จัดกิจกรรมการเสวนาเชิงปฏิบัติการหลัก สูตร ทายาทเกษตรกรรุ่นใหม่ ก้าวไกลด้วย วทน. รุ่นที่ 1 และรุ่นที่ 2 ณ หอประชุมการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคเหนือ จ.ลาปาง 12-13 ลงพื้นที่หารือแนวทางการใช้สารชีว- ภัณฑ์ ร่วมกับ ศจช.อาเภอ ภูกระดึง จ.เลย และ หารือแนวทางการใช้สารชีวภัณฑ์ ร่วมกับ ศทอ. ขอนแก่น ณ ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตร ด้านอารักขาพืช จังหวัดขอนแก่น 14-16 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “การ ผลิตอินทรีย์วัตถุบารุงดินและการเลี้ยงไส้เดือนเพื่อ ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ณ บ้านชบา ต.ตาโกน อ.เมือง จันทร์ จ.ศรีสะเกษ ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชน 19-20… ประชุมหารือการจัดโครงการทายาท เกษตรกรรุ่นใหม่ ก้าวไกลด้วย วทน. ณ สานักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย จ.สกลนคร 21 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “การกาจัด ผักตบชวา ด้วยเทคโนโลยีการทาปุ๋ยหมักแบบ ไม่พลิกกลับกอง” ณ สานักงานโครงการส่งน้า และบารุงรักษาน้าท่าโบสถ์ ต.สามง่าม อ.หันคา จ.ชัยนาท 21-22 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร การ ใช้สารชีวภัณฑ์บิวเวอเรีย จ.เชียงใหม่ และจ.แพร่ 27 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “การผลิต ปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกลับกอง ณ บ้านนาคู อ.ผักไห่ จ.อยุธยา 29-30 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร การ ใช้สารชีวภัณฑ์บิวเวอเรีย จ.สุราษฎร์ธานี และ จ.สงขลา 13 2