SlideShare a Scribd company logo
งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน   โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า
“ การสอนและการอบรมให้เด็กมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์พืชพรรณนั้น ควรปลูกฝังให้เด็กเห็นความงดงาม ความน่าสนใจ และเกิดความปิติที่จะทำการศึกษาและอนุรักษ์พืชพรรณต่อไป การใช้วิธีการสอน การอบรมที่ให้เกิดความรู้สึกกลัวว่า หากไม่อนุรักษ์แล้วจะเกิดผลเสีย เกิดอันตรายแก่ตนเอง จะทำให้เด็กเกิดความเครียด ซึ่งจะเป็นผลเสียแก่ประเทศในระยะยาว ”   พระราชดำริในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
โครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน   หลักการและเหตุผล อันเนื่องมาจากพระราชดำริบางประการของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี  “ การสอนและการอบรมให้เด็กมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์พืชพรรณนั้น ควรปลูกฝังให้เด็กเห็นความงดงาม ความน่าสนใจ และเกิดความปิติที่จะทำการศึกษาและอนุรักษ์พืชพรรณต่อไป การใช้วิธีการสอน การอบรมที่ให้เกิดความรู้สึกกลัวว่า หากไม่อนุรักษ์แล้วจะเกิดผลเสีย เกิดอันตรายแก่ตนเอง จะทำให้เด็กเกิดความเครียด ซึ่งจะเป็นผลเสียแก่ประเทศในระยะยาว ”  โครงการอนุรักษ์พันธุ์พืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ได้สนองพระราชดำริโดยจัดทำโครงการ  “ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ”  เพื่อเป็นสื่อให้เยาวชนใกล้ชิดกับพืชพรรณ เห็นคุณค่าประโยชน์ ความสวยงาม อันก่อให้เกิดความคิดที่จะอนุรักษ์พันธุกรรมพืชต่อไป จากโครงการดังกล่าวประกอบกับการเรียนรู้แบบบูรณาการ โดยใช้แหล่งเรียนรู้ต่างๆที่มีอยู่ในโรงเรียนให้เกิดประโยชน์กับทุกรายวิชา นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง จะเกิดจิตสำนึกในการอนุรักษ์พืชพรรณ และได้รับประโยชน์ต่างๆ และบุคคลในชุมชนสามารถที่จะเข้ามาทำการศึกษาค้นคว้าและเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจได้ด้วย
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
องค์ประกอบ  สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน จัดทำป้ายชื่อ การรวบรวมพรรณไม้เข้าปลูกในโรงเรียน ศึกษาข้อมูลด้านต่างๆ เขียนรายงาน การนำไปใช้ประโยชน์
ด้านที่  1   การบริหาร  และการจัดการ
1.1   การจัดทำแผนงาน 1.2  การแต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการ   / ดำเนินการ / ปฏิบัติการ 1.3   การดำเนินงานตามแผนงาน 1.4   การประชุมคณะกรรมการอำนวยการ / ดำเนินการ / ปฏิบัติการ  หรือผู้รับผิดชอบเพื่อติดตามความก้าวหน้า 1.5   การประสานงานของคณะกรรมการผู้รับผิดชอบใน  แต่ละฝ่ายของโรงเรียน
1.7   การรายงานความก้าวหน้าให้ อพ . สธ . ปีละ  1  ครั้ง 1.8   การสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์และงบประมาณ 1.9   การสรุปและประเมินผลการปฏิบัติงาน 1.10   การวิเคราะห์ผลและนำผลไปปรับปรุงพัฒนางาน 1.6   การประสานงานของชุมชน หรือการใช้วิทยากรท้องถิ่น
รับการถ่ายทอดความรู้จากวิทยากรท้องถิ่น  คุณ จรินทร พิมพุด   ( ประธานกลุ่มเกษตรคลอง  10)  ในการศึกษาการปลูกกล้วย
รับการถ่ายทอดความรู้จากวิทยากรท้องถิ่น  คุณ ไหมสาเหร๊าะ ซากีรี   ในการศึกษาการแปรรูปสมุนไพร ให้เป็นผลิตภัณฑ์  ยาสระผมและครีมอาบน้ำ
ด้านที่  2   การดำเนินการ
2.1   การสำรวจพรรณไม้เพื่อทราบชนิด จำนวนและตำแหน่ง ในพื้นที่ของโรงเรียน
แผนผังสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
สวนพฤษศาสตร์โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า   หมายเลข  สถานที่    หมายเลข  สถานที่   1.  สวนวรรณคดี   11.  แนวปาริชาติ  2.  สวนศิลป์  1  12.  สวนหน้าอาคารเอนกประสงค์   3.  สวนศิลป์  2  13.  สวนข่อย  4.  สวนครัว  14.   สวนหย่อมข้างห้องโสตฯ  5.  สวนสมุนไพร   15.  สวนหย่อมข้างห้องบริการ  6.  สวนน้ำตก  16.  แนวลำธาร   7. สวนข้างหอพระ  17.  แนวจอดรถ  8.  สวนริมคลอง  18.  สวนข้างอาคารเกษตร  9.  ลานรวมใจ  19.  สวนเฉลิมพระเกียรติ  72  พรรษา   10.  แนวปาล์ม   20.  รอบข้างสนามบอล
2.2   การจัดทำและติดชื่อพรรณไม้ในโรงเรียน 2.3   การจัดทำสมุดบันทึกข้อมูลพันธุ์ไม้ในโรงเรียนตาม  แบบของ อพ .  สธ . 2.4   จัดทำตัวอย่างพรรณไม้ 2.5   การเขียนรายงานการศึกษาพรรณไม้ใน  ด้านพฤกษศาสตร์ ชีววิทยาและนิเวศวิทยา 2.6   การเขียนรายงานการศึกษาพรรณไม้ในด้านการใช้ประโยชน์
การศึกษา การจัดเก็บตัวอย่างพรรณไม้
ด้านที่  3   ผลการดำเนินการ
3.1   สภาพแวดล้อมทางกายภาพทั่วไปของโรงเรียนสะอาด  ร่มรื่น  น่าอยู่ 3.2   โรงเรียนมีชีวิตชีวา มีบรรยากาศแห่งการเรียนรู้
 
 
 
 
บรรยากาศสิ่งแวดล้อมสวยงาม
บรรยากาศสิ่งแวดล้อมสวยงาม
3.3   ครูและนักเรียนมีความใกล้ชิดในการจัดการเรียนรู้ 3.4   ครูมีแผนการสอนร่วมกันแบบบูรณาการ 3.5   นักเรียนมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
นักเรียนมีส่วนร่วมใน  “ การดูแลรักษา ”  สวนพฤกษศาสตร์
เป็นแหล่งเรียนรู้
กิจกรรมบูรณาการ  การศึกษาพรรณไม้  โดยใช้แหล่งเรียนรู้นอกสถานที่
ทุ่งแสลงหลวง   :   ศึกษาสภาพป่าและการอนุรักษ์
การปลูกป่าและศึกษาพรรณไม้ ณ  ต .  หนองหญ้าปล้อง  จ .  เพชรบุรี
ณ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอื้อง  การอบรม  การพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง 24  –  26  ธันวาคม  2546
3.6   นักเรียนมีส่วนร่วมในการขยายผลจากการเรียนรู้เกี่ยวกับพืชพรรณไม้ไปสู่เพื่อนนักเรียน
การเผยแพร่และถ่ายทอดความรู้จากผู้เรียนสู่ชุมชน
นักเรียนมีส่วนร่วมในการขยายผลจากการเรียนรู้เกี่ยวกับพืชพรรณไม้ไปสู่เพื่อนนักเรียน
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ  เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า งานประชุมวิชาการและนิทรรศการ  ทรัพยากรไทย  :   ธรรมชาติแห่งชีวิต ณ สำนักพระราชวังดุสิต  สนามเสือป่า วันที่  9-15  พฤษภาคม  2546
กิจกรรมการนำเสนองานทางวิชาการเรื่อง  “ กล้วย ”  และผลการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เพื่อรับ ป้ายพระราชทาน  ปี  2546  ระหว่าง วันที่  9 - 15  พ . ค . 2546
การศึกษาเรื่อง  “ กล้วย ”
บทคัดย่อ กล้วยเป็นพืชล้มลุกจัดอยู่ใน  Family Musaceae, Order Scitamineae  พืชใน  Musaceae   มี  2  สกุล คือ   Musa   ซึ่งได้แก่กล้วยแตกกอหรือกล้วยที่เห็นอยู่ทั่วไป และ   Ensete   คือ กล้วยผาหรือกล้วยที่ไม่แตกกอ ลำต้นใต้ดิน ของกล้วยเรียกว่า  “ เหง้ากล้วย ”  มีขนาดใหญ่ บนเหง้ากล้วยจะมีข้อและปล้องที่มีขนาดสั้นมาก รากกล้วย  จะเจริญอยู่บริเวณรอบเหง้ากล้วย   ในระยะแรกรากกล้วยจะมีสีขาวและอวบ แล้วเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้ม ลำต้นเทียม  เป็นส่วนที่ยึดของลำต้นใต้ดินที่จะเจริญเติบโตขึ้น ประกอบด้วยกาบ ใบ ที่ประกบกันแน่น เมื่อต้นกล้วยเจริญเติบโตขึ้นเป็นระยะๆ กาบใบจะค่อยๆคลี่ออกทีละกาบ กาบใบแรกๆจะมีขนาดเล็ก  “ กาบใบแคบ ”  กาบใบที่สองเรียกว่า  “ กาบใบกว้าง ” กาบใบที่สามเรียกว่า  “ กาบใบแก่ ” ช่อดอก  เรียกอีกชื่อว่า ปลีกล้วย หรือหัวปลี   ช่อดอกกล้วยนี้จะเจริญจากกลางเหง้ากล้วยผ่านกลางลำต้นออกมาทางยอด ตาที่อยู่บริเวณโคนกาบปลีจะเจริญเติบโตและม้วนตัวออกทีละกาบ จะเห็นดอกกล้วยซึ่งเป็นดอกตัวเมียที่จะเจริญเป็นผลกล้วยต่อไป  ดอกกล้วย  ลักษณะของดอกกล้วยจะมีกลีบเลี้ยงและกลีบดอกซึ่งไม่แยกออกจากกันทำให้มองเห็นกลีบสีเหลือง สีครีม  2  ชั้น มีกลีบใหญ่  3  กลีบ กลีบเล็ก  2  กลีบ เชื่อมติดกันอยู่เป็นอันเดียว ผลกล้วย  จะรวมอยู่ด้วยกันเป็นกลุ่ม กลุ่มละประมาณ  10-20  ผล แต่ละกลุ่มรวมกันเรียกว่า  “ หวี ”   ( hand )  กล้วยแต่ละหวีจะเกาะติดอยู่กับก้านขอบช่อดอกเรียก  “ เครือ ” ( bunch ) ทุกส่วนของกล้วยมีประโยชน์มากไม่ว่า ลำต้น ราก ลำต้นเทียม ใบ ดอก และผล กล่าวคือ มีการใช้ลำต้นเทียมและใบ ในการประดิษฐ์งานฝีมือของไทยหลายชนิด เช่น กระทง บายศรี เป็นต้น ส่วนของราก ลำต้น ใช้เป็นยาสมุนไพร  ดอกและผล ใช้รับประทาน ลำต้นเทียมใช้ทำเป็นเส้นใย ผลของกล้วยเป็นส่วนที่มีคุณค่ามากที่สุด โดยมีแร่ธาตุต่างๆ และวิตามินหลายชนิด
ศึกษาลักษณะทางด้านพฤกษศาสตร์ ราก ลำต้น ใบ ดอก ผล เมล็ด
ศึกษาด้านชีววิทยา วงจรชีวิต การเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์พืช
ศึกษาด้านนิเวศวิทยา ความสัมพันธ์  ระหว่างพืช และสัตว์
ศึกษาด้านการใช้ประโยชน์ การแปรรูป ยา อาหารและอื่นๆ
สวัสดี

More Related Content

Similar to 20080901banana_ntun

โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพพระรัตนราชสุดา...
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพพระรัตนราชสุดา...โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพพระรัตนราชสุดา...
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพพระรัตนราชสุดา...
elizaboth
 
20080801 Tiwgliang Spr
20080801 Tiwgliang Spr20080801 Tiwgliang Spr
20080801 Tiwgliang Sprelizaboth
 
khuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomkhuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomwimon1960
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
nondang
nondangnondang
nondangsakorn
 
932 pre8
932 pre8932 pre8
โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1
โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1
โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1PN17
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
Panpattana
PanpattanaPanpattana
Panpattanasakeenan
 
สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ
สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ จังหวัดศรีสะเกษสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ
สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ จังหวัดศรีสะเกษbeamstory
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำWareerut Hunter
 
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
aj_moo
 
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-28 (ตรวจครั้งที่2)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-28 (ตรวจครั้งที่2)ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-28 (ตรวจครั้งที่2)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-28 (ตรวจครั้งที่2)maneerat
 

Similar to 20080901banana_ntun (20)

AnubanUttaradit
AnubanUttaraditAnubanUttaradit
AnubanUttaradit
 
anuban
anubananuban
anuban
 
anuban
anubananuban
anuban
 
20080901 Saka Patai
20080901 Saka Patai20080901 Saka Patai
20080901 Saka Patai
 
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพพระรัตนราชสุดา...
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพพระรัตนราชสุดา...โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพพระรัตนราชสุดา...
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพพระรัตนราชสุดา...
 
20080801 Tiwgliang Spr
20080801 Tiwgliang Spr20080801 Tiwgliang Spr
20080801 Tiwgliang Spr
 
khuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomkhuankalong wittayakom
khuankalong wittayakom
 
br002
br002br002
br002
 
Ko
KoKo
Ko
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
nondang
nondangnondang
nondang
 
932 pre8
932 pre8932 pre8
932 pre8
 
Sweet
SweetSweet
Sweet
 
โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1
โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1
โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
Panpattana
PanpattanaPanpattana
Panpattana
 
สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ
สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ จังหวัดศรีสะเกษสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ
สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
 
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
 
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-28 (ตรวจครั้งที่2)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-28 (ตรวจครั้งที่2)ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-28 (ตรวจครั้งที่2)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-28 (ตรวจครั้งที่2)
 

20080901banana_ntun

  • 1. งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า
  • 2. “ การสอนและการอบรมให้เด็กมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์พืชพรรณนั้น ควรปลูกฝังให้เด็กเห็นความงดงาม ความน่าสนใจ และเกิดความปิติที่จะทำการศึกษาและอนุรักษ์พืชพรรณต่อไป การใช้วิธีการสอน การอบรมที่ให้เกิดความรู้สึกกลัวว่า หากไม่อนุรักษ์แล้วจะเกิดผลเสีย เกิดอันตรายแก่ตนเอง จะทำให้เด็กเกิดความเครียด ซึ่งจะเป็นผลเสียแก่ประเทศในระยะยาว ” พระราชดำริในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
  • 3. โครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน หลักการและเหตุผล อันเนื่องมาจากพระราชดำริบางประการของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี “ การสอนและการอบรมให้เด็กมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์พืชพรรณนั้น ควรปลูกฝังให้เด็กเห็นความงดงาม ความน่าสนใจ และเกิดความปิติที่จะทำการศึกษาและอนุรักษ์พืชพรรณต่อไป การใช้วิธีการสอน การอบรมที่ให้เกิดความรู้สึกกลัวว่า หากไม่อนุรักษ์แล้วจะเกิดผลเสีย เกิดอันตรายแก่ตนเอง จะทำให้เด็กเกิดความเครียด ซึ่งจะเป็นผลเสียแก่ประเทศในระยะยาว ” โครงการอนุรักษ์พันธุ์พืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ได้สนองพระราชดำริโดยจัดทำโครงการ “ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ” เพื่อเป็นสื่อให้เยาวชนใกล้ชิดกับพืชพรรณ เห็นคุณค่าประโยชน์ ความสวยงาม อันก่อให้เกิดความคิดที่จะอนุรักษ์พันธุกรรมพืชต่อไป จากโครงการดังกล่าวประกอบกับการเรียนรู้แบบบูรณาการ โดยใช้แหล่งเรียนรู้ต่างๆที่มีอยู่ในโรงเรียนให้เกิดประโยชน์กับทุกรายวิชา นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง จะเกิดจิตสำนึกในการอนุรักษ์พืชพรรณ และได้รับประโยชน์ต่างๆ และบุคคลในชุมชนสามารถที่จะเข้ามาทำการศึกษาค้นคว้าและเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจได้ด้วย
  • 4.
  • 5. องค์ประกอบ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน จัดทำป้ายชื่อ การรวบรวมพรรณไม้เข้าปลูกในโรงเรียน ศึกษาข้อมูลด้านต่างๆ เขียนรายงาน การนำไปใช้ประโยชน์
  • 6. ด้านที่ 1 การบริหาร และการจัดการ
  • 7. 1.1 การจัดทำแผนงาน 1.2 การแต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการ / ดำเนินการ / ปฏิบัติการ 1.3 การดำเนินงานตามแผนงาน 1.4 การประชุมคณะกรรมการอำนวยการ / ดำเนินการ / ปฏิบัติการ หรือผู้รับผิดชอบเพื่อติดตามความก้าวหน้า 1.5 การประสานงานของคณะกรรมการผู้รับผิดชอบใน แต่ละฝ่ายของโรงเรียน
  • 8. 1.7 การรายงานความก้าวหน้าให้ อพ . สธ . ปีละ 1 ครั้ง 1.8 การสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์และงบประมาณ 1.9 การสรุปและประเมินผลการปฏิบัติงาน 1.10 การวิเคราะห์ผลและนำผลไปปรับปรุงพัฒนางาน 1.6 การประสานงานของชุมชน หรือการใช้วิทยากรท้องถิ่น
  • 9. รับการถ่ายทอดความรู้จากวิทยากรท้องถิ่น คุณ จรินทร พิมพุด ( ประธานกลุ่มเกษตรคลอง 10) ในการศึกษาการปลูกกล้วย
  • 10. รับการถ่ายทอดความรู้จากวิทยากรท้องถิ่น คุณ ไหมสาเหร๊าะ ซากีรี ในการศึกษาการแปรรูปสมุนไพร ให้เป็นผลิตภัณฑ์ ยาสระผมและครีมอาบน้ำ
  • 11. ด้านที่ 2 การดำเนินการ
  • 12. 2.1 การสำรวจพรรณไม้เพื่อทราบชนิด จำนวนและตำแหน่ง ในพื้นที่ของโรงเรียน
  • 14. สวนพฤษศาสตร์โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า หมายเลข สถานที่ หมายเลข สถานที่ 1. สวนวรรณคดี 11. แนวปาริชาติ 2. สวนศิลป์ 1 12. สวนหน้าอาคารเอนกประสงค์ 3. สวนศิลป์ 2 13. สวนข่อย 4. สวนครัว 14. สวนหย่อมข้างห้องโสตฯ 5. สวนสมุนไพร 15. สวนหย่อมข้างห้องบริการ 6. สวนน้ำตก 16. แนวลำธาร 7. สวนข้างหอพระ 17. แนวจอดรถ 8. สวนริมคลอง 18. สวนข้างอาคารเกษตร 9. ลานรวมใจ 19. สวนเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา 10. แนวปาล์ม 20. รอบข้างสนามบอล
  • 15. 2.2 การจัดทำและติดชื่อพรรณไม้ในโรงเรียน 2.3 การจัดทำสมุดบันทึกข้อมูลพันธุ์ไม้ในโรงเรียนตาม แบบของ อพ . สธ . 2.4 จัดทำตัวอย่างพรรณไม้ 2.5 การเขียนรายงานการศึกษาพรรณไม้ใน ด้านพฤกษศาสตร์ ชีววิทยาและนิเวศวิทยา 2.6 การเขียนรายงานการศึกษาพรรณไม้ในด้านการใช้ประโยชน์
  • 17. ด้านที่ 3 ผลการดำเนินการ
  • 18. 3.1 สภาพแวดล้อมทางกายภาพทั่วไปของโรงเรียนสะอาด ร่มรื่น น่าอยู่ 3.2 โรงเรียนมีชีวิตชีวา มีบรรยากาศแห่งการเรียนรู้
  • 19.  
  • 20.  
  • 21.  
  • 22.  
  • 25. 3.3 ครูและนักเรียนมีความใกล้ชิดในการจัดการเรียนรู้ 3.4 ครูมีแผนการสอนร่วมกันแบบบูรณาการ 3.5 นักเรียนมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
  • 26. นักเรียนมีส่วนร่วมใน “ การดูแลรักษา ” สวนพฤกษศาสตร์
  • 28. กิจกรรมบูรณาการ การศึกษาพรรณไม้ โดยใช้แหล่งเรียนรู้นอกสถานที่
  • 29. ทุ่งแสลงหลวง : ศึกษาสภาพป่าและการอนุรักษ์
  • 30. การปลูกป่าและศึกษาพรรณไม้ ณ ต . หนองหญ้าปล้อง จ . เพชรบุรี
  • 31. ณ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอื้อง การอบรม การพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง 24 – 26 ธันวาคม 2546
  • 32. 3.6 นักเรียนมีส่วนร่วมในการขยายผลจากการเรียนรู้เกี่ยวกับพืชพรรณไม้ไปสู่เพื่อนนักเรียน
  • 35. โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า งานประชุมวิชาการและนิทรรศการ ทรัพยากรไทย : ธรรมชาติแห่งชีวิต ณ สำนักพระราชวังดุสิต สนามเสือป่า วันที่ 9-15 พฤษภาคม 2546
  • 36. กิจกรรมการนำเสนองานทางวิชาการเรื่อง “ กล้วย ” และผลการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เพื่อรับ ป้ายพระราชทาน ปี 2546 ระหว่าง วันที่ 9 - 15 พ . ค . 2546
  • 38. บทคัดย่อ กล้วยเป็นพืชล้มลุกจัดอยู่ใน Family Musaceae, Order Scitamineae พืชใน Musaceae มี 2 สกุล คือ Musa ซึ่งได้แก่กล้วยแตกกอหรือกล้วยที่เห็นอยู่ทั่วไป และ Ensete คือ กล้วยผาหรือกล้วยที่ไม่แตกกอ ลำต้นใต้ดิน ของกล้วยเรียกว่า “ เหง้ากล้วย ” มีขนาดใหญ่ บนเหง้ากล้วยจะมีข้อและปล้องที่มีขนาดสั้นมาก รากกล้วย จะเจริญอยู่บริเวณรอบเหง้ากล้วย ในระยะแรกรากกล้วยจะมีสีขาวและอวบ แล้วเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้ม ลำต้นเทียม เป็นส่วนที่ยึดของลำต้นใต้ดินที่จะเจริญเติบโตขึ้น ประกอบด้วยกาบ ใบ ที่ประกบกันแน่น เมื่อต้นกล้วยเจริญเติบโตขึ้นเป็นระยะๆ กาบใบจะค่อยๆคลี่ออกทีละกาบ กาบใบแรกๆจะมีขนาดเล็ก “ กาบใบแคบ ” กาบใบที่สองเรียกว่า “ กาบใบกว้าง ” กาบใบที่สามเรียกว่า “ กาบใบแก่ ” ช่อดอก เรียกอีกชื่อว่า ปลีกล้วย หรือหัวปลี ช่อดอกกล้วยนี้จะเจริญจากกลางเหง้ากล้วยผ่านกลางลำต้นออกมาทางยอด ตาที่อยู่บริเวณโคนกาบปลีจะเจริญเติบโตและม้วนตัวออกทีละกาบ จะเห็นดอกกล้วยซึ่งเป็นดอกตัวเมียที่จะเจริญเป็นผลกล้วยต่อไป ดอกกล้วย ลักษณะของดอกกล้วยจะมีกลีบเลี้ยงและกลีบดอกซึ่งไม่แยกออกจากกันทำให้มองเห็นกลีบสีเหลือง สีครีม 2 ชั้น มีกลีบใหญ่ 3 กลีบ กลีบเล็ก 2 กลีบ เชื่อมติดกันอยู่เป็นอันเดียว ผลกล้วย จะรวมอยู่ด้วยกันเป็นกลุ่ม กลุ่มละประมาณ 10-20 ผล แต่ละกลุ่มรวมกันเรียกว่า “ หวี ” ( hand ) กล้วยแต่ละหวีจะเกาะติดอยู่กับก้านขอบช่อดอกเรียก “ เครือ ” ( bunch ) ทุกส่วนของกล้วยมีประโยชน์มากไม่ว่า ลำต้น ราก ลำต้นเทียม ใบ ดอก และผล กล่าวคือ มีการใช้ลำต้นเทียมและใบ ในการประดิษฐ์งานฝีมือของไทยหลายชนิด เช่น กระทง บายศรี เป็นต้น ส่วนของราก ลำต้น ใช้เป็นยาสมุนไพร ดอกและผล ใช้รับประทาน ลำต้นเทียมใช้ทำเป็นเส้นใย ผลของกล้วยเป็นส่วนที่มีคุณค่ามากที่สุด โดยมีแร่ธาตุต่างๆ และวิตามินหลายชนิด