SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
1
ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวจิราภรณ์ ระแหง รหัส 355013333504
2. นางสาวนภาทิพย์ จ้อยนุแสง รหัส 355013333510
5. นางสาวนฤดี โชติศรี รหัส 355013333511
0. นายวรวัฒน์ เอกวารี รหัส 355013333502
สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ศึกษา ชั้นปีที่ 0หมู ่่ 5
อาจารย์ประจาวิชา
อาจารย์ ปวริศ สาระมะโน
ภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา2332
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
2
สารบัญ
เรื่อง หน้า
การออกแบบเว็บเพจ 1
ลักษณะตัวเชื่อมโยง 6
องค์ประกอบของเว็บไซต์ 10
Web page 13
การดาเนินการจัดทาเว็บไซต์ 16
การวิเคราะห์เว็บไซต์ 22
หลักและทฤษฏีการสื่อสาร 29
การประชาสัมพันธ์ 31
การเรียนการสอนผ่านเว็บเพจ 32
3
1. การออกแบบเว็บเพจ
ในการออกแบบเว็บนั้น มีผู้ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการออกแบบเว็บไว้ดังนี้
Cotrell&Eisenberg(1997) ให้ข้อเสนอแนะในการออกแบบเว็บว่า ควรหลีกเลี่ยงข้อความสะท้อนแสง และ
ข้อความที่ขัดแย้งต่อภาพ มีความสม่าเสมอในการสร้างเว็บ ใช้ระยะเวลาในการดาวน์โหลดน้อยที่สุด มีการ
กาหนดขอบเขตของปัจจัยในเว็บไซต์ให้ชัดเจน เว็บเพจควรประกอบด้วยหน้าสั้นๆกับเนื้อหาที่สาคัญและ
สัมพันธ์กับหัวเรื่อง มีแบบแผนที่มีเค้าโครงเป็นลาดับขั้นหรือหมวดมู่ ไม่มีสิ้นสุด และสามารถเชื่อมโยงไปหา
เนื้อหาที่ใหญ่กว่าได้
Everhart(1997)ให้ข้อเสนอแนะว่า ในการออกแบบเว็บควรมีความพอดี ชัดเจน มีความเป็นอิสระในการ
ทางานมีความสม่าเสมอในการจัดวางรูปแบบ และมีการเกริ่นนา
Young and Watkins(1997)ให้ข้อเสนอแนะว่า ในการนาเสนอควรนาเสนอเนื้อหาให้น้อย แต่เน้นจุดสาคัญ
มีความสม่าเสมอในการข้ามไปยังเว็บหน้าอื่น
ในส่วนของการออกแบบการเชื่อมโยงนั้น นักออกแบบและพัฒนาเว็บหลายท่านได้ให้คาแนะนาไว้ดังนี้
Nichols andothers(1995)ได้รับการแนะนาถึงการเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจอื่นว่าควรจะมีการอธิบายให้เข้าใจว่า
จุดที่กาลังจะไปนั้นมีความสาคัญหรือมีข้อมูลข่าวสารเกี่ยวข้องกับอะไร
Hall(1997)ได้กล่าวถึงการใช้เว็บในการเรียนการสอนว่าการศึกษาทดลองหาวิธีสร้างเว็บอย่างมี
ประสิทธิภาพยังอยู่ในระดับน้อย แต่จากการรวบรวมจากประสบการณ์และการนาเสนอของนักออกแบบเว็บเพื่อ
การเรียนการสอน สรุปได้ว่าเว็บเพื่อการเรียนการสอนที่ดี จะต้องมีลักษณะดังนี้
1. ต้องสะดวกและไม่ยุ่งยากต่อการสืบค้นของผู่เรียน
2. ต้องมีความสอดคล้องตรงกันภายในเว็บรวมถึงการเชื่อมโยงระหว่างเว็บต่างๆ
3. เวลาในการแสดงแต่ล่ะหน้าจอจะต้องน้อยที่สุด หลีกเลี่ยงการใช้ภาพกราฟฟิกที่มีขนาดใหญ่ ที่จะทาให้
เสียเวลาในการดาวน์โหลด
4
4. มีส่วนที่ทาหน้าที่ในการจัดระบบในการเข้าสู่เว็บ นักออกแบบควรกาหนดให้ผู้เรียนได้เข้าสู่หน้าจอ
แรกที่มีคาอธิบาย คาแสดงโครงสร้างภายในเว็บ เพื่อทราบขอบเขตที่ผู้เรียนจะสืบค้น
5. ควรมีความยืดยุ่นในการสืบค้น แม้จะมีการแนะนาว่าผู้เรียนครวจะเรียนอย่างไรก็ตามลาดับขั้นตอน
ก่อนหลัง แต่ครวเพิ่งความยืดยุ่นต่อผู้เรียนให้สารมารถกาหนดเส้นทางการเรียนได้เอง
6. ต้องมีความยาวในหน้าจอให้น้อย แม้นักออกแบบส่วนใหญ่จะบอกว่าสามารถใช้ไฮเปอร์เท็กซ์ช่วยใน
การเลื่อนไปมาในส่วนต่างๆในหน้าจอแต่ในความเป็นจริงแล้วหน้าจอที่สั้นเป็นสิ่งที่ดีที่สุด
จิตเกษม พัฒนาศิริ(2539)ได้เสนอแนะการออกแบบการเชื่อมโยงว่า ในการเชื่อมโยงข้อมูลจะต้อง
เชื่อมโยงข้อมูลไปยังเป้ าหมายให้ตรงกลับความต้องการให้มากที่สุด และในการสร้างตัวเชื่อมโยงนั้นจะ
สร้างในรูปแบบของตัวอักษรหรือรูปภาพก็ได้แต่ควรจะแสดงตัวเชื่อมโยงให้ผู้ใช้สามารถเข้าใจได้ง่าย ที่
นิยมสร้างกันนั้นโดยส่วนใหญ่เมื่อมีเนื้อหาตอนใดเอ่นถึงชื่อที่เป็นรายละเอียดเกี่ยวเนื่องกันก็ขะใช้ตัวเชื่อม
โยงได้ทันทีและในแต่ละเว็บเพจที่จะสร้างขี้นมาครวจะมีตัวเชื่อมโยงกลับมายังหน้าแรกของเว็บไซต์ที่กาลัง
จะใช้งานอยู่ด้วยทั้งนี้เพื่อว่าเมื่อมีผู้ใดหลงทางในการใช้เว็บและไม่ทราบว่าจะทาอย่างไรต่อไปจะได้มีทาง
กลับมาหน้าเริ่มต้น
กิดานันท์ มลิทอง(2542)ได้กล่าวถึงองค์ประกอบต่างๆที่ใช้เป็นแนวทางในการออกแบบเว็บเพื่อการ
เรียนการสอนดั้งนี้
1. ขนาดของเว็บเพจจากัดขนาดของแฟ้มของแต่ละหน้าโดยการกาหนดขีดจากัดเป็นกิโลไบต์สาหรับ
ขนาดน้าหนักของแต่ละหน้าซึ่งหมายถึงจานวนกิโลไบต์สาหรับขนาดของภาพกราฟฟิกทั้งหมดในหน้า
โดยรวมภาพพื้นหลังด้วยการแคชของโปรแกรมค้นผ่าน(Web browser)โปรแกรมค้นผ่านทุกวันนี้จะ
เก็บบันทึกภาพกราฟฟิกไว้ในแคชซึ่งหมายถึงโปรแกรมเก็บภาพกราฟฟิกไว้บนฮาดร์ดิส เพื่อที่
โปรแกรมจะได้ไม่ต้องบรรจุภาพเดียวกันนั้นมากว่าหนึ่งครั้ง จึงเป็นการที่ดีที่จะนาเอาภาพนั้นมาเสนอ
ซ้าเมื่อใดก็ได้บนเว็บไซต์ นับเป็นการประหยัดเวลาการบรรจุลงสาหรับผู้อ่านและลดภาระให้แก่เครื่อง
บริการด้วย
2. การจัดหน้า แบ่งเป็น
2.1 กาหนดความยาวของหน้าให้สั้น ไม่ให้แต่ละหน้ายาวเกินไป
5
2.2 ใส่สารสนเทศที่สาคัญที่สุดในส่วนบนของหน้า ถ้าเปรียบเทียบกับเว็บไซต์กับสถานที่แห่งหนึ่ง
เนื้อหาที่มีความสาคัญที่สุดจะอยู่ส่วนหน้าซึ่งก็คือส่วนบนสุดของหน้าจอภาพนั้นเอง ทุกคนที่เข้ามา
ในเว็บไซต์จะมองเห็นส่วนบนของจอภาพได้เป็นลาดับแรก ถ้าผู้อ่านไม่อยากที่จะใช้แถบเลื่อนเพื่อ
เลื่อนจอภาพลงมาก็ยังเห็นส่วนบนของจอภาพอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นถ้าไม่ต้องการจะให้ผู่อ่านพลาด
สาระสาคัญของเนื้อหา ก็ควรใส่ไว้บนของหน้าซึ่งอยู่ภายในประมาณ300จุดภาพ
2.3 ใช้ความได้เปรียบของตาราง ซึ่งตารางเป็นสิ่งอานวยประโยชน์และช่วนนักออกแบบได้อย่างมาก
การใช้ตารางจะจาเป็นสาหรับการส้รางหน้าที่ซับซ้อนหรือที่ไม่เรียบธรรมดาโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อ
เราต้องการใช้คอลัมน์ตารางจะใช้ได้เป็นอย่างดีเมื่อใช้ในการจัดระเบียบหน้าเช่นการแบ่งแยกภาพ
กราฟฟิกหรือเครื่องมือนาทางออกจากข้อความหรือการจัดแบ่งข้อความออกเป็นคอลัมน์
3.พื้นหลังแบ่งเป็น
3.1 ความยากง่ายในการอ่าน พื้นหลังที่มีลวดลายมากจะทาให้หน้าเว็บมีความยากลาบากในการอ่านเป็น
อย่างยิ่งการใช้สีร้อนที่มีความเปรียบต่างสูงจะทาให้ไม่สบายตาในการอ่านเช่นกันดังนั้นจึงไม่ควรใช้
ลวดลายเกินความจาเป็นและควรใช้สีเย็นเป็นพื้นหลังจะทาให้เว็บเพจนั้นน่าอ่านมากว่า
3.2 ทดสอบการอ่าน การทดสอบที่ดีที่สุดในเรื่องของความสามารถในการทดสอบการอ่านเมื่อใช้พื้อน
หลังคือให้ผู้ใดก็ได้ที่ไม่เคยอ่านเนื้อหาของเรามาก่อนลลองอ่านข้อความที่อยู่บนพื้นหลังที่จัทาไว้หรือ
อีกวิธีหนึ่งคือทดสอบการอ่านด้วยตนเองถ้าอ่านไดแสดงว่าสามารถใช้พื้อนหลังนั้นได้
4. ศิลปะการใช้ตัวพิมพ์ได้แก่
4.1 ความจากัดของการใช้ตัวพิมพ์นักออกแบบจะถูกจากัดในเรื่องของศิลปะการใช้ตัวพิมพ์บนเว็บ
มากกว่าในสื่อสิ่งพิมพ์โปรแกรมค้นผ่านรุ่นเก่าๆจะสารมารถใช้อักษรได้เพียง2แบบเท่านั้น อย่างไรก็
ตามโปรแกรมรุ่นใหม่จะสามารถใช้แบบอักษรได้หลายแบบมากขึ้น นอกจากนี้การพิมพ์ในเว็บจะไม่
สามารถควบคุมช่วงบันทัดซึ่งเป็นเนื้อที่ระหว่างบรรทัดหรือช่องไฟระหว่างตัวอักษรได้
4.2 ความแตกต่างระหว่างการใช้ระบบและการใช้โปรแกรมค้นผ่าน(web browser)
6
แต่ละตัวจะมีตัวเลือกในการใช้แบบอักษรที่แตกต่างกันซึ่งตรงนี้สามารถเปลี่ยนแปลงค่าต่างๆของแบบ
อักษรได้ด้วยตนเอง
4.3 สร้างแบบการพิมพ์เป็นแนวทางไว้ถึงแม้จะมีข้อจากัดในเรื่องการใช้ตัวพิมพ์บนเว็บก็ตาม แต่นัก
ออกแบบก็สามารถระบุระดับของหัวเรื่องละเนื้อกหาไว้ได้เช่นเดียวกับการพิมพ์ในหนังสือ
4.4 ใช้ลักษณะกราฟฟิกแทนตัวอักษรธรรมดาให้น้อยที่สุด ถึงแม้จะสามารถใช้ลักษณะอักษรแทน
กราฟฟิกธรรมดาได้ก็ตาม แต่ไม่ควรใช้มากเกินกว่า2-3บรรทัด ทั้งนี้เพราะจะทาให้เสียเวลาในการ
โหลดมากกว่าปกติ
รูปแบบของการออกแบบเว็บเพจโดยมหาวิทยาลัยเยล ได้กล่าวถึงการออกแบบในประเด็นต่างๆได้แก่
(อ้างถึงใน ใจทิพย์ณ สงขลา,2544)
1. ปรัชญาในการสร้างเว็บไซต์ได้แก้เป้ าหมายหลักในการสร้างเว็บ และกลยุทธ์ในการออกแบบ
เว็บไซต์ในเรื่องของประเภทเว็บไซต์ความซับซ้อนของเนื้อหาและความเป็นลาดับในการนาเสนอ
2. การออกแบบการเชื่อมต่อระหว่างโปรแกรและผู้ใช้เน้นที่เป้ าหมายการนาเสนอ การสร้างการนาทาง
ในการเข้าถึงเนื้อหาและเชื่อมโยง
3. การออกแบบเว็บไซต์ กล่าวถึงเรื่องของโครงสร้างเว็บไซต์ การวางลาดับของเนื้อหาและตัวเลือก
ความแตกต่างของลักษณะการเชื่อมโยงของเว็บไซต์แบบตามลาดับแบบลาดับขั้นแบบตารางและ
แบบเครือข่าย
4. การออกแบบเว็บเพจ กล่าวถึงความสมดุลของเพจโครงร่างรูปแบบของเพจตาแหน่งที่เป็นจุดดึงดูด
สายตาของภาพ ส่วนต่างๆของเพจเช่นส่วนหัวเรื่อง ส่วนข้อความและส่วนปลายของเพจ ลักษณะ
ของตัวอักษรตัวอักษรภาพความสม่าเสมอ ตาราง ความยาวของเพจ กรอบของเพจประเด็นการเข้า
ระบบ
5. ภาพประกอบในเว็บ การแสดงสีของจอภาพประเภทของจอภาพในเว็บ สีพื้อนหลังสีที่โปร่งใสของ
พื้นหลังภาพ ความสูงและความกว้างของภาพ ภาพแผนที่
6. สื่อประสม ได้แก่การออกแบบองค์ประกอบของภาพและเสียงดิจิตอลวิดิทัศน์ เสียงดิจิตอล
ภาพเคลื่อนไหว
7
Rolley(1998)ได้สรุปการออกแบบหน้าจอผู้ใช้(Graphic Users Interface:GUIs)ว่ามีลาดับขั้นตอน
เป็นกระบวนการว่า
1. จะต้องมีความเข้าใจโดยการอธิบายให้ผู้ใช้ทราบหรือกาหนดลักษณะที่มีผู้ใช้
2. สามารถเข้าใจวัตถุประสงค์
3. มีการกาหนดวัตถุประสงค์โดยรวมสาหรับผู้ใช้ทุกคนหรือกลุ่ม
4. ตัดสินใจแบบของระบบและกาหนดวัตถุประสงค์จะเป็นภาพให้ผู้ใช้ได้เห็น
5. อธิบายภาพตามวัตภุประสงค์ที่อ้างถึงโดยหน้าจอที่คิดสร้าง
6. กาหนดความสัมพันธ์ของจุดประสงค์ที่กล่าวถึงตามหน้าจอที่สร้าง
7. ตัดสินใจจุดประสงค์ของภาพว่าจะใช้อย่างไร
8. วาดโครงร่างของการออกแบบหน้าจอ
9. ทดสอบการออกแบบกับผู้ใช้
การออกแบบที่ไม่เหมาะสมและเกิดข้อผิดพลาดอย่อมส่งผลเสียต่อการนาเว็บไปใช้การเรียนการสอนได้
Nielsen(1996)ได้รวบรวมลักษณะของเว็บที่เกิดจากความผิดพลาดในการออกแบบซึ่งไม่ควรจะละเลย เรียน
ลาดับตามหัวข้อต่อไปนี้
1. การใช้กรอบ(Frame)เนื่องจากการใช้เฟรมมักมีปัญหาในการที่จะสร้างบุ๊คมาร์ก(Bookmark)จึงไม่ควร
นามาใช้ แต่ในปัจจุบันขีดความสามารถของโปรแกรมที่ใช้สร้างเว็บเพจมากขึ้นทาให้ปัญหาในข้อนี้
หมดไป
2. การใช้เทคนิคต่างๆมากเกินความจาเป็นเช่นภาพเคลื่อนไหวหรือตัวอักษรวิ่ง(Marquees)นอกจากมี
ความจาเป็นต้องใช้ประกอบเนื้อหาเนื่องจากเทคนิกเหล่านี้จะรบกวนการอ่านได้
3. เนื้อหาที่เหมือนเขียนบนกระดาษ ไม่มีความน่าสนใจ
4. การใช้ยุอาร์แอลที่ซับซ้อนหรือยาวเกินไป ซึ่งจะไม่สะดวกต่อการพิมพ์ลดลงในช่องเอดเดรส
(Address)ของโปรแกรมค้นผ่าน
5. การมีหน้าที่ไม่มีการเชื่อมโยง(Orphan Page)ทาให้ผู้ใช้ไม่รุจะทาอย่างไรต่อไปอย่างน้อยในแต่ล่ะหน้า
ควรจะทาตัวเชื่อมโยงที่กลับไปยังโฮมเพจได้
8
6. หน้าจอที่เป็นลักษณะเลื่อนขึ้นลง(Scrolling)เนื่องจากมีเนื้อหายาวเกินไป ทาให้ผู้ใช้ส่วนใหญ่ไม่ดู
เนื้อหาที่อยู่ด้านลง เพราะฉะนั้นจึงควรนาเสนอเนื้อหาที่มีความสาคัญไว้ด้านบนสุดในแต่ล่ะหน้า
7. การขาดตัวสนับสนุนในการเข้าสู่เนื้อหา(Navigation support)เช่นแผนผังของเว็บไซต์หรือปุ่มควบคุม
เส้นทางไม่ว่าจะเป็นเดินหน้า ถอยหลังรวมถึงการใช้เครื่องมือสืบค้น(Search engine)ช่วยในการค้นหา
หน้าที่ต้องการ
8. สีของตัวเชื่อมโยงที่ไม่ป็นมาตรฐาน ทาให้เกิดความสับสนได้
9. ข้อมูลที่เก่าหล้าสมัยไม่มีการปรับปรุง
10. ใช้เวลาดาวน์โหลดนาน ผู้ใช้จะเกิดอาการเบื่อหน่ายและเลิกให้ความสาคัญกับเว็บที่ใช้เวลาแสดงผล
นาน
2. ลักษณะตัวเชื่อมโยง
ตัวเชื่อมโยงจัดเป็นสิ่งสาคัญในการสร้างเว็บ เนื่องจากเป็นการตอบสนองความต้องการ เพื่อการเข้าถึง
ข้อมูลของผู้ใช้ด้วยความหลากหลายของตัวเชื่อมโยงในเว็บที่มีการออกแบบไว้หลายลักษณะเพื่อ
ตอบสนองความต้องการของการของผู้ใช้ผู้แตกต่างกัน โดยในและวัยก็ย่อมมีการรับรู้และเลือกใช้ที่
ข้อความที่แตกต่างกันซึ่งงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมีดังนี้
Jackson(1977)ได้ศึกษาความแตกต่างของความเข้าใจเนื้อหาจากการใช้สิ่งช่วยความเข้าใจสามแบบคือ
ใช้รูปภาพ ใช้ขีดเส้นใต้คาและข้อความสาคัญและใช้ทั้งสองอย่างรวมกันโดยทดลองกับนักเรียนเกรด6,7
และ8ผลการวิจัยไม่พบความแตกต่างของความเข้าใจเนื้อหาระหว่างการใช้สิ่งช่วยความเข้าใจทั้งสามแบบ
ทั้งระหว่างเพศและระหว่างระดับชั้นเรียนของนักเรียน(2524)ประเภทของภาพที่มีผลต่อการเรียนรู้ของ
นักเรียน โดยเฉพาะนักเรียนที่มีอายุน้อยหรืออยู่ในวัยประถมศึกษา คือภาพประเภทลายเส้นที่มีลายละเอียด
น้อยและไม่ซับซ้อน
จะเห็นได้ว่าจากงานวิจัยข้างต้นเด็กก็ยังไม่สามารถแยกแยะสิ่งที่มีความละเอียดได้มากนัก จึงรับรู้
รายละเอียดได้ดีดี เฉพาะภาพที่มีลายเส้น เมื่อเด็กอายุมากขึ้นจะสามารถแยกแยะรายเอียดได้มากขึ้น
ด้านตาแหน่งของตัวเชื่อมโยง วาสนา ชาว(2525)ได้กล่าวถึงลักษณะของการมองของคนทั่งไปว่า
คนเรามักจะกวาดสายตาไปทั่วๆก่อน แล้วจึงดูรายละเอียดภายหลังและคนจะมองดูภาพซ้ายมือบนมากที่สุด
9
ถัดมาคือซ้ายล่าง ขวาบนและขวาล่างตามลาดับซึ่งตรงกับHeinich,Molenda and Russel(1982) ที่ได้ศึกษา
การเคลื่อนที่ของตาในการมองภาพ พบว่าคนเราจะมองสาระของภาพที่อยู่ในตาแหน่งแรกซ้ายบนตาแหน่ง
รถแรก ถัดมาเป็นซ้ายล่าง ขวาบนและขวาล่างตามลาดับ
Park(1983)ได้ศึกษาการจาตาแหน่งของภาพและของคาของวัยรุ่นและคนชรา กลุ่มตัวอย่างวัยรุ่นอยู่
ในช่วง17-24ปีและกลุ่มคนชราอยู่ในช่วง60-91ปีโดยการฉายสไลด์ที่มีภาพและคาให้ปรากฏบนจอครั้ง
ล่ะ4ภาพคือภาพซ้ายบน ซ้ายล่าง ขวาบนและขวาล่างพบว่าการจัดตาแหน่งของภาพจาได้ดีกว่าการจา
ตาแหน่งของคา
งานวิจัยข้างต้นสอดคล้องกับPiajet(อ้างถึงใน สุรางค์โค้งตระกู,2540)ที่กล่าวว่าเด็กในวัยตั้งแต่7ปีขึ้น
ไป จะสามารภแบ่งกลุ่มหรือจัดกลุ่มหมู่ของสิ่งแวดล้อมต่างๆให้เป็นหมวดหมู่ได้ดังนั้นจึงเป็นไปได้ว่า ใน
การจัดตาแหน่งตัวเชื่อมโยงบนหน้าเว็บนั้น เด็กจะสามารถแยกแยะได้ตั้งแต่ระดับประถมศึกษา
ในด้านสีตัวเชื่อมโยงนั้น สีต่างๆที่ได้สัมผัสทางสายตา มีส่วนเกี่ยวข้องกับความรู้สึกของมนุษย์และมี
ผลต่อจิตใจ และยังมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของมนุษย์(สุชาติ เถาทอง,2538)
Eysenck(1941)พบว่าสีที่ชอบจากมากที่สุดไปน้อยที่สุดในจานวน6 สี เรียงตามลาดับสีน้าเงิน สีแดง สี
เขียว สีม่วง สีส้มและสีเหลืองสีที่มีพลังเช่นสีแดงและสีส้ม สามารถสร้างความแตกต่างได้อย่างชัดเจนมาก
สีเขียว สีฟ้า และสีน้าตาลดูสบายตาแต่จะไม่ดึงดูดความสนใจ
Cabibi john F.J(1973)ได้แบ่งความแตกต่างของตัวอักษรกับพื้น แบบตัวพิมพ์ขนาดของตัวพิมพ์
ความยาวของบรรทัดและระยะห่างระหว่างบรรทัด ความแตกต่างของตัวอักษรกับพื้อนนั้นเกิดจาก ความ
หนักเบาของเส้นตัวอักษรแสงสว่างแสงของอักษรและสีพื้น ซึ่งมีอิทธิพลต่อความยากง่ายในการอ่านและ
ส่งผลต่อเนื้อหาของสารที่ต้องการสื่อการเลือกใช้สีที่เหมาะสมก่อให้เกิดผลได้งดังนี้
1. สร้างคนสนใจให้กับผู้ดู ทั้งนี้มีผลมาจากความแตกต่างกันของสี
2. ก่อให้เกิดผลทางจิตวิทยา เนื่องจากสีมีผลต่ออารมณ์ของผู้ดู
3. ทาให้จาได้ง่าย เมื่ออธิบายถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งและอ้างถึงสีของสิ่งนั้นจะทาให้สามารถระลึกถึงได้ง่าย
10
4. สร้างบรรยากาศที่ดี เนื่องจากเลือกใช้สีที่เหมาะสมทาให้เกิดความพอใจและสร้างความสบายตาให้แก่ผู้
ดู(Turnbull and Russel,1968อ้างใน จิรดา บุญอารยะกุล,2542)
Jones M.K.(1989)กล่าวว่าควรหลีกเลี่ยงการใช้สีแดงในพื้นที่บริเวณกว้างบนจอแสดงผลเนื่องจากสี
ดังกล่าวเป็นสีโทนร้อน ที่ให้ความรู้สึกร้อนแรง เกิดอาการระคายเคืองนัยน์ตา การลดความเข้มของสีโดย
พยายามใช้สีอ่อนเพื่อนให้เกิดความกลมกลืน นอกจากนี้ยังพบว่าการเลือกใช้สีอ่อนทาให้เกิดความสบายตา
โดยสีที่ไม่ควรนามาใช้ไม่ว่าจะเป็นตัวอักษรหรือฉากหลัง ได้แก่สีแดงและสีม่วง
Berry(1991)ได้วิจัยพบว่าสีช่วยในการจดจาเท่าเทียบกัน และการใช้สีที่เหมือนจริง(Non Realistic)
ดีกว่าการใช้สีแบบMonochromeแต่ภายหลังพบว่า สีเหมือนจริงช่วยให้จดจามากกว่าการใช้สีMonochrome
และดีกว่าการใช้เพียงลายเส้น
กฤษมันต์วัฒนาณรงค์(2536)ได้กล่าวถึงสีคอมพิวเตอร์ไว้ว่าปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาสีต่างๆให้
ใช้ได้มากข้นตามลักษณะของงาน และยังได้ทาการศึกษาวิจัยความชอบของสีบนจอคอมพิวเตอร์ด้วยการ
ทดลองกลุ่มประชากรทั้งหมด200คน แยกเป็นกลุ่มต่างๆเพื่อทาการศึกษาในแง่มุมหลายด้าน โดยเฉพาะ
เกี่ยวกับสีตัวอักษร และสีของฉากหลังที่ได้รับความชอบมากที่สุด10อันดับจาก36อันดับของคู่สีที่ได้ศึกษา
ดังนี้
1. ตัวอักษรสีขาวบนพื้นสีน้าเงิน
2. ตัวอักษรสีขาวบนพื้นสีดา
3. ตัวอักษรสีเหลืองบนพื้นสีดา
4. ตัวอักษรสีเขียวพื้นสีดา
5. ตัวอักษรสีดาบนพื้นสีเหลือง
6. ตัวอักษรสีขาวบนพื้นสีเขียว
7. ตัวอักษรสีน้าเงินบนพื้นสีดา
8. ตัวอักษรสีเหลืองบนพื้นสีน้าเงิน
9. ตัวอักษรสีขาวบนพื้นสีม่วง
10. ตัวอักษรสีเหลืองบนพื้นสีเขียว
11
วรางคณา กฤษณพันธ์(2529)ได้ทาการวิจัยถึงผลของสีตัวอักษรและสีพื้นหลังที่มีต่อความยากง่ายในการ
อ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่6พบว่าสีของตัวอักษรและพื้นหลังมีผลต่อความยากง่ายในการอ่านแตกต่าง
กันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ.05และสีที่มีความง่ายต่อการอ่านสูงสุดคือ อักษรสีน้าเงินพื้นสีขาว อักษรสี
ดาพื้นสีเหลือง อักษรสีเหลืองบนพื้นสีขาว และอักษรสีดาบนพื้นสีขาว
พจน์ ใจบุญ(2537)ได้ศึกษาเกี่ยวกับขนาดและสีของตัวอักษร ที่ฉายจากเครื่องฉายภาพข้ามศรีษะสาหรับชั้น
มัธยมศึกษา พบว่า สีของตัวอักษรที่แตกต่างส่งผลให้การอ่านของนักเรียนแตกต่างกัน
วิทยา ไล้ทอง(2537)ได้ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับผลของสีตัวโน๊ตของดนตรีวงโยธวาทิตในโรงเรียนมัธยมศึกษา ผล
ของการวิจัยพบว่า ตัวโน๊ตสีเขียวบนพื้นขาวและน้าเงิน ให้ความชัดเจนในการอ่านดีกว่าตัวโน๊ตสีดาบนพื้นสีขาว
และสีแดงอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่.01
การเลือกใช้สีที่เหมาะสมเป็นปัจจัยสาคัญในการสร้างบทเรียน(วิชุดา รัตนเพียร,2542)
1. สีแดงและสีเขียว ควรหลีกเลี่ยงสีเหล่านี้สาหรับการทางานเส้นขอบใหญ่ ในขณะที่สีน้าเงินและเหลือง
ใช้ได้ดี(March,1984)
2. ควรใช้คาอธิบายต่างๆสีเดียวกัน
3. ควรใช้หน้าต่างโปรแกรมที่กาลังทางานอยู่ให้เป็นสีที่แตกต่างจากหน้าต่างอื่นๆ
4. ควรใช้ข้อความเตือน(Warning Messages)เป็นสีแดง
5. เมื่อสถานะของแต่ละไฟล์เปลี่ยนไป ก็ควรเปลี่ยนสีของไฟล์นั้นด้วย
6. ในจอภาพหนึ่งไม่ควรมีสีต่างกันมากกว่า4สี
7. ให้เงา(Shade)ที่ต่างกันสาหรับสีเดียวกันและใช้สีที่ต่างกันเพื่อแสดงความว่าเน้นข้อความสาคัญ
8. แสดงสีที่หมายถึงการอยู่ โดยใช้สีโทนร้อน(Warm color)และใช้สีสว่างเพื่อเน้นความสาคัญ
9. สีดา สีขาว หรือสีน้าเงิน ใช้เป็นพื้นจอภาพที่ดีที่สุด
10. หลีกเลี่ยงการใช้สีที่เข้ากันไม่ได้เช่นสีน้าเงิน/สีเหลืองเขียว,เขียว/น้าเงิน,แดง/น้าเงิน
11. ใช้สีที่เน้นเพื่อเกิดความแตกต่างของพื้นและตัวอักษรเช่น ตัวอักษรขาวบนพื้นดา อักษรขาวบนพื้นน้า
เงิน อักษรดาบนพื้นขาว
12. พยายามใช้สีอ่อนเป็นสีสาหรับพื้น
12
13. สีแดง สีเขียว ยากต่อการอ่านเมื่อใช้เป็นสีสาหรับเนื้อหา
14. ให้สีในความรู้สึกของสีที่เป็นอยู่เช่น สีฟ้าให้ความรุสึกเย็น สีแดงให้ความรู้สึกอันืทืตราย สีเขียว
หมายถึงไปให้ได้ทางสะดวก สีอาพัน(เหลืองเข้ม)หมายถึงให้รอ
นพวรรณ หมั้นทรัพย์(2521)กล่าวว่าสีแบ่งเป็น2กลุ่มคือ
1. กลุ่มสีร้อน ให้ความรู้สึกอบอุ่น สนุกสนานและปฏิกิริยาที่ร่าเริง
2. กลุ่มสีเย็น ให้ความรู้สึกสงบ เงียบ และสามารถแสดงความรู้สึกโศกเศร้า ตัวอย่างเช่นกลุ่มสีเย็น ถ้ามีค่า
น้าหนักเข้มมากจะให้ความรู้สึกเย็นลึก นิ่งจนน่ากลัว
องค์ประกอบของเว็บไซต์
เว็บไซต์โดยทั่วไปมีองค์ประกอบดังนี้(กิตติ ภักดีวัฒนะกุล,2540;วิทยา เรืองพรวิสุทธิ์,2540:ดวงจัทร์ พยัค
พันธ์,2542;วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา,2542)
1 ชื่อโดเมนเซิร์ฟเวอร์ (Domain Name Server)หรือชื่อของเว็บไซต์(สมนึก คีรีโต,2538;สุรศักดิ์ สงวนพงษ์
,2538;พรทิพย์โล่ห์เลขา,2540;วาสนา สุขกระสานติ,2540)การเตรียมตั้งเว็บไซต์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่อง
หนึ่งต่อเข้าในอินเตอร์เน็ตต้องมีหมายเลขไอพีสาหรับอ้างอิง และผู้จัดตั้งเว็บไซต์จะต้องขอลงทะเบียนชื่อ
เว็บไซต์ของตนคือชื่อโดเมนเซิร์ฟเวอร์ ที่ช้างอิงแทนหมายเลยไอพี เน่องจากหมายเลขไอพีประจาตัวเครื่องเป็น
ตัวเลขที่จดจายาก ไม่สะดวกต่อผู้ใช้บริการคอมพิวเตอร์ ดังนั้นจึงมีระบบชื่อคอมพิวเตอร์มาตรฐานในเครือข่ายอิ
เตอร์เน็ตโดยมีชื่อว่าดีเอ็นเอส (Domain Name System:DNS)หรือระบบหน้าของโดเมนโดยส่วนหน้าของ
สัญลักษณ์@ซึ่งเป็นชื่อเครื่องนั้นนิยมเรียกกันโดยทั่วไปว่าโดเมน ที่อยู่ทางอิเล็กทรอนิกส์ประจาตัวผู้ใช้ทุกคนจึง
มีรูปแบบคือชื่อบัญชีผู้ใช้@โดเมน ตัวอย่างเช่น g4186508@kkucc1.kku.ac.th จากตัวนี้พบว่าจะแยกออกเป็น
ส่วนๆด้วยเครื่องหมายจุดเพื่อแสดงเครือข่ายเป็นลาดับและแต่ล่ะชั้นเรียนกว่า โดเมนย่อย(Sud domain)โดเมน
kkucc1.kku.ac.th ประกอบด้วยโดเมน4ชั้น ชื่อโดนเมนชั้นบนสุดคือth หมายถึงประเทศไทย โดเมนย่อยถัดมาac
ย่อมาจาก Academic หมายถึงโดเมรเครือข่ายของสถานศึกษา โดเมนย่อยkkuหมายถึงมหาวิทยาลัยขอนแก่น
และส่วนย่อยสุดคือkkucc1หมายถึงชื่อของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนั้นการจัดตั้งชื่อโดเมนจึงมีความสาคัญ
13
เนื่องจากส่วนหนึ่งของURLเพราะโปรแกรมเว็บเบราเซอร์จะใช้ข้อมูล URL นี้ในการสืบค้นหาข้อมูลซึ่งURLจะ
แบ่งออกเป็นส่วนดังนี้
ส่วนที่1 (ก่อนเครื่องหมาย//)เป็นส่วนที่บอกวิธีการเข้าถึงข้อมูลหรือเข้าใช้บริการ เช่นhttpหมายถึง การเข้า
ใช้บริการเวิลล์ไวด์เว็บเซิรฟ์เวอร์ โดยใช้โปรแกรมโปโตคลอhttp
ส่วนที่ 2 ส่วนเป็นชื่อโดเมนหรือเรียกว่าชื่อตาแหน่งที่จะไปดูข้อมูล
ส่วนที่3 ชื่อไฟล์หรือพอร์ตที่ต้องการติดต่อหรืออาจเป็นชื่อข้อความที่ต้องการค้นหาในฐานข้อมูลซึ่งอาจจะ
มีหรือไม่มีก็ได้
ตัวอย่างเช่นURLของสานักหอสมุดกลางมหาวิทยาขอนแก่น http://libry.kku.ac.th แสดงว่าผู้ใช้สามารถเข้า
ไปดูเว็บหน้าแรกขแงสานักงานหอสมุดมหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้โดยระบบจะต้องหาชื่อโดเมนที่ชื่อ
library.kku.ac.th ก่อน
Library หมายถึง ชื่อไฟล์หรือพอร์ต
Kkuหมายถึง ชื่อเครือข่ายท้องถิ่น
Acหมายถึง สับโดเมน
Th หมายถึง โดเมน
ส่วนชื่อของโดเมนเซิร์ฟเวอร์หรือชื่อของเว็บไซต์ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา มีลักษณะดังนี้(King,1998)
1.1 ชื่อเว็บไซต์ที่แสดงว่าห้องสมุดมีเซิร์ฟเวอร์เป็นของห้องสมุดเองลักษณะของURL Addressมีลักษณะคือ
http://www.library.name of university.ac.th
1.2 ชื่อเว็บไซต์แสดงว่าห้องสมุดไม่มีระบบเซิร์ฟเวอร์เป็นของห้องสมุดเอง โดยห้องสมุดจะจัดเก็บเว็บไซต์
ไว้ที่อื่น URL Address มีลักษณะคือhttp://www.name of university.ac.th/library.html
2 Home page หรือWclcome page
14
โฮมเพจ เป็นข้อมูลประจาเว็บเซิร์ฟเวอร์และเป็นข้อมูลหน้าแรกในเว็บไซต์ให้หาข้อมูลรายละเอียด
เกี่ยวข้องกับข้อมูลในเว็บไซต์นั้นๆซึ่งจะเป็นจุดเริ่มต้นของเว็บไซต์และเป็นที่เชื่อมโยงไปยังเว็บเพจอื่นๆไม่ว่า
จะเป็นการเชื่อมโยงภายในหรือภายนอกเว็บไซต์(คณิต ศาตะมาน,2541)อาจกล่าวได้ว่าหน้าโฮมเพจ
เปรียบเสมือนหน้าสารบัญที่ชี้นาไปยังเนื้อหาที่มีเว็บไซต์นั้น โดยลักษณะทั่วไปของโฮมเพจมีความคล้ายคลึงกัน
มาก อาจต่างกันที่เทคนิกและวิธีการนาเสนอ องค์ประกอบหลักในหน้าโฮมเพจของเว็บไซต์ห้องสมุด จึงแบ่งได้
ดังนี้(Stover&Zink,1996;วิทยา เรืองพรวิสุทธิ์,2540;ดวงจันทร์ พยัคพันธุ์,2542)
2.1 ส่วนบนจะอธิบายหัวเรื่องโฮมเพจประกอบด้วย
(1)รูปภาพหรือตราสัญลักษณ์ของสถาบันที่แสดงความเป็นเจ้าของโฮมเพจเป็นรูปภาพที่มีขนาดความจา
ไม่มากเพื่อง่ายต่อการโอนย้ายข้อมูลบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
(2) ชื่อห้องสมุด เป็นชื่อของห้องสมุดและสถาบันที่เป็นเจ้าของโฮมเพจ
(3) ย่อหน้าหรือข้อความสั้นๆที่อธิบายความหมายของเว็บไซต์หรือคาขวัญของห้องสมุด
2.2 ส่วนเนื้อหาเป็นส่วนของข้อมูลหรือหัวข้อของข้อมูลภายในเว็บไซต์ที่ต้องการนาเสนอประกอบด้วย
เนื้อหาข้อมูลที่เชื่อมโยงไปยังโฮมเพจที่เกี่ยวข้อง เป็นส่วนหนึ่งของเนื้อหาความหรือสารสนเทศแบบคัดย่อ
เหมือนสารบัญซึ่งมีข้อมูลคร่าวๆของห้องสมุด ที่สามารถเชื่อมโยงไปยังข้อมูลแบบแสดงรายละเอียดของ
โฮมเพจที่เกี่ยวข้องผ่านไฮเปอร์เท็กซ์ โดยทั่วไปแล้วส่วนของเนื้อหาเป็นส่วนของการบรรยายเช่นเดียวกันกับ
บทความปกติอื่นๆ แต่มีรูปแบบของการนาเสนอที่แตกต่างกันไปตามความคิดของผู้สร้างโฮมเพจ
2.3 ส่วนล่าง ประกอบด้วย การลงลิขสิทธิ์ของผู้จัดทา ข้อมูลติดต่อโดยเฉพาะกับผู้จัดทาหรือผู้ดูแลเว็บไซต์
การเยี่ยมจานวนผู้เข้าชมเว็บ วันที่ของการจัดทาหรือวันที่เผยแพร่ วันที่ของการปรับปรุงครั้งล่าสุด การแจ้งวัน
และเวลาที่เป็นปัจจุบัน ปุ่มช่วยเหลือเลือกการแสดงผล (ทั้งหมด หรือเฉพาะข้อความ)แบบฟรอมสาหรับการ
แสดงความคิดเห็นหรือคาร้องต่างๆเป็นต้น
15
3. Web page
เว็บหนึ่งจัดเป็นองค์ประกอบหลักสาหรับการนาเสานอข้อมูลเว็บ ถ้าเปรียบกับหนังสือ เว็บเพจจะเป็น
หน้าที่ของหนังสือ(สมชาย สมผดุง,2541)เว็บไซต์หนึ่งๆอาจมีเว็บเพจตั้งแต่2-3หน้าจนถึงพันๆหน้า เว็บเพจที่มี
ลักษณะเป็นสื่อผสม และเอกสารในหน้าหนึ่งๆ ก็สามารถเชื่อมโยงไปอีกหน้าหนึ่งที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกันได้โดย
การเชื่อมข้อมูลแบบไฮเปอร์เท็ก การเชื่อมโยงบนเว็บเพจนั้นใช้การเลือกในลักษณะเป็นหัวข้อ รูปภาพ มีการ
ออกแบบให้อยู่ในรูปแบบของนิตยาสาร แผ่นพับและจุลสารต่างๆปัจจุบันรูปแบบของคาสั่งเชื่อมโยงอยู่ใน
รูปแบบของข้อความ ภาพ ไอคอนหรือปุ่มต่างๆซึ่งสามารถเลือกไปบนรูปแบบเหล่านี้เพื่อการเชื่อมโยงไปยัง
ข้อมูลอีกชุดหนึ่งที่เกี่ยวข้องกันได้
องค์ประกอบของเว็บเพจโดยทั่วไปแล้วนั้นรายละเอียดของเว็บเพจจะประกอบด้วยส่วนประกอบสาคัญ
ต่างๆดังต่อไปนี้
3.1 URL Address บอกตาแหน่งตาแหน่งของเว็บไซต์ที่ทางานในขณะที่ปรากฏหน้าเว็บเพจนั้น
3.2 ข้อความซึ่งเป็นลักษณะของข้อมูลส่วนใหญ่ของเว็บเพจ อยู่ในรูปแบบของตัวอักษรใช้ในการอธิบาย
หรือให้ข้อมูลเกี่ยวกับเว็บเพจนั้นและนาเสนอสารสนเทศที่ต้องการเผยแพร่บนเว็บไซต์
3.3 กราฟิกเป็นส่วนประกอบที่ใช้ประกอบเว็บเพจให้ความสวยงาม ดึงดูดแก่ผู้เข้าชมเว็บไซต์มี
ทั้งที่เป็นรูปภาพ ลายเส้นและลายพื้น
3.4 สื่อผสม คือการรวมลักษณะของแสง สี แสงและภาพเคลื่อนไหวประกอบกัน เรียกว่าAudio และVideo
ที่มาเพิ่มสีสันให้เว็บไซต์สวยงามและดึงดูดใจได้มากขึ้น
3.5 แถบเลื่อน เป็นส่วนที่ใช้ในการเข้าถึงส่วนต่างๆที่ไม่สามารถแสดงให้เห็นได้ทั้งหมด ในจอภาพScroll
Bar แบ่งเป็นสองชนิดคือ แถบเลื่อนแนวตั้งกับแถบเลื่อนแนวนอน
3.6 ฟอร์ม เป็นแบบฟอร์มที่ให้ผู้มาเยี่ยมชมกรอกข้อมูลแล้วส่งกลับมายังเจ้าของเว็บไซต์
3.7 เพรม เป็นส่วนที่ใช้แบ่งจอภาพเป็นส่วนๆ แต่ล่ะส่วนจะแสดงข้อมูลที่แตกต่างกัน เฟรมที่นิยมมี 2 ส่วน
กรอบทางด้านซ้ายเป็นแถบสารบัญ หรือแถบวิธีหาข้อมูล ส่วนกรอบทางด้านขาวมือซึ่งมีขนาดกว้างกว่า
16
จะเป็นข้อมูลของเว็บเพจ
3.8 Image Map เป็นกราฟิกชนิดหนึ่งที่อนุญาตให้สารมารถออกแบบพื้นที่ของภาพกราฟิกไฮเปอร์ลิงค์
เพื่อเชื่อมต่อไปยังตาแหน่งที่ต้องการ
3.9 การเชื่อมโยง เป็นส่วนที่ใช้ข้อมูลเชื่อมโยงไปยังจุดต่างๆเช่นเว็บเพจหน้าอื่นหรือการเชื่อมโยงไปยัง
เว็บไซต์ต่างๆที่เกี่ยวข้อง ส่วนที่สามารถจะเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจหรือเว็บไซต์อื่นได้ก็คือบริเวณที่เลื่อนเม้าส์ ไป
แล้วตัวชี้เม้าส์เปลี่ยนจากลูกศรเป็นรูปรูปมือหรือเปลี่ยนสีเป็นอีกสีหนึ่ง
4 สารเทศในเว็บไซต์
สารสนเทศในเว็บไซต์ หมายถึง ส่วนเนื้อหาข้อมูลและการเชื่อมโยงไปยังโฮมเพจหรือเว็บเพจที่เกี่ยวข้อง
ซึ่งส่วนข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการและผู้จัดทาเว็บได้นาเสนอบนเว็บไซต์เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับประโยชน์และเกิดความ
สะดวกในการใช้งานเว็บไซต์ สาหรับเว็บไซต์ห้องสมุดจะไปด้วยสารสนเทศในเว็บไซต์ ดังนี้
(Whalen,1996;Stover and Zink,1996;Clyde,1996;Cohen and Still,1999;Stover,1999a)
4.1 ข้อมูลทั่วไปของห้องสมุด ได้แก่
(1) ชื่อห้องสมุด ประกอบด้วยชื่อของห้องสมุดและชื่อของสถาบันอุดมศึกษา
(2) ข้อความต้อนรับผู้ใช้ที่เข้ามายังเว็บไซต์ เป็นข้อความสั้นๆเช่น”ยินต้อนรับ”เป็นต้น
(3) ภาพถ่ายหรือภาพวาดของห้องสมุด
(4) ที่อยู่/ที่ตั้ง เป็นข้อมูลที่ตั้งของห้องสมุด ใช้ติดต่อไปทางไปรษณีย์รวมทั้งเส้นทางแนะนาการเดินทางไป
ห้องสมุด
(5) หมายเลขโทรศัพท์/โทรสารของห้องสมุดที่ให้ผู้ใช้บริการติดต่อกับห้องสมุด
(6) ที่อยู่ติดต่อได้ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
(7) ประวัติของห้องสมุด เสนอข้อมูลที่เป็นประวัติความเป็นมาของห้องสมุด
17
(8) แผนผังห้องสมุด บอกรายละเอียดสารสนเทศบนพื้นที่ส่วนต่างๆของห้องสมุด
(9) นโยบายและวัตถุประสงค์ที่แจ้งถึงนโยบายและวัตถุประสงค์ของห้องสมุด
(10) โครงสร้างการบริหารงานของห้องสมุด ให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างขององค์กร การจัดการองค์กร การ
บริหารงานฝ่ายต่างๆของห้องสมุด
(11) กฎและระเบียบในการใช้ห้องสมุด ประกอบด้วยกฎระเบียบทั่วไปของห้องสมุดและกฎระเบียบในการ
ใช้บริการไซต์
(12) เวลาทาการ ข้อมูลวันและเวลาเปิด-ปิด บริการของห้องสมุด
(13) ทรัพยากร ข้อมูลรายละเอียดทรัพยากรของห้องสมุดทุกรูปแบบที่มีให้บริการทั้งประเภทและจานวน
(14) บริการห้องสมุด เป็นรายละเอียดของบริการต่างๆ ที่มีในห้องสมุด
(15) ข่าว เหตุการณ์สาคัญที่เป็นข่าวคราว กิจกรรมของห้องสมุด
(16) ข้อมูลสิ่งพิมพ์ของห้องสมุดเช่นวารสาร จดหมายข่าว เป็นต้น
(17) บุคลากรห้องสมุด ให้ข้อมูลเกี่ยวกับบุคลากรของห้องสมุด หน้าที่ความรับผิดชอบและข้อมูลการติดต่อกับ
บุคลากร
4.2 บริการของห้องสมุด
(1) บริการสืบค้นฐานข้อมูลรายการบรรณนุกรมระบบออนไลน์(OPAC)
(2) บริการสืบค้นฐานข้อมูลดรรชนีและสาระสังเขป
(3) บริการสืบค้นหาข้อมูลเนื้อหาฉบับเต็ม
(4) บริการตอบคาถามและช่วยการค้นหา
(5) บริการยืมห้องสมุดระหว่างเรียน
18
(6) บริการข่าวสารทันสมัย
(7) บริการอื่นๆ
4.3 การเชื่อมโยงไปยังแหล่งข้อมูลอื่น
(1) การเชื่อมโยงภายในเว็บไซต์ระหว่างโฮมเพจกับเว็บ
(2) การเชื่อมโยงเว็บไซต์สถาบันอุดมศึกษาต้นสังกัด
(3) การเชื่อมโยงไปยังหน่วยงานภายในของสถาบันศึกษาอุดรศึกษา
(4) การเชื่อยโยงกับsearch engine
(5) การเชื่อมโยงไปยังห้องสมุดอื่น
(6) การเชื่อมโยงกับวารสารหรือสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์
(7) การเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลที่หน่วยงานอื่อนในท้องถิ่นสร้างขึ้น
(8) การเชื่อมโยงกับเว็บไซต์อื่นที่น่าสนใจ
การดาเนินการจัดทาเว็บไซต์
การจัดทาเว็บไซต์หนึ่งๆ คล้ายกับการสร้างหนังสือ คือมีปกหนังสือและสารบัญที่เปรียบได้กับหน้าโฮมเพจ
ของเว็บไซต์ และมีเนื้อหาของหนังสือแบ่งเป็นหน้าเปรียบได้กับหน้าเว็บเพจของเว็บไซต์ การสร้างเว็บไซต์ที่ดี
นอกจากมีเนื้อหาสาระที่ดีแล้ว ต้องออกแบบให้ตรงกับความต้องการของผู้เข้าชมเช่น สวยงาม ง่ายต่อการเข้าหา
เนื้อหา การสร้างเว็บไซต์และเว็บเพจให้มีประโยชน์และมีความน่าสนใจมากขึ้น กราออกแบบ 4 ขั้นตอน(วิเศษ
ศักดิ์ โคตรอาษา,2542)ได้แก่
1 การวิเคราะห์งาน การสร้างเว็บไซต์หนึ่งๆผู้สร้างต้องนึกถึงผู้ใช้ก่อนว่ากลุ่มใด เนื้อหาสาระอะไร
ผู้สร้างต้องวิเคราะห์ว่าใครคือผู้ดู เรื่องอะไร ใช้สื่อแบบไหน รวมทั้งให้เกิดผลอย่างไรด้วย ในขั้นตอนนี้ผู้สร้าง
ต้องวิเคราะห์เนื้อหาสาระที่จะนามาสร้างเว็บไซต์หนึ่งๆ นั้นจะแบ่งเป็นหน่วยย่อยๆได้เท่าไหร่จึงจะครอบคลุม
19
เนื้อหาตามวัตถุประสงค์กาหนด งานออกแบบขั้นตอนการวิเคราะห์นี้ ได้แก่ การกาหนดเรื่อง กาหนดเป้ าหมาย
และจุดประสงค์ กาหนดผลที่จะให้เกิดขึ้นกับผู้ดูกาหนดการประเมินผล กาหนดสื่อและกิจกรรมและกาหนด
ลาดับขั้นตอนเป็นต้น
2 การออกแบบ ขั้นการออกแบบจะต้องสามารถแปลงมโนทัศน์หลักการในแต่ล่ะเรื่องหรือเนื้อหาย่อย
ให้เป็นภาพได้การกาหนดงานขั้นนี้ คือการออกแบบว่าเสนอเนื้อหาอย่างไร ผ่านช่องทางรับรู้ไหม สื่อที่ใช้เป็น
อะไร ซึ่งจะต้องการเอาผลที่ได้ศึกษาไว้แล้วในขั้นการวิเคราะห์ มาใช้ในการออกแบบ งานสาคัญในขั้นตอนการ
ออกแบบคือ การกาหนดสคริปต์ การทาstoryboard ซึ่งจะทาให้ผู้ออกแบบมองเห็นภาพเว็บเพจแต่ละหน้าชัดเจน
นอกจากนี้ยังต้องสร้างวิธีเข้าหาเนื้อหาสาระ(Navigation)ที่ง่ายและน่าสนใจ
3 การพัฒนาเว็บไซต์และเว็บเพจ เป็นการดาเนินการสร้างตามแผนที่ได้กาหนดไว้ในสคิปต์และ
storyboardถ้าออกแบบได้ออกแบบเว็บหน้าต่างๆ ไว้ชัดเจนการพัฒนาก็สะดวกและง่าย ซึ่งอาจไม่จาเป็นต้อง
ผลิตเอง อาจให้ช่างเทคนิคแต่ละเรื่องผลิตให้ได้การสร้างเว็บเพจต้องสะดวกและง่าย ซึ่งอาจไม่จาเป็นต้องผลิต
เอง อาจใช้ช่างเทคนิคแต่ละเรื่องผลิตให้ได้ การสร้างเว็บเพจต้องอาศัยทักษะเกี่ยวกับภาษาที่ใช้ โปรแกรมที่ใช้
เขียนเว็บและทักษะด้านการออกแบบเช่นการสร้างตัวอักษร การเขียนและเลือกภาพ เป็นต้น
4 การปรับปรุงและแก้ไข เว็บไซต์ที่ออกแบบมาอย่างดีไม่ได้หมายความว่าดีดังที่ผู้สร้างคาดคิดเพราะผู้
ที่จะบอกว่าเว็บไซต์ดีหรือไม่ดีคือผู้ชม ดังนั้นเมื่อสร้างเสร็จแล้วต้องไปทดลองใช้ และการปรับปรุงแก้ไขให้
ทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของผู้ชม ในขั้นการปรับปรุงและแก้ไขนี้ ผู้ออกแบบเว็บไซต์หรือเว็บ
เพจจะสามารถปรับปรุงแก้ไขได้ทุกขั้นตอนที่ผ่านมา ตั้งแต่การวิเคราะห์การออกแบบ และการพัฒนาเพื่อจะ
ทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของผู้เข้าชม
20
ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับเวิลด์ไวด์เว็บ
ลักษณะของเวิลด์ไวด์เว็บ ( Woril Wide Web )
เวิลด์ไวด์เว็บ หรือเรียกสั้นๆว่า WWW หรือเว็บ หรือเว็บไซด์ หมายถึงบริการข้อมูลในรูปแบบหนึ่งบน
อินเตอร์เน็ตโดยการเชื่อโยงเครือข่ายใช้ในการค้นหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลหนึ่งไปยังอีกแหล่งข้อมูลหนึ่ง ที่มีวิธี
ที่จะต้องเข้าถึงหรือค้นหาข้อมูลผ่านเว็บเพจในลักษณะเป็นสื่อผสม จะแสดงผลเป็นแบบไฮเปอร์เท็กซ์ (
Hypertext ) ที่ต้องใช้โปรแกรม browser เข้าช่วย การสื่อสารข้อมูลจะเป็นในรูปแบบของข้อความ ภาพนิ่ง
ภาพเคลื่อนไหว และเสียงได้อย่างสมบูรณ์แบบ )วิทย า เรื่องพรวิสุทธิ์, 2539 ; ต้น ตัณฑ์สุธิ์วงศ์ และคณะ, 2539 ;
Waltz, 1995 (
เวิลด์ไวด์เว็บจะเป็นระบบที่ให้บริการข้อมูลแบบไฮเอนด์–เซร์ฟเวอร์ในลักษณะต่างๆอยู่ในตัวเดียวกัน
เช่น การโอนย้ายข้อมูล การบริการข้อมูลแบบโกเฟอร์ การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกล เป็นต้น และยังมี
ศักยภาพในการบริการข้อมูลที่มีทั้งข้อความ เสียง ภาพนิ่งและภาพเครื่อนไหว นอกจากนั้นเวิลด์ไวด์เว็บยังใช้
เทคโนโลยีที่สาคัญ เรียกว่า ไฮเปอร์เท็กซ์ ( Hypertext ) หมายถึงการเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในอินเทอร์เน็ต
จานวนมากให้เป็นกลุ่มและมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน โดยการโยงใยหรือการชี้ข้อมูลข้อความพื้นฐานไปยัง
ข้อความที่มีรายละเอียดมากขึ้น ในกรณีที่ชี้ไปยังข้อมูลในที่ต่างนั้นเป็นข้อมูลหลายสื่อ ทั้งภาพกราฟฟิก ข้อความ
และบางครั้งเป็นเสียงด้วย เรียกการเชื่อโยงแบบนี้ว่า ไฮเปอร์มีเดีย ( Hypermedia ) )สมนึก คีรีโต , 2538 (
วัตถุประสงค์และประโยชน์ของเวิลด์ไวด์เว็บ
1. วัตถุประสงค์ของเวิลด์ไวด์เว็บ
วัตถุประสงค์ที่เผยแพร่สารสนเทศบนเวิลด์ไวด์เว็บมีดังนี้ )วาสนา สุขกระ สานติ , 2541 : พุทธิพงศ์
จิตรปฏิมา, 2543 (
-เพื่อเสริมสร้างภาพพจน์ขององค์กร กล่าวถึงเรื่องที่เกี่ยวข้อง หรือสิ่งที่น่าสนใจขององค์กร
-เพื่อให้ข้อมูลกับนักลงทุน
-เ พื่อเป็นหนังสือพิมพ์และวารสารอิเล็กทรอนิกส์ผ่านทางเว็บไซต์
21
-เพื่อการค้า ได้แก่ การเปิดร้านค้าให้เช้าพื้นที่ โดยเปิดร้านค้าเพื่อให้ผู้ค้ามาเช่าเช่นเดียวกับห้างสรพ
สินค้าต่างๆในการโฆษณาสินค้า การเสนอสินค้า
-เพื่อสนับสนุนทางเทคนิค ได้แก่ การสนันสนุนให้สามารถติดต่อมาได้จากทั่วโลกโดยไม่ได้เสียค่า
โทรศัพท์ทางไกล การสนับสนุนการดูฐานข้อมูล ปัญหาต่างๆตลอดจนแนวทางแก้ไขปัญหา
-เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารทั่วๆไป ได้แก่ ข่าวสารและการประชาสัมพันธ์องค์กร มาตรฐานต่างๆที่
องค์กรกาหนด หรือเทคโนโลยีใหม่ๆที่หน่วยงานสร้างขึ้น ข้อมูลความรู้ด้านสุขภาพ ข้อมูลความรู้ทาง
วิชาการ เป็นต้น
-เ พื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารบริการต่างๆกับสาธารณะชน เช่น เป็นแหล่งค้นข้อมูล แหล่งเก็บรวมแชร์
และฟรีแวร์ แหล่งให้ข้อมูลข่าวสารต่างๆ แหล่งสอบถามข้อมูล แหล่งแลกเปลี่ยนความรู้ที่เป็น
ประโยชน์ เป็นต้น
-เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลตลอดจนการเสนอขายข้อมูล เช่น ใช่ในการทาโพลล์ต่างๆการเป็นตัวกลางใน
การรับสมัครงาน เป็นต้น
-เพื่อความบันเทิง
ประโยชน์ของเวิลด์ไวด์เว็บ
ประโยชน์เวิลด์ไวด์เว็บสามารถแบ่งได้ 2 ด้าน คือ )บุปผชาติ ทัตหิกรณ์ , 2540 : วิทยา เรืองหรวิสุทธิ์,
2539 ; สมนึก คีรีโต, 2538 (
-ประโยชน์ในเชิงธุรกิจ ได้แก่ การตลาด การโฆษณา การประชาสัมพันธ์ และการบริการ การจาหน่าย
สินค้าและการบริการ นาเสนอสิ่งพิมพ์สานักพิมพ์ต่างๆ แสดงความคิดเห็นแก่สินค้าและการบริการ
-ประโยชน์ในด้านการศึกษา ได้แก่ เป็นสื่อผสมอานวยความสะดวกต่อการเรียน การสอน และการ
ค้นคว้าวิจัย และการประชาสัมพันธ์หรือเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับหน่วยงานของตนเองได้การเข้าถึง
ข้อมูลข่าวสารทางวิชาการต่างๆอย่างรวดเร็ว การติดต่อและแลกเปลี่ยนข่างสารอย่างรวดเร็ว การติดต่อ
และแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกลุ่มอย่าง สะดวก รวดเร็ว เช่นการประชุมทางไกล การ
แลกเปลี่ยนความรู้ผู้ที่อยู่ในสาขาวิชาเดียวกัน ตลอดจนการปรึกษาหารือเรื่องวิชาการ งานวิจัยต่างๆ
ระหว่างสถาบัน มุ่งจัดประสบการณ์เรียนรู้โดยช่วยให้ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนในเนื้อหาวิชาที่ต้องการ
22
ได้และประยุกต์ใช้ในการศึกษาทางไกลในรูปของหนังสืออิเล็กทรอนิคส์ การศึกษาตามความประสงค์
การอภิปรายผ่านกระดานข่าว การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การสนทนาผ่านเครือข่ายและอื่นๆ
องค์ประกอบของเว็บไซต์
เว็บไซต์เป็นเอกสารในระบบเวิลด์ไวด์เว็บที่เป็นไฟล์เว็บเพจไฟล์หนึ่งในคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการเรียกดู
เอกสารเว็บได้หรือกลุ่มของแฟ้มข้อมูลในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยที่มีไฟล์ข้อมูลแรกที่เรียกว่า homepage เว็บ
เพจหรือเอกสารต่างๆบนเว็บให้บริการสารสนเทศกับผู้ที่ติดต่อเข้าสู่อินเทอร์เน็ตตลอดเวลาเว็บเพจเหล่านี้
จะแสดงข้อมูลต่างๆที่เจ้าของระบบได้เตรียมไว้เพื่อเผยแพร่สารสนเทศให้บุคคลภายนอกได้รับรู้เว็บไซต์
หนึ่งๆอาจมีเว็บเพจเพียง 2-3 หน้าไปจนถึงพันๆหน้าก็ได้ )วงศ์ป ระชา จันทร์สมวงศ์ และคณะ, 2542 ;
คณิต ศาตะมาน, 2541; ต้น ตัณฑ์สุธิ์วงศ์ และคณะ, 2539(
เว็บไซต์โดยทั่วไปมีองค์ประกอบดังนี้ )สมนึก คีรีโต และคณะ , 2538 ; วิทยา เรืองพร วิสุธ์, 2539(
1. ชื่อของเว็บไซต์หรือ URL ( Uniform Resource Locator ) คือ รหัสสืบค้นแหล่งข้อมูลซึ่งเป็นการ
เชื่อมโยงข้อมูลในระบบเวิลด์ไวด์เว็บ มีชื่อเรียกสั้นๆว่า “ URL ” รูปของ URL เป็นรูปแบบ
มาตรฐานสาหรับเวิลด์ไวด์เว็บ โดยกาหนดให้ขึ้นต้นด้วยคาว่า “http;//” หมายถึง การเชื่อมโยง
ข้อมูลเวิลด์ไวด์เว็บโดยมีระบบการโต้ตอบของการสื่อสารแบบ HTTP ( HyperText Tranter
Protocol ) หรือการแสดงข้อมูลแบบ Hypertext รูปแบบของ URL http://host/path/tile มีความหมาย
ดังนี้
http หมายถึง รูปแบบของการเชื่อมโยงข้อมูลแบบ Hypertext
host หมายถึง ชื่อโฮลต์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่อเชื่อมในระบบเครือข่าย โดย
ให้บริการต่างๆแก่ผู้ใช้ในเครือข่ายนั้น ซึ่งเป็นที่อยู่ในเครื่อข่ายนั้น ซึ่งเป็นที่อยู่ในรูปแบบของ
Domain Name ซึ่ง Domain Name นี้ใช้อ้างอิงแทนหมายเลขไอพี ช่วยอานวยความสะดวกต่อ
ผู้ใช้บริการคอมพิวเตอร์ในการจดจาที่ง่ายขึ้น จึงมากาหนดระบบชื่อคอมพิวเตอร์มาตรฐานใน
เครือข่ายอินเตอร์เน็ตที่ว่า CNS )Domain Name server (หรือระบบชื่อโดเมน สามารถแบ่งประเภท
ของโดเมน ได้ดังนี้(kirk,1996)
1. Adu หรือ ac ประเภทสถาบันการศึกษา
2. Org หรือ or ประเภทองค์กรไม่หวังผลกาไร
23
3. Com หรือ co ประเภทหน่วยงานเอกชน องค์กรการค้า
4. Net หรือ in ประเภทผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
5. Gov หรือgo ประเภทหน่วยงานของรัฐหรือหน่วยงานราชการ
6. Mil หรือ mi ประเภทหน่วยงานทางทหาร
เช่น kku.ac.th. นั้นคือ th หมายถึง ชื่อโดเมนหรือชื่อย่อของประเทศหรือองค์กรหมายถึง
ประเทศไทย ac หมายถึงชื่อซับโดเมนที่บอกประเภทของสถานศึกษาและ kku หมายถึง ชื่อ
เครือข่ายท้องถิ่นที่ระบุว่าระบบดังกล่าวเป็นของมหาลัยขอนแก่น
Path หมายถึง เส้นทางสาหรับกาหนดไดเรกทอรีบนคอมพิวเตอร์ในระบบยูนิกช์
Filt หมายถึง ไฟล์ที่ต้องการโอนย้ายหรือไฟล์ข้อมูล
2. Hoepage เป็นข้อมูลหน้าแรกที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับเว็บไซต์นั้นๆซึ่งจะเป็นจุดเริ่มต้นของเว็บไซต์ต่างๆ
โฮมเพจนี้จะทาหน้าที่เหมือนกับประตูหน้าบ้านของเว็บไซต์แต่ละแห่ง ซึ่งถือได้ว่าเป็นที่แรกที่เข้า
ไปเยี่ยมชมเว็บไซต์จะต้องผ่านและยังเป็นที่เชื่อมโยงไปยังเว็บเพจต่างๆต่อไป ไม่ว่าจะเป็นการ
เชื่อมโยงโดยตรงหรือเชื่อมโยงผ่านเว็บอื่นก่อนหน้าก็ตาม )คณิต ศาสตะมาน , 2541(
3. Web page เป็นการนาเสนอข้อมูลในระบบเวิลด์ไวด์เว็บซึ่งเป็นการนาเสนอข้อมูลได้หลายรูปแบบ
เว็บเพจจะมีลักษณะเป็นสื่อผสม ที่หน้าเว็บเพจหนึ่งๆจะมีตั้งแต่ 2-3 หน้า จนถึงพันๆหน้า และใน
หน้าเอกสารหนึ่งก็สามารถเชื่อมโยงอีกหน้าหนึ่งที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกันได้โดยการเชื่อมข้อมูลแบบ
ไฮเปอร์เท็กซ์ )สมนึก คีรีโต , 2538 (การ เชื่อมโยงบนเว็บเพจแต่ละเพจนั้นจะมีให้เลือกซึ่งอยู่ใน
ลักษณะที่เป็นหัวข้อ รูปภาพ ปัจจุบันนี้รูปของคาสั่งเชื่อมโยงจะอยู่ในรูปแบบของข้อมูลภาพ icon
หรือปุ่มต่างๆซึ่งสามารถคลิกไปบนรูปแบบนี้เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลหนึ่งไปยังอีกข้อมูลหนึ่งที่
เกี่ยวข้องกัน
24
การวิเคราะห์เว็บไซต์
การวิเคราะห์ หมายถึง การพิจารณาใคร่ควรแยกออกเป็นสัดส่วน )พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิสถาน
พ.ศ. 2525 ( ให้ทราบว่าสิ่งนั้นๆ ประกอบไปด้วย อะไรบ้าง เพื่อประโยชน์ในการศึกษา )อัมพร ทีขะระ , 2533 (
ซึ่งการวิเคราะห์เว็บไซต์จะพิจารณาศึกษาเนื้อกาภายในเว็บไซต์เรื่อง ผู้จัดทา วัตถุประสงค์ในการจัดทา เนื้อหา
กลุ่มผู้ใช้ การปรับปรุงข้อมูล และภาษาที่ใช้ ส่วนกรอบแนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์เว็บไซต์นั้น ได้ศึกษาจาก
การวิเคราะห์เนื้อหา เกณฑ์การวิเคราะห์เว็บไซต์ และเกณฑ์การประเมินคุณค่าสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต
การวิเคราะห์เนื้อหา หมายถึง การวิจัยเอกสารแบหนึ่งที่มีลักษณะเป็นการสารวจเชิงวิเคราะห์และเป็น
เทคนิคหนึ่งที่ใช้ในการศึกษาวิเคราะห์บันทึกเอกสาร ข่าวสารอย่างมีระบบและมีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงปริมาณ
เน้นหรือความถี่ในการสื่อความหมายและช่วยบรรยายหรือแยกแยะสาระของข้อความที่ได้ศึกษามีองค์ประกอบ
ของการวิเคราะห์เนื้อหาดังนี้ )ประภาวดี สืบสนธ์ , 2530 (
1. ลักษณะของเนื้อหาเป็นการวิเคราะห์ตัวเนื้อหาใน 2 ลักษณะใหญ่ คือ
1.1 สาระ เป็นการวิเคราะห์แนวโน้มของเนื้อหาที่ปรากฏพัฒนาการของเรื่องใดเองหนึ่งความแตกต่าง
ของเนื้อหาเรื่องเดียวกันที่เผยแพร่ในที่ต่างๆการเปรียบเทียบสื่อและระดับของการสื่อสารการ
วิเคราะห์กับวัตถุประสงค์และมาตรฐาน และวิเคราะห์เนื้อหาสาหรับการวิจัย
1.2 ลักษณะหรือรูปแบบของเนื้อหาเป็นการวิเคราะห์สัญลักษณ์ตลอกจนการใช้สัญลักษณ์ เทคนิคการ
โฆษณา ความน่าอ่าน และวิธีการนาเสนอเนื้อหา
2. สาเหตุที่เสนอเนื้อหา เป็นการศึกษาผู้ผลิตว่าอะไรเป็นสาเหตุที่เสนอเนื้อหาเช่นนั้น นั้นคือการวิเคราะห์
เพื่อศึกษาความตั้งใจวัตถุประสงค์ของผู้ผลิต
3. ผลของเนื้อหา เป็นการวิเคราะห์เนื้อหาเหื่อศึกษาของผู้รับสื่อ ผลของงานต่อความรู้สึกนึกคิดและ
ทัศนคติของผู้รับสาร )อาพ ร ทีขะระ,2533 (
ใช้ทฤษฏีทางวิชาการ พิจารณาว่า เนื้อหาเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไรจัดอยู่ในกลุ่มวิชาใดโดยกาหนดวิการทั้งหลายที่มี
อยู่แบ่งกลุ่มออกตามสาขาวิชาต่าง หรือมาตรฐานสากลว่าด้วยกานจัดกลุ่มสาขาวิชาทางการศึกษาจาแนกวิชาการ
เป็นกลุ่มๆ เช่น ศึกษาศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ประยุกต์และวิจิตรศิลป์ กฎหมาย การบริหารธุรกิจและ
พาณิชยการ แพทยศาสตร์และวิชาที่เกี่ยวข้องกับสุขมภาพอนามัย ฯลฯ
งานข้อ 2 แก้2
งานข้อ 2 แก้2
งานข้อ 2 แก้2
งานข้อ 2 แก้2
งานข้อ 2 แก้2
งานข้อ 2 แก้2
งานข้อ 2 แก้2
งานข้อ 2 แก้2
งานข้อ 2 แก้2
งานข้อ 2 แก้2
งานข้อ 2 แก้2

More Related Content

Viewers also liked

บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)Love Plukkie Zaa
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์Narinthip Wakuram
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพZnackiie Rn
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 

Viewers also liked (12)

บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
 
Theory development and design website
Theory development and design websiteTheory development and design website
Theory development and design website
 
Krapookya
KrapookyaKrapookya
Krapookya
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
หน้าปกรายงาน
หน้าปกรายงานหน้าปกรายงาน
หน้าปกรายงาน
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
 
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการแบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 

Similar to งานข้อ 2 แก้2

Similar to งานข้อ 2 แก้2 (20)

ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
 
การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์
 
ส่วนนำ1 pop
ส่วนนำ1 popส่วนนำ1 pop
ส่วนนำ1 pop
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
นำ
นำนำ
นำ
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
1พ
1พ1พ
1พ
 
ส่วนนำ
ส่วนนำส่วนนำ
ส่วนนำ
 
ส่วนนำ
ส่วนนำส่วนนำ
ส่วนนำ
 
หน้าปก12
หน้าปก12หน้าปก12
หน้าปก12
 
ส่วนนำ
ส่วนนำส่วนนำ
ส่วนนำ
 
ส่วนนำรายงาน
ส่วนนำรายงานส่วนนำรายงาน
ส่วนนำรายงาน
 
ส่วนนำ1
ส่วนนำ1ส่วนนำ1
ส่วนนำ1
 
ส่วนนำ1
ส่วนนำ1ส่วนนำ1
ส่วนนำ1
 
Ana_web
Ana_webAna_web
Ana_web
 
0 ส่วนนำ1
0 ส่วนนำ10 ส่วนนำ1
0 ส่วนนำ1
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
00 ส่วนนำ1 แก้
00 ส่วนนำ1 แก้00 ส่วนนำ1 แก้
00 ส่วนนำ1 แก้
 

More from Naruedee Chotsri

การเช่า Hosting และการเช่าโดเมน
การเช่า Hosting และการเช่าโดเมนการเช่า Hosting และการเช่าโดเมน
การเช่า Hosting และการเช่าโดเมนNaruedee Chotsri
 
งาน 1 ข้อ 1 สังเคราะห์เว็บไซต์
งาน 1 ข้อ 1 สังเคราะห์เว็บไซต์งาน 1 ข้อ 1 สังเคราะห์เว็บไซต์
งาน 1 ข้อ 1 สังเคราะห์เว็บไซต์Naruedee Chotsri
 
วิเคระาห์และทฤษฎีออกแบบเว็บไซต์2
วิเคระาห์และทฤษฎีออกแบบเว็บไซต์2วิเคระาห์และทฤษฎีออกแบบเว็บไซต์2
วิเคระาห์และทฤษฎีออกแบบเว็บไซต์2Naruedee Chotsri
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กNaruedee Chotsri
 
วิเคระาห์และทฤษฎีออกแบบเว็บไซต์2
วิเคระาห์และทฤษฎีออกแบบเว็บไซต์2วิเคระาห์และทฤษฎีออกแบบเว็บไซต์2
วิเคระาห์และทฤษฎีออกแบบเว็บไซต์2Naruedee Chotsri
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Naruedee Chotsri
 

More from Naruedee Chotsri (6)

การเช่า Hosting และการเช่าโดเมน
การเช่า Hosting และการเช่าโดเมนการเช่า Hosting และการเช่าโดเมน
การเช่า Hosting และการเช่าโดเมน
 
งาน 1 ข้อ 1 สังเคราะห์เว็บไซต์
งาน 1 ข้อ 1 สังเคราะห์เว็บไซต์งาน 1 ข้อ 1 สังเคราะห์เว็บไซต์
งาน 1 ข้อ 1 สังเคราะห์เว็บไซต์
 
วิเคระาห์และทฤษฎีออกแบบเว็บไซต์2
วิเคระาห์และทฤษฎีออกแบบเว็บไซต์2วิเคระาห์และทฤษฎีออกแบบเว็บไซต์2
วิเคระาห์และทฤษฎีออกแบบเว็บไซต์2
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
 
วิเคระาห์และทฤษฎีออกแบบเว็บไซต์2
วิเคระาห์และทฤษฎีออกแบบเว็บไซต์2วิเคระาห์และทฤษฎีออกแบบเว็บไซต์2
วิเคระาห์และทฤษฎีออกแบบเว็บไซต์2
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

งานข้อ 2 แก้2

  • 1. 1 ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวจิราภรณ์ ระแหง รหัส 355013333504 2. นางสาวนภาทิพย์ จ้อยนุแสง รหัส 355013333510 5. นางสาวนฤดี โชติศรี รหัส 355013333511 0. นายวรวัฒน์ เอกวารี รหัส 355013333502 สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ศึกษา ชั้นปีที่ 0หมู ่่ 5 อาจารย์ประจาวิชา อาจารย์ ปวริศ สาระมะโน ภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา2332 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • 2. 2 สารบัญ เรื่อง หน้า การออกแบบเว็บเพจ 1 ลักษณะตัวเชื่อมโยง 6 องค์ประกอบของเว็บไซต์ 10 Web page 13 การดาเนินการจัดทาเว็บไซต์ 16 การวิเคราะห์เว็บไซต์ 22 หลักและทฤษฏีการสื่อสาร 29 การประชาสัมพันธ์ 31 การเรียนการสอนผ่านเว็บเพจ 32
  • 3. 3 1. การออกแบบเว็บเพจ ในการออกแบบเว็บนั้น มีผู้ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการออกแบบเว็บไว้ดังนี้ Cotrell&Eisenberg(1997) ให้ข้อเสนอแนะในการออกแบบเว็บว่า ควรหลีกเลี่ยงข้อความสะท้อนแสง และ ข้อความที่ขัดแย้งต่อภาพ มีความสม่าเสมอในการสร้างเว็บ ใช้ระยะเวลาในการดาวน์โหลดน้อยที่สุด มีการ กาหนดขอบเขตของปัจจัยในเว็บไซต์ให้ชัดเจน เว็บเพจควรประกอบด้วยหน้าสั้นๆกับเนื้อหาที่สาคัญและ สัมพันธ์กับหัวเรื่อง มีแบบแผนที่มีเค้าโครงเป็นลาดับขั้นหรือหมวดมู่ ไม่มีสิ้นสุด และสามารถเชื่อมโยงไปหา เนื้อหาที่ใหญ่กว่าได้ Everhart(1997)ให้ข้อเสนอแนะว่า ในการออกแบบเว็บควรมีความพอดี ชัดเจน มีความเป็นอิสระในการ ทางานมีความสม่าเสมอในการจัดวางรูปแบบ และมีการเกริ่นนา Young and Watkins(1997)ให้ข้อเสนอแนะว่า ในการนาเสนอควรนาเสนอเนื้อหาให้น้อย แต่เน้นจุดสาคัญ มีความสม่าเสมอในการข้ามไปยังเว็บหน้าอื่น ในส่วนของการออกแบบการเชื่อมโยงนั้น นักออกแบบและพัฒนาเว็บหลายท่านได้ให้คาแนะนาไว้ดังนี้ Nichols andothers(1995)ได้รับการแนะนาถึงการเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจอื่นว่าควรจะมีการอธิบายให้เข้าใจว่า จุดที่กาลังจะไปนั้นมีความสาคัญหรือมีข้อมูลข่าวสารเกี่ยวข้องกับอะไร Hall(1997)ได้กล่าวถึงการใช้เว็บในการเรียนการสอนว่าการศึกษาทดลองหาวิธีสร้างเว็บอย่างมี ประสิทธิภาพยังอยู่ในระดับน้อย แต่จากการรวบรวมจากประสบการณ์และการนาเสนอของนักออกแบบเว็บเพื่อ การเรียนการสอน สรุปได้ว่าเว็บเพื่อการเรียนการสอนที่ดี จะต้องมีลักษณะดังนี้ 1. ต้องสะดวกและไม่ยุ่งยากต่อการสืบค้นของผู่เรียน 2. ต้องมีความสอดคล้องตรงกันภายในเว็บรวมถึงการเชื่อมโยงระหว่างเว็บต่างๆ 3. เวลาในการแสดงแต่ล่ะหน้าจอจะต้องน้อยที่สุด หลีกเลี่ยงการใช้ภาพกราฟฟิกที่มีขนาดใหญ่ ที่จะทาให้ เสียเวลาในการดาวน์โหลด
  • 4. 4 4. มีส่วนที่ทาหน้าที่ในการจัดระบบในการเข้าสู่เว็บ นักออกแบบควรกาหนดให้ผู้เรียนได้เข้าสู่หน้าจอ แรกที่มีคาอธิบาย คาแสดงโครงสร้างภายในเว็บ เพื่อทราบขอบเขตที่ผู้เรียนจะสืบค้น 5. ควรมีความยืดยุ่นในการสืบค้น แม้จะมีการแนะนาว่าผู้เรียนครวจะเรียนอย่างไรก็ตามลาดับขั้นตอน ก่อนหลัง แต่ครวเพิ่งความยืดยุ่นต่อผู้เรียนให้สารมารถกาหนดเส้นทางการเรียนได้เอง 6. ต้องมีความยาวในหน้าจอให้น้อย แม้นักออกแบบส่วนใหญ่จะบอกว่าสามารถใช้ไฮเปอร์เท็กซ์ช่วยใน การเลื่อนไปมาในส่วนต่างๆในหน้าจอแต่ในความเป็นจริงแล้วหน้าจอที่สั้นเป็นสิ่งที่ดีที่สุด จิตเกษม พัฒนาศิริ(2539)ได้เสนอแนะการออกแบบการเชื่อมโยงว่า ในการเชื่อมโยงข้อมูลจะต้อง เชื่อมโยงข้อมูลไปยังเป้ าหมายให้ตรงกลับความต้องการให้มากที่สุด และในการสร้างตัวเชื่อมโยงนั้นจะ สร้างในรูปแบบของตัวอักษรหรือรูปภาพก็ได้แต่ควรจะแสดงตัวเชื่อมโยงให้ผู้ใช้สามารถเข้าใจได้ง่าย ที่ นิยมสร้างกันนั้นโดยส่วนใหญ่เมื่อมีเนื้อหาตอนใดเอ่นถึงชื่อที่เป็นรายละเอียดเกี่ยวเนื่องกันก็ขะใช้ตัวเชื่อม โยงได้ทันทีและในแต่ละเว็บเพจที่จะสร้างขี้นมาครวจะมีตัวเชื่อมโยงกลับมายังหน้าแรกของเว็บไซต์ที่กาลัง จะใช้งานอยู่ด้วยทั้งนี้เพื่อว่าเมื่อมีผู้ใดหลงทางในการใช้เว็บและไม่ทราบว่าจะทาอย่างไรต่อไปจะได้มีทาง กลับมาหน้าเริ่มต้น กิดานันท์ มลิทอง(2542)ได้กล่าวถึงองค์ประกอบต่างๆที่ใช้เป็นแนวทางในการออกแบบเว็บเพื่อการ เรียนการสอนดั้งนี้ 1. ขนาดของเว็บเพจจากัดขนาดของแฟ้มของแต่ละหน้าโดยการกาหนดขีดจากัดเป็นกิโลไบต์สาหรับ ขนาดน้าหนักของแต่ละหน้าซึ่งหมายถึงจานวนกิโลไบต์สาหรับขนาดของภาพกราฟฟิกทั้งหมดในหน้า โดยรวมภาพพื้นหลังด้วยการแคชของโปรแกรมค้นผ่าน(Web browser)โปรแกรมค้นผ่านทุกวันนี้จะ เก็บบันทึกภาพกราฟฟิกไว้ในแคชซึ่งหมายถึงโปรแกรมเก็บภาพกราฟฟิกไว้บนฮาดร์ดิส เพื่อที่ โปรแกรมจะได้ไม่ต้องบรรจุภาพเดียวกันนั้นมากว่าหนึ่งครั้ง จึงเป็นการที่ดีที่จะนาเอาภาพนั้นมาเสนอ ซ้าเมื่อใดก็ได้บนเว็บไซต์ นับเป็นการประหยัดเวลาการบรรจุลงสาหรับผู้อ่านและลดภาระให้แก่เครื่อง บริการด้วย 2. การจัดหน้า แบ่งเป็น 2.1 กาหนดความยาวของหน้าให้สั้น ไม่ให้แต่ละหน้ายาวเกินไป
  • 5. 5 2.2 ใส่สารสนเทศที่สาคัญที่สุดในส่วนบนของหน้า ถ้าเปรียบเทียบกับเว็บไซต์กับสถานที่แห่งหนึ่ง เนื้อหาที่มีความสาคัญที่สุดจะอยู่ส่วนหน้าซึ่งก็คือส่วนบนสุดของหน้าจอภาพนั้นเอง ทุกคนที่เข้ามา ในเว็บไซต์จะมองเห็นส่วนบนของจอภาพได้เป็นลาดับแรก ถ้าผู้อ่านไม่อยากที่จะใช้แถบเลื่อนเพื่อ เลื่อนจอภาพลงมาก็ยังเห็นส่วนบนของจอภาพอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นถ้าไม่ต้องการจะให้ผู่อ่านพลาด สาระสาคัญของเนื้อหา ก็ควรใส่ไว้บนของหน้าซึ่งอยู่ภายในประมาณ300จุดภาพ 2.3 ใช้ความได้เปรียบของตาราง ซึ่งตารางเป็นสิ่งอานวยประโยชน์และช่วนนักออกแบบได้อย่างมาก การใช้ตารางจะจาเป็นสาหรับการส้รางหน้าที่ซับซ้อนหรือที่ไม่เรียบธรรมดาโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อ เราต้องการใช้คอลัมน์ตารางจะใช้ได้เป็นอย่างดีเมื่อใช้ในการจัดระเบียบหน้าเช่นการแบ่งแยกภาพ กราฟฟิกหรือเครื่องมือนาทางออกจากข้อความหรือการจัดแบ่งข้อความออกเป็นคอลัมน์ 3.พื้นหลังแบ่งเป็น 3.1 ความยากง่ายในการอ่าน พื้นหลังที่มีลวดลายมากจะทาให้หน้าเว็บมีความยากลาบากในการอ่านเป็น อย่างยิ่งการใช้สีร้อนที่มีความเปรียบต่างสูงจะทาให้ไม่สบายตาในการอ่านเช่นกันดังนั้นจึงไม่ควรใช้ ลวดลายเกินความจาเป็นและควรใช้สีเย็นเป็นพื้นหลังจะทาให้เว็บเพจนั้นน่าอ่านมากว่า 3.2 ทดสอบการอ่าน การทดสอบที่ดีที่สุดในเรื่องของความสามารถในการทดสอบการอ่านเมื่อใช้พื้อน หลังคือให้ผู้ใดก็ได้ที่ไม่เคยอ่านเนื้อหาของเรามาก่อนลลองอ่านข้อความที่อยู่บนพื้นหลังที่จัทาไว้หรือ อีกวิธีหนึ่งคือทดสอบการอ่านด้วยตนเองถ้าอ่านไดแสดงว่าสามารถใช้พื้อนหลังนั้นได้ 4. ศิลปะการใช้ตัวพิมพ์ได้แก่ 4.1 ความจากัดของการใช้ตัวพิมพ์นักออกแบบจะถูกจากัดในเรื่องของศิลปะการใช้ตัวพิมพ์บนเว็บ มากกว่าในสื่อสิ่งพิมพ์โปรแกรมค้นผ่านรุ่นเก่าๆจะสารมารถใช้อักษรได้เพียง2แบบเท่านั้น อย่างไรก็ ตามโปรแกรมรุ่นใหม่จะสามารถใช้แบบอักษรได้หลายแบบมากขึ้น นอกจากนี้การพิมพ์ในเว็บจะไม่ สามารถควบคุมช่วงบันทัดซึ่งเป็นเนื้อที่ระหว่างบรรทัดหรือช่องไฟระหว่างตัวอักษรได้ 4.2 ความแตกต่างระหว่างการใช้ระบบและการใช้โปรแกรมค้นผ่าน(web browser)
  • 6. 6 แต่ละตัวจะมีตัวเลือกในการใช้แบบอักษรที่แตกต่างกันซึ่งตรงนี้สามารถเปลี่ยนแปลงค่าต่างๆของแบบ อักษรได้ด้วยตนเอง 4.3 สร้างแบบการพิมพ์เป็นแนวทางไว้ถึงแม้จะมีข้อจากัดในเรื่องการใช้ตัวพิมพ์บนเว็บก็ตาม แต่นัก ออกแบบก็สามารถระบุระดับของหัวเรื่องละเนื้อกหาไว้ได้เช่นเดียวกับการพิมพ์ในหนังสือ 4.4 ใช้ลักษณะกราฟฟิกแทนตัวอักษรธรรมดาให้น้อยที่สุด ถึงแม้จะสามารถใช้ลักษณะอักษรแทน กราฟฟิกธรรมดาได้ก็ตาม แต่ไม่ควรใช้มากเกินกว่า2-3บรรทัด ทั้งนี้เพราะจะทาให้เสียเวลาในการ โหลดมากกว่าปกติ รูปแบบของการออกแบบเว็บเพจโดยมหาวิทยาลัยเยล ได้กล่าวถึงการออกแบบในประเด็นต่างๆได้แก่ (อ้างถึงใน ใจทิพย์ณ สงขลา,2544) 1. ปรัชญาในการสร้างเว็บไซต์ได้แก้เป้ าหมายหลักในการสร้างเว็บ และกลยุทธ์ในการออกแบบ เว็บไซต์ในเรื่องของประเภทเว็บไซต์ความซับซ้อนของเนื้อหาและความเป็นลาดับในการนาเสนอ 2. การออกแบบการเชื่อมต่อระหว่างโปรแกรและผู้ใช้เน้นที่เป้ าหมายการนาเสนอ การสร้างการนาทาง ในการเข้าถึงเนื้อหาและเชื่อมโยง 3. การออกแบบเว็บไซต์ กล่าวถึงเรื่องของโครงสร้างเว็บไซต์ การวางลาดับของเนื้อหาและตัวเลือก ความแตกต่างของลักษณะการเชื่อมโยงของเว็บไซต์แบบตามลาดับแบบลาดับขั้นแบบตารางและ แบบเครือข่าย 4. การออกแบบเว็บเพจ กล่าวถึงความสมดุลของเพจโครงร่างรูปแบบของเพจตาแหน่งที่เป็นจุดดึงดูด สายตาของภาพ ส่วนต่างๆของเพจเช่นส่วนหัวเรื่อง ส่วนข้อความและส่วนปลายของเพจ ลักษณะ ของตัวอักษรตัวอักษรภาพความสม่าเสมอ ตาราง ความยาวของเพจ กรอบของเพจประเด็นการเข้า ระบบ 5. ภาพประกอบในเว็บ การแสดงสีของจอภาพประเภทของจอภาพในเว็บ สีพื้อนหลังสีที่โปร่งใสของ พื้นหลังภาพ ความสูงและความกว้างของภาพ ภาพแผนที่ 6. สื่อประสม ได้แก่การออกแบบองค์ประกอบของภาพและเสียงดิจิตอลวิดิทัศน์ เสียงดิจิตอล ภาพเคลื่อนไหว
  • 7. 7 Rolley(1998)ได้สรุปการออกแบบหน้าจอผู้ใช้(Graphic Users Interface:GUIs)ว่ามีลาดับขั้นตอน เป็นกระบวนการว่า 1. จะต้องมีความเข้าใจโดยการอธิบายให้ผู้ใช้ทราบหรือกาหนดลักษณะที่มีผู้ใช้ 2. สามารถเข้าใจวัตถุประสงค์ 3. มีการกาหนดวัตถุประสงค์โดยรวมสาหรับผู้ใช้ทุกคนหรือกลุ่ม 4. ตัดสินใจแบบของระบบและกาหนดวัตถุประสงค์จะเป็นภาพให้ผู้ใช้ได้เห็น 5. อธิบายภาพตามวัตภุประสงค์ที่อ้างถึงโดยหน้าจอที่คิดสร้าง 6. กาหนดความสัมพันธ์ของจุดประสงค์ที่กล่าวถึงตามหน้าจอที่สร้าง 7. ตัดสินใจจุดประสงค์ของภาพว่าจะใช้อย่างไร 8. วาดโครงร่างของการออกแบบหน้าจอ 9. ทดสอบการออกแบบกับผู้ใช้ การออกแบบที่ไม่เหมาะสมและเกิดข้อผิดพลาดอย่อมส่งผลเสียต่อการนาเว็บไปใช้การเรียนการสอนได้ Nielsen(1996)ได้รวบรวมลักษณะของเว็บที่เกิดจากความผิดพลาดในการออกแบบซึ่งไม่ควรจะละเลย เรียน ลาดับตามหัวข้อต่อไปนี้ 1. การใช้กรอบ(Frame)เนื่องจากการใช้เฟรมมักมีปัญหาในการที่จะสร้างบุ๊คมาร์ก(Bookmark)จึงไม่ควร นามาใช้ แต่ในปัจจุบันขีดความสามารถของโปรแกรมที่ใช้สร้างเว็บเพจมากขึ้นทาให้ปัญหาในข้อนี้ หมดไป 2. การใช้เทคนิคต่างๆมากเกินความจาเป็นเช่นภาพเคลื่อนไหวหรือตัวอักษรวิ่ง(Marquees)นอกจากมี ความจาเป็นต้องใช้ประกอบเนื้อหาเนื่องจากเทคนิกเหล่านี้จะรบกวนการอ่านได้ 3. เนื้อหาที่เหมือนเขียนบนกระดาษ ไม่มีความน่าสนใจ 4. การใช้ยุอาร์แอลที่ซับซ้อนหรือยาวเกินไป ซึ่งจะไม่สะดวกต่อการพิมพ์ลดลงในช่องเอดเดรส (Address)ของโปรแกรมค้นผ่าน 5. การมีหน้าที่ไม่มีการเชื่อมโยง(Orphan Page)ทาให้ผู้ใช้ไม่รุจะทาอย่างไรต่อไปอย่างน้อยในแต่ล่ะหน้า ควรจะทาตัวเชื่อมโยงที่กลับไปยังโฮมเพจได้
  • 8. 8 6. หน้าจอที่เป็นลักษณะเลื่อนขึ้นลง(Scrolling)เนื่องจากมีเนื้อหายาวเกินไป ทาให้ผู้ใช้ส่วนใหญ่ไม่ดู เนื้อหาที่อยู่ด้านลง เพราะฉะนั้นจึงควรนาเสนอเนื้อหาที่มีความสาคัญไว้ด้านบนสุดในแต่ล่ะหน้า 7. การขาดตัวสนับสนุนในการเข้าสู่เนื้อหา(Navigation support)เช่นแผนผังของเว็บไซต์หรือปุ่มควบคุม เส้นทางไม่ว่าจะเป็นเดินหน้า ถอยหลังรวมถึงการใช้เครื่องมือสืบค้น(Search engine)ช่วยในการค้นหา หน้าที่ต้องการ 8. สีของตัวเชื่อมโยงที่ไม่ป็นมาตรฐาน ทาให้เกิดความสับสนได้ 9. ข้อมูลที่เก่าหล้าสมัยไม่มีการปรับปรุง 10. ใช้เวลาดาวน์โหลดนาน ผู้ใช้จะเกิดอาการเบื่อหน่ายและเลิกให้ความสาคัญกับเว็บที่ใช้เวลาแสดงผล นาน 2. ลักษณะตัวเชื่อมโยง ตัวเชื่อมโยงจัดเป็นสิ่งสาคัญในการสร้างเว็บ เนื่องจากเป็นการตอบสนองความต้องการ เพื่อการเข้าถึง ข้อมูลของผู้ใช้ด้วยความหลากหลายของตัวเชื่อมโยงในเว็บที่มีการออกแบบไว้หลายลักษณะเพื่อ ตอบสนองความต้องการของการของผู้ใช้ผู้แตกต่างกัน โดยในและวัยก็ย่อมมีการรับรู้และเลือกใช้ที่ ข้อความที่แตกต่างกันซึ่งงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมีดังนี้ Jackson(1977)ได้ศึกษาความแตกต่างของความเข้าใจเนื้อหาจากการใช้สิ่งช่วยความเข้าใจสามแบบคือ ใช้รูปภาพ ใช้ขีดเส้นใต้คาและข้อความสาคัญและใช้ทั้งสองอย่างรวมกันโดยทดลองกับนักเรียนเกรด6,7 และ8ผลการวิจัยไม่พบความแตกต่างของความเข้าใจเนื้อหาระหว่างการใช้สิ่งช่วยความเข้าใจทั้งสามแบบ ทั้งระหว่างเพศและระหว่างระดับชั้นเรียนของนักเรียน(2524)ประเภทของภาพที่มีผลต่อการเรียนรู้ของ นักเรียน โดยเฉพาะนักเรียนที่มีอายุน้อยหรืออยู่ในวัยประถมศึกษา คือภาพประเภทลายเส้นที่มีลายละเอียด น้อยและไม่ซับซ้อน จะเห็นได้ว่าจากงานวิจัยข้างต้นเด็กก็ยังไม่สามารถแยกแยะสิ่งที่มีความละเอียดได้มากนัก จึงรับรู้ รายละเอียดได้ดีดี เฉพาะภาพที่มีลายเส้น เมื่อเด็กอายุมากขึ้นจะสามารถแยกแยะรายเอียดได้มากขึ้น ด้านตาแหน่งของตัวเชื่อมโยง วาสนา ชาว(2525)ได้กล่าวถึงลักษณะของการมองของคนทั่งไปว่า คนเรามักจะกวาดสายตาไปทั่วๆก่อน แล้วจึงดูรายละเอียดภายหลังและคนจะมองดูภาพซ้ายมือบนมากที่สุด
  • 9. 9 ถัดมาคือซ้ายล่าง ขวาบนและขวาล่างตามลาดับซึ่งตรงกับHeinich,Molenda and Russel(1982) ที่ได้ศึกษา การเคลื่อนที่ของตาในการมองภาพ พบว่าคนเราจะมองสาระของภาพที่อยู่ในตาแหน่งแรกซ้ายบนตาแหน่ง รถแรก ถัดมาเป็นซ้ายล่าง ขวาบนและขวาล่างตามลาดับ Park(1983)ได้ศึกษาการจาตาแหน่งของภาพและของคาของวัยรุ่นและคนชรา กลุ่มตัวอย่างวัยรุ่นอยู่ ในช่วง17-24ปีและกลุ่มคนชราอยู่ในช่วง60-91ปีโดยการฉายสไลด์ที่มีภาพและคาให้ปรากฏบนจอครั้ง ล่ะ4ภาพคือภาพซ้ายบน ซ้ายล่าง ขวาบนและขวาล่างพบว่าการจัดตาแหน่งของภาพจาได้ดีกว่าการจา ตาแหน่งของคา งานวิจัยข้างต้นสอดคล้องกับPiajet(อ้างถึงใน สุรางค์โค้งตระกู,2540)ที่กล่าวว่าเด็กในวัยตั้งแต่7ปีขึ้น ไป จะสามารภแบ่งกลุ่มหรือจัดกลุ่มหมู่ของสิ่งแวดล้อมต่างๆให้เป็นหมวดหมู่ได้ดังนั้นจึงเป็นไปได้ว่า ใน การจัดตาแหน่งตัวเชื่อมโยงบนหน้าเว็บนั้น เด็กจะสามารถแยกแยะได้ตั้งแต่ระดับประถมศึกษา ในด้านสีตัวเชื่อมโยงนั้น สีต่างๆที่ได้สัมผัสทางสายตา มีส่วนเกี่ยวข้องกับความรู้สึกของมนุษย์และมี ผลต่อจิตใจ และยังมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของมนุษย์(สุชาติ เถาทอง,2538) Eysenck(1941)พบว่าสีที่ชอบจากมากที่สุดไปน้อยที่สุดในจานวน6 สี เรียงตามลาดับสีน้าเงิน สีแดง สี เขียว สีม่วง สีส้มและสีเหลืองสีที่มีพลังเช่นสีแดงและสีส้ม สามารถสร้างความแตกต่างได้อย่างชัดเจนมาก สีเขียว สีฟ้า และสีน้าตาลดูสบายตาแต่จะไม่ดึงดูดความสนใจ Cabibi john F.J(1973)ได้แบ่งความแตกต่างของตัวอักษรกับพื้น แบบตัวพิมพ์ขนาดของตัวพิมพ์ ความยาวของบรรทัดและระยะห่างระหว่างบรรทัด ความแตกต่างของตัวอักษรกับพื้อนนั้นเกิดจาก ความ หนักเบาของเส้นตัวอักษรแสงสว่างแสงของอักษรและสีพื้น ซึ่งมีอิทธิพลต่อความยากง่ายในการอ่านและ ส่งผลต่อเนื้อหาของสารที่ต้องการสื่อการเลือกใช้สีที่เหมาะสมก่อให้เกิดผลได้งดังนี้ 1. สร้างคนสนใจให้กับผู้ดู ทั้งนี้มีผลมาจากความแตกต่างกันของสี 2. ก่อให้เกิดผลทางจิตวิทยา เนื่องจากสีมีผลต่ออารมณ์ของผู้ดู 3. ทาให้จาได้ง่าย เมื่ออธิบายถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งและอ้างถึงสีของสิ่งนั้นจะทาให้สามารถระลึกถึงได้ง่าย
  • 10. 10 4. สร้างบรรยากาศที่ดี เนื่องจากเลือกใช้สีที่เหมาะสมทาให้เกิดความพอใจและสร้างความสบายตาให้แก่ผู้ ดู(Turnbull and Russel,1968อ้างใน จิรดา บุญอารยะกุล,2542) Jones M.K.(1989)กล่าวว่าควรหลีกเลี่ยงการใช้สีแดงในพื้นที่บริเวณกว้างบนจอแสดงผลเนื่องจากสี ดังกล่าวเป็นสีโทนร้อน ที่ให้ความรู้สึกร้อนแรง เกิดอาการระคายเคืองนัยน์ตา การลดความเข้มของสีโดย พยายามใช้สีอ่อนเพื่อนให้เกิดความกลมกลืน นอกจากนี้ยังพบว่าการเลือกใช้สีอ่อนทาให้เกิดความสบายตา โดยสีที่ไม่ควรนามาใช้ไม่ว่าจะเป็นตัวอักษรหรือฉากหลัง ได้แก่สีแดงและสีม่วง Berry(1991)ได้วิจัยพบว่าสีช่วยในการจดจาเท่าเทียบกัน และการใช้สีที่เหมือนจริง(Non Realistic) ดีกว่าการใช้สีแบบMonochromeแต่ภายหลังพบว่า สีเหมือนจริงช่วยให้จดจามากกว่าการใช้สีMonochrome และดีกว่าการใช้เพียงลายเส้น กฤษมันต์วัฒนาณรงค์(2536)ได้กล่าวถึงสีคอมพิวเตอร์ไว้ว่าปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาสีต่างๆให้ ใช้ได้มากข้นตามลักษณะของงาน และยังได้ทาการศึกษาวิจัยความชอบของสีบนจอคอมพิวเตอร์ด้วยการ ทดลองกลุ่มประชากรทั้งหมด200คน แยกเป็นกลุ่มต่างๆเพื่อทาการศึกษาในแง่มุมหลายด้าน โดยเฉพาะ เกี่ยวกับสีตัวอักษร และสีของฉากหลังที่ได้รับความชอบมากที่สุด10อันดับจาก36อันดับของคู่สีที่ได้ศึกษา ดังนี้ 1. ตัวอักษรสีขาวบนพื้นสีน้าเงิน 2. ตัวอักษรสีขาวบนพื้นสีดา 3. ตัวอักษรสีเหลืองบนพื้นสีดา 4. ตัวอักษรสีเขียวพื้นสีดา 5. ตัวอักษรสีดาบนพื้นสีเหลือง 6. ตัวอักษรสีขาวบนพื้นสีเขียว 7. ตัวอักษรสีน้าเงินบนพื้นสีดา 8. ตัวอักษรสีเหลืองบนพื้นสีน้าเงิน 9. ตัวอักษรสีขาวบนพื้นสีม่วง 10. ตัวอักษรสีเหลืองบนพื้นสีเขียว
  • 11. 11 วรางคณา กฤษณพันธ์(2529)ได้ทาการวิจัยถึงผลของสีตัวอักษรและสีพื้นหลังที่มีต่อความยากง่ายในการ อ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่6พบว่าสีของตัวอักษรและพื้นหลังมีผลต่อความยากง่ายในการอ่านแตกต่าง กันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ.05และสีที่มีความง่ายต่อการอ่านสูงสุดคือ อักษรสีน้าเงินพื้นสีขาว อักษรสี ดาพื้นสีเหลือง อักษรสีเหลืองบนพื้นสีขาว และอักษรสีดาบนพื้นสีขาว พจน์ ใจบุญ(2537)ได้ศึกษาเกี่ยวกับขนาดและสีของตัวอักษร ที่ฉายจากเครื่องฉายภาพข้ามศรีษะสาหรับชั้น มัธยมศึกษา พบว่า สีของตัวอักษรที่แตกต่างส่งผลให้การอ่านของนักเรียนแตกต่างกัน วิทยา ไล้ทอง(2537)ได้ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับผลของสีตัวโน๊ตของดนตรีวงโยธวาทิตในโรงเรียนมัธยมศึกษา ผล ของการวิจัยพบว่า ตัวโน๊ตสีเขียวบนพื้นขาวและน้าเงิน ให้ความชัดเจนในการอ่านดีกว่าตัวโน๊ตสีดาบนพื้นสีขาว และสีแดงอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่.01 การเลือกใช้สีที่เหมาะสมเป็นปัจจัยสาคัญในการสร้างบทเรียน(วิชุดา รัตนเพียร,2542) 1. สีแดงและสีเขียว ควรหลีกเลี่ยงสีเหล่านี้สาหรับการทางานเส้นขอบใหญ่ ในขณะที่สีน้าเงินและเหลือง ใช้ได้ดี(March,1984) 2. ควรใช้คาอธิบายต่างๆสีเดียวกัน 3. ควรใช้หน้าต่างโปรแกรมที่กาลังทางานอยู่ให้เป็นสีที่แตกต่างจากหน้าต่างอื่นๆ 4. ควรใช้ข้อความเตือน(Warning Messages)เป็นสีแดง 5. เมื่อสถานะของแต่ละไฟล์เปลี่ยนไป ก็ควรเปลี่ยนสีของไฟล์นั้นด้วย 6. ในจอภาพหนึ่งไม่ควรมีสีต่างกันมากกว่า4สี 7. ให้เงา(Shade)ที่ต่างกันสาหรับสีเดียวกันและใช้สีที่ต่างกันเพื่อแสดงความว่าเน้นข้อความสาคัญ 8. แสดงสีที่หมายถึงการอยู่ โดยใช้สีโทนร้อน(Warm color)และใช้สีสว่างเพื่อเน้นความสาคัญ 9. สีดา สีขาว หรือสีน้าเงิน ใช้เป็นพื้นจอภาพที่ดีที่สุด 10. หลีกเลี่ยงการใช้สีที่เข้ากันไม่ได้เช่นสีน้าเงิน/สีเหลืองเขียว,เขียว/น้าเงิน,แดง/น้าเงิน 11. ใช้สีที่เน้นเพื่อเกิดความแตกต่างของพื้นและตัวอักษรเช่น ตัวอักษรขาวบนพื้นดา อักษรขาวบนพื้นน้า เงิน อักษรดาบนพื้นขาว 12. พยายามใช้สีอ่อนเป็นสีสาหรับพื้น
  • 12. 12 13. สีแดง สีเขียว ยากต่อการอ่านเมื่อใช้เป็นสีสาหรับเนื้อหา 14. ให้สีในความรู้สึกของสีที่เป็นอยู่เช่น สีฟ้าให้ความรุสึกเย็น สีแดงให้ความรู้สึกอันืทืตราย สีเขียว หมายถึงไปให้ได้ทางสะดวก สีอาพัน(เหลืองเข้ม)หมายถึงให้รอ นพวรรณ หมั้นทรัพย์(2521)กล่าวว่าสีแบ่งเป็น2กลุ่มคือ 1. กลุ่มสีร้อน ให้ความรู้สึกอบอุ่น สนุกสนานและปฏิกิริยาที่ร่าเริง 2. กลุ่มสีเย็น ให้ความรู้สึกสงบ เงียบ และสามารถแสดงความรู้สึกโศกเศร้า ตัวอย่างเช่นกลุ่มสีเย็น ถ้ามีค่า น้าหนักเข้มมากจะให้ความรู้สึกเย็นลึก นิ่งจนน่ากลัว องค์ประกอบของเว็บไซต์ เว็บไซต์โดยทั่วไปมีองค์ประกอบดังนี้(กิตติ ภักดีวัฒนะกุล,2540;วิทยา เรืองพรวิสุทธิ์,2540:ดวงจัทร์ พยัค พันธ์,2542;วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา,2542) 1 ชื่อโดเมนเซิร์ฟเวอร์ (Domain Name Server)หรือชื่อของเว็บไซต์(สมนึก คีรีโต,2538;สุรศักดิ์ สงวนพงษ์ ,2538;พรทิพย์โล่ห์เลขา,2540;วาสนา สุขกระสานติ,2540)การเตรียมตั้งเว็บไซต์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่อง หนึ่งต่อเข้าในอินเตอร์เน็ตต้องมีหมายเลขไอพีสาหรับอ้างอิง และผู้จัดตั้งเว็บไซต์จะต้องขอลงทะเบียนชื่อ เว็บไซต์ของตนคือชื่อโดเมนเซิร์ฟเวอร์ ที่ช้างอิงแทนหมายเลยไอพี เน่องจากหมายเลขไอพีประจาตัวเครื่องเป็น ตัวเลขที่จดจายาก ไม่สะดวกต่อผู้ใช้บริการคอมพิวเตอร์ ดังนั้นจึงมีระบบชื่อคอมพิวเตอร์มาตรฐานในเครือข่ายอิ เตอร์เน็ตโดยมีชื่อว่าดีเอ็นเอส (Domain Name System:DNS)หรือระบบหน้าของโดเมนโดยส่วนหน้าของ สัญลักษณ์@ซึ่งเป็นชื่อเครื่องนั้นนิยมเรียกกันโดยทั่วไปว่าโดเมน ที่อยู่ทางอิเล็กทรอนิกส์ประจาตัวผู้ใช้ทุกคนจึง มีรูปแบบคือชื่อบัญชีผู้ใช้@โดเมน ตัวอย่างเช่น g4186508@kkucc1.kku.ac.th จากตัวนี้พบว่าจะแยกออกเป็น ส่วนๆด้วยเครื่องหมายจุดเพื่อแสดงเครือข่ายเป็นลาดับและแต่ล่ะชั้นเรียนกว่า โดเมนย่อย(Sud domain)โดเมน kkucc1.kku.ac.th ประกอบด้วยโดเมน4ชั้น ชื่อโดนเมนชั้นบนสุดคือth หมายถึงประเทศไทย โดเมนย่อยถัดมาac ย่อมาจาก Academic หมายถึงโดเมรเครือข่ายของสถานศึกษา โดเมนย่อยkkuหมายถึงมหาวิทยาลัยขอนแก่น และส่วนย่อยสุดคือkkucc1หมายถึงชื่อของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนั้นการจัดตั้งชื่อโดเมนจึงมีความสาคัญ
  • 13. 13 เนื่องจากส่วนหนึ่งของURLเพราะโปรแกรมเว็บเบราเซอร์จะใช้ข้อมูล URL นี้ในการสืบค้นหาข้อมูลซึ่งURLจะ แบ่งออกเป็นส่วนดังนี้ ส่วนที่1 (ก่อนเครื่องหมาย//)เป็นส่วนที่บอกวิธีการเข้าถึงข้อมูลหรือเข้าใช้บริการ เช่นhttpหมายถึง การเข้า ใช้บริการเวิลล์ไวด์เว็บเซิรฟ์เวอร์ โดยใช้โปรแกรมโปโตคลอhttp ส่วนที่ 2 ส่วนเป็นชื่อโดเมนหรือเรียกว่าชื่อตาแหน่งที่จะไปดูข้อมูล ส่วนที่3 ชื่อไฟล์หรือพอร์ตที่ต้องการติดต่อหรืออาจเป็นชื่อข้อความที่ต้องการค้นหาในฐานข้อมูลซึ่งอาจจะ มีหรือไม่มีก็ได้ ตัวอย่างเช่นURLของสานักหอสมุดกลางมหาวิทยาขอนแก่น http://libry.kku.ac.th แสดงว่าผู้ใช้สามารถเข้า ไปดูเว็บหน้าแรกขแงสานักงานหอสมุดมหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้โดยระบบจะต้องหาชื่อโดเมนที่ชื่อ library.kku.ac.th ก่อน Library หมายถึง ชื่อไฟล์หรือพอร์ต Kkuหมายถึง ชื่อเครือข่ายท้องถิ่น Acหมายถึง สับโดเมน Th หมายถึง โดเมน ส่วนชื่อของโดเมนเซิร์ฟเวอร์หรือชื่อของเว็บไซต์ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา มีลักษณะดังนี้(King,1998) 1.1 ชื่อเว็บไซต์ที่แสดงว่าห้องสมุดมีเซิร์ฟเวอร์เป็นของห้องสมุดเองลักษณะของURL Addressมีลักษณะคือ http://www.library.name of university.ac.th 1.2 ชื่อเว็บไซต์แสดงว่าห้องสมุดไม่มีระบบเซิร์ฟเวอร์เป็นของห้องสมุดเอง โดยห้องสมุดจะจัดเก็บเว็บไซต์ ไว้ที่อื่น URL Address มีลักษณะคือhttp://www.name of university.ac.th/library.html 2 Home page หรือWclcome page
  • 14. 14 โฮมเพจ เป็นข้อมูลประจาเว็บเซิร์ฟเวอร์และเป็นข้อมูลหน้าแรกในเว็บไซต์ให้หาข้อมูลรายละเอียด เกี่ยวข้องกับข้อมูลในเว็บไซต์นั้นๆซึ่งจะเป็นจุดเริ่มต้นของเว็บไซต์และเป็นที่เชื่อมโยงไปยังเว็บเพจอื่นๆไม่ว่า จะเป็นการเชื่อมโยงภายในหรือภายนอกเว็บไซต์(คณิต ศาตะมาน,2541)อาจกล่าวได้ว่าหน้าโฮมเพจ เปรียบเสมือนหน้าสารบัญที่ชี้นาไปยังเนื้อหาที่มีเว็บไซต์นั้น โดยลักษณะทั่วไปของโฮมเพจมีความคล้ายคลึงกัน มาก อาจต่างกันที่เทคนิกและวิธีการนาเสนอ องค์ประกอบหลักในหน้าโฮมเพจของเว็บไซต์ห้องสมุด จึงแบ่งได้ ดังนี้(Stover&Zink,1996;วิทยา เรืองพรวิสุทธิ์,2540;ดวงจันทร์ พยัคพันธุ์,2542) 2.1 ส่วนบนจะอธิบายหัวเรื่องโฮมเพจประกอบด้วย (1)รูปภาพหรือตราสัญลักษณ์ของสถาบันที่แสดงความเป็นเจ้าของโฮมเพจเป็นรูปภาพที่มีขนาดความจา ไม่มากเพื่อง่ายต่อการโอนย้ายข้อมูลบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (2) ชื่อห้องสมุด เป็นชื่อของห้องสมุดและสถาบันที่เป็นเจ้าของโฮมเพจ (3) ย่อหน้าหรือข้อความสั้นๆที่อธิบายความหมายของเว็บไซต์หรือคาขวัญของห้องสมุด 2.2 ส่วนเนื้อหาเป็นส่วนของข้อมูลหรือหัวข้อของข้อมูลภายในเว็บไซต์ที่ต้องการนาเสนอประกอบด้วย เนื้อหาข้อมูลที่เชื่อมโยงไปยังโฮมเพจที่เกี่ยวข้อง เป็นส่วนหนึ่งของเนื้อหาความหรือสารสนเทศแบบคัดย่อ เหมือนสารบัญซึ่งมีข้อมูลคร่าวๆของห้องสมุด ที่สามารถเชื่อมโยงไปยังข้อมูลแบบแสดงรายละเอียดของ โฮมเพจที่เกี่ยวข้องผ่านไฮเปอร์เท็กซ์ โดยทั่วไปแล้วส่วนของเนื้อหาเป็นส่วนของการบรรยายเช่นเดียวกันกับ บทความปกติอื่นๆ แต่มีรูปแบบของการนาเสนอที่แตกต่างกันไปตามความคิดของผู้สร้างโฮมเพจ 2.3 ส่วนล่าง ประกอบด้วย การลงลิขสิทธิ์ของผู้จัดทา ข้อมูลติดต่อโดยเฉพาะกับผู้จัดทาหรือผู้ดูแลเว็บไซต์ การเยี่ยมจานวนผู้เข้าชมเว็บ วันที่ของการจัดทาหรือวันที่เผยแพร่ วันที่ของการปรับปรุงครั้งล่าสุด การแจ้งวัน และเวลาที่เป็นปัจจุบัน ปุ่มช่วยเหลือเลือกการแสดงผล (ทั้งหมด หรือเฉพาะข้อความ)แบบฟรอมสาหรับการ แสดงความคิดเห็นหรือคาร้องต่างๆเป็นต้น
  • 15. 15 3. Web page เว็บหนึ่งจัดเป็นองค์ประกอบหลักสาหรับการนาเสานอข้อมูลเว็บ ถ้าเปรียบกับหนังสือ เว็บเพจจะเป็น หน้าที่ของหนังสือ(สมชาย สมผดุง,2541)เว็บไซต์หนึ่งๆอาจมีเว็บเพจตั้งแต่2-3หน้าจนถึงพันๆหน้า เว็บเพจที่มี ลักษณะเป็นสื่อผสม และเอกสารในหน้าหนึ่งๆ ก็สามารถเชื่อมโยงไปอีกหน้าหนึ่งที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกันได้โดย การเชื่อมข้อมูลแบบไฮเปอร์เท็ก การเชื่อมโยงบนเว็บเพจนั้นใช้การเลือกในลักษณะเป็นหัวข้อ รูปภาพ มีการ ออกแบบให้อยู่ในรูปแบบของนิตยาสาร แผ่นพับและจุลสารต่างๆปัจจุบันรูปแบบของคาสั่งเชื่อมโยงอยู่ใน รูปแบบของข้อความ ภาพ ไอคอนหรือปุ่มต่างๆซึ่งสามารถเลือกไปบนรูปแบบเหล่านี้เพื่อการเชื่อมโยงไปยัง ข้อมูลอีกชุดหนึ่งที่เกี่ยวข้องกันได้ องค์ประกอบของเว็บเพจโดยทั่วไปแล้วนั้นรายละเอียดของเว็บเพจจะประกอบด้วยส่วนประกอบสาคัญ ต่างๆดังต่อไปนี้ 3.1 URL Address บอกตาแหน่งตาแหน่งของเว็บไซต์ที่ทางานในขณะที่ปรากฏหน้าเว็บเพจนั้น 3.2 ข้อความซึ่งเป็นลักษณะของข้อมูลส่วนใหญ่ของเว็บเพจ อยู่ในรูปแบบของตัวอักษรใช้ในการอธิบาย หรือให้ข้อมูลเกี่ยวกับเว็บเพจนั้นและนาเสนอสารสนเทศที่ต้องการเผยแพร่บนเว็บไซต์ 3.3 กราฟิกเป็นส่วนประกอบที่ใช้ประกอบเว็บเพจให้ความสวยงาม ดึงดูดแก่ผู้เข้าชมเว็บไซต์มี ทั้งที่เป็นรูปภาพ ลายเส้นและลายพื้น 3.4 สื่อผสม คือการรวมลักษณะของแสง สี แสงและภาพเคลื่อนไหวประกอบกัน เรียกว่าAudio และVideo ที่มาเพิ่มสีสันให้เว็บไซต์สวยงามและดึงดูดใจได้มากขึ้น 3.5 แถบเลื่อน เป็นส่วนที่ใช้ในการเข้าถึงส่วนต่างๆที่ไม่สามารถแสดงให้เห็นได้ทั้งหมด ในจอภาพScroll Bar แบ่งเป็นสองชนิดคือ แถบเลื่อนแนวตั้งกับแถบเลื่อนแนวนอน 3.6 ฟอร์ม เป็นแบบฟอร์มที่ให้ผู้มาเยี่ยมชมกรอกข้อมูลแล้วส่งกลับมายังเจ้าของเว็บไซต์ 3.7 เพรม เป็นส่วนที่ใช้แบ่งจอภาพเป็นส่วนๆ แต่ล่ะส่วนจะแสดงข้อมูลที่แตกต่างกัน เฟรมที่นิยมมี 2 ส่วน กรอบทางด้านซ้ายเป็นแถบสารบัญ หรือแถบวิธีหาข้อมูล ส่วนกรอบทางด้านขาวมือซึ่งมีขนาดกว้างกว่า
  • 16. 16 จะเป็นข้อมูลของเว็บเพจ 3.8 Image Map เป็นกราฟิกชนิดหนึ่งที่อนุญาตให้สารมารถออกแบบพื้นที่ของภาพกราฟิกไฮเปอร์ลิงค์ เพื่อเชื่อมต่อไปยังตาแหน่งที่ต้องการ 3.9 การเชื่อมโยง เป็นส่วนที่ใช้ข้อมูลเชื่อมโยงไปยังจุดต่างๆเช่นเว็บเพจหน้าอื่นหรือการเชื่อมโยงไปยัง เว็บไซต์ต่างๆที่เกี่ยวข้อง ส่วนที่สามารถจะเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจหรือเว็บไซต์อื่นได้ก็คือบริเวณที่เลื่อนเม้าส์ ไป แล้วตัวชี้เม้าส์เปลี่ยนจากลูกศรเป็นรูปรูปมือหรือเปลี่ยนสีเป็นอีกสีหนึ่ง 4 สารเทศในเว็บไซต์ สารสนเทศในเว็บไซต์ หมายถึง ส่วนเนื้อหาข้อมูลและการเชื่อมโยงไปยังโฮมเพจหรือเว็บเพจที่เกี่ยวข้อง ซึ่งส่วนข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการและผู้จัดทาเว็บได้นาเสนอบนเว็บไซต์เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับประโยชน์และเกิดความ สะดวกในการใช้งานเว็บไซต์ สาหรับเว็บไซต์ห้องสมุดจะไปด้วยสารสนเทศในเว็บไซต์ ดังนี้ (Whalen,1996;Stover and Zink,1996;Clyde,1996;Cohen and Still,1999;Stover,1999a) 4.1 ข้อมูลทั่วไปของห้องสมุด ได้แก่ (1) ชื่อห้องสมุด ประกอบด้วยชื่อของห้องสมุดและชื่อของสถาบันอุดมศึกษา (2) ข้อความต้อนรับผู้ใช้ที่เข้ามายังเว็บไซต์ เป็นข้อความสั้นๆเช่น”ยินต้อนรับ”เป็นต้น (3) ภาพถ่ายหรือภาพวาดของห้องสมุด (4) ที่อยู่/ที่ตั้ง เป็นข้อมูลที่ตั้งของห้องสมุด ใช้ติดต่อไปทางไปรษณีย์รวมทั้งเส้นทางแนะนาการเดินทางไป ห้องสมุด (5) หมายเลขโทรศัพท์/โทรสารของห้องสมุดที่ให้ผู้ใช้บริการติดต่อกับห้องสมุด (6) ที่อยู่ติดต่อได้ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (7) ประวัติของห้องสมุด เสนอข้อมูลที่เป็นประวัติความเป็นมาของห้องสมุด
  • 17. 17 (8) แผนผังห้องสมุด บอกรายละเอียดสารสนเทศบนพื้นที่ส่วนต่างๆของห้องสมุด (9) นโยบายและวัตถุประสงค์ที่แจ้งถึงนโยบายและวัตถุประสงค์ของห้องสมุด (10) โครงสร้างการบริหารงานของห้องสมุด ให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างขององค์กร การจัดการองค์กร การ บริหารงานฝ่ายต่างๆของห้องสมุด (11) กฎและระเบียบในการใช้ห้องสมุด ประกอบด้วยกฎระเบียบทั่วไปของห้องสมุดและกฎระเบียบในการ ใช้บริการไซต์ (12) เวลาทาการ ข้อมูลวันและเวลาเปิด-ปิด บริการของห้องสมุด (13) ทรัพยากร ข้อมูลรายละเอียดทรัพยากรของห้องสมุดทุกรูปแบบที่มีให้บริการทั้งประเภทและจานวน (14) บริการห้องสมุด เป็นรายละเอียดของบริการต่างๆ ที่มีในห้องสมุด (15) ข่าว เหตุการณ์สาคัญที่เป็นข่าวคราว กิจกรรมของห้องสมุด (16) ข้อมูลสิ่งพิมพ์ของห้องสมุดเช่นวารสาร จดหมายข่าว เป็นต้น (17) บุคลากรห้องสมุด ให้ข้อมูลเกี่ยวกับบุคลากรของห้องสมุด หน้าที่ความรับผิดชอบและข้อมูลการติดต่อกับ บุคลากร 4.2 บริการของห้องสมุด (1) บริการสืบค้นฐานข้อมูลรายการบรรณนุกรมระบบออนไลน์(OPAC) (2) บริการสืบค้นฐานข้อมูลดรรชนีและสาระสังเขป (3) บริการสืบค้นหาข้อมูลเนื้อหาฉบับเต็ม (4) บริการตอบคาถามและช่วยการค้นหา (5) บริการยืมห้องสมุดระหว่างเรียน
  • 18. 18 (6) บริการข่าวสารทันสมัย (7) บริการอื่นๆ 4.3 การเชื่อมโยงไปยังแหล่งข้อมูลอื่น (1) การเชื่อมโยงภายในเว็บไซต์ระหว่างโฮมเพจกับเว็บ (2) การเชื่อมโยงเว็บไซต์สถาบันอุดมศึกษาต้นสังกัด (3) การเชื่อมโยงไปยังหน่วยงานภายในของสถาบันศึกษาอุดรศึกษา (4) การเชื่อยโยงกับsearch engine (5) การเชื่อมโยงไปยังห้องสมุดอื่น (6) การเชื่อมโยงกับวารสารหรือสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ (7) การเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลที่หน่วยงานอื่อนในท้องถิ่นสร้างขึ้น (8) การเชื่อมโยงกับเว็บไซต์อื่นที่น่าสนใจ การดาเนินการจัดทาเว็บไซต์ การจัดทาเว็บไซต์หนึ่งๆ คล้ายกับการสร้างหนังสือ คือมีปกหนังสือและสารบัญที่เปรียบได้กับหน้าโฮมเพจ ของเว็บไซต์ และมีเนื้อหาของหนังสือแบ่งเป็นหน้าเปรียบได้กับหน้าเว็บเพจของเว็บไซต์ การสร้างเว็บไซต์ที่ดี นอกจากมีเนื้อหาสาระที่ดีแล้ว ต้องออกแบบให้ตรงกับความต้องการของผู้เข้าชมเช่น สวยงาม ง่ายต่อการเข้าหา เนื้อหา การสร้างเว็บไซต์และเว็บเพจให้มีประโยชน์และมีความน่าสนใจมากขึ้น กราออกแบบ 4 ขั้นตอน(วิเศษ ศักดิ์ โคตรอาษา,2542)ได้แก่ 1 การวิเคราะห์งาน การสร้างเว็บไซต์หนึ่งๆผู้สร้างต้องนึกถึงผู้ใช้ก่อนว่ากลุ่มใด เนื้อหาสาระอะไร ผู้สร้างต้องวิเคราะห์ว่าใครคือผู้ดู เรื่องอะไร ใช้สื่อแบบไหน รวมทั้งให้เกิดผลอย่างไรด้วย ในขั้นตอนนี้ผู้สร้าง ต้องวิเคราะห์เนื้อหาสาระที่จะนามาสร้างเว็บไซต์หนึ่งๆ นั้นจะแบ่งเป็นหน่วยย่อยๆได้เท่าไหร่จึงจะครอบคลุม
  • 19. 19 เนื้อหาตามวัตถุประสงค์กาหนด งานออกแบบขั้นตอนการวิเคราะห์นี้ ได้แก่ การกาหนดเรื่อง กาหนดเป้ าหมาย และจุดประสงค์ กาหนดผลที่จะให้เกิดขึ้นกับผู้ดูกาหนดการประเมินผล กาหนดสื่อและกิจกรรมและกาหนด ลาดับขั้นตอนเป็นต้น 2 การออกแบบ ขั้นการออกแบบจะต้องสามารถแปลงมโนทัศน์หลักการในแต่ล่ะเรื่องหรือเนื้อหาย่อย ให้เป็นภาพได้การกาหนดงานขั้นนี้ คือการออกแบบว่าเสนอเนื้อหาอย่างไร ผ่านช่องทางรับรู้ไหม สื่อที่ใช้เป็น อะไร ซึ่งจะต้องการเอาผลที่ได้ศึกษาไว้แล้วในขั้นการวิเคราะห์ มาใช้ในการออกแบบ งานสาคัญในขั้นตอนการ ออกแบบคือ การกาหนดสคริปต์ การทาstoryboard ซึ่งจะทาให้ผู้ออกแบบมองเห็นภาพเว็บเพจแต่ละหน้าชัดเจน นอกจากนี้ยังต้องสร้างวิธีเข้าหาเนื้อหาสาระ(Navigation)ที่ง่ายและน่าสนใจ 3 การพัฒนาเว็บไซต์และเว็บเพจ เป็นการดาเนินการสร้างตามแผนที่ได้กาหนดไว้ในสคิปต์และ storyboardถ้าออกแบบได้ออกแบบเว็บหน้าต่างๆ ไว้ชัดเจนการพัฒนาก็สะดวกและง่าย ซึ่งอาจไม่จาเป็นต้อง ผลิตเอง อาจให้ช่างเทคนิคแต่ละเรื่องผลิตให้ได้การสร้างเว็บเพจต้องสะดวกและง่าย ซึ่งอาจไม่จาเป็นต้องผลิต เอง อาจใช้ช่างเทคนิคแต่ละเรื่องผลิตให้ได้ การสร้างเว็บเพจต้องอาศัยทักษะเกี่ยวกับภาษาที่ใช้ โปรแกรมที่ใช้ เขียนเว็บและทักษะด้านการออกแบบเช่นการสร้างตัวอักษร การเขียนและเลือกภาพ เป็นต้น 4 การปรับปรุงและแก้ไข เว็บไซต์ที่ออกแบบมาอย่างดีไม่ได้หมายความว่าดีดังที่ผู้สร้างคาดคิดเพราะผู้ ที่จะบอกว่าเว็บไซต์ดีหรือไม่ดีคือผู้ชม ดังนั้นเมื่อสร้างเสร็จแล้วต้องไปทดลองใช้ และการปรับปรุงแก้ไขให้ ทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของผู้ชม ในขั้นการปรับปรุงและแก้ไขนี้ ผู้ออกแบบเว็บไซต์หรือเว็บ เพจจะสามารถปรับปรุงแก้ไขได้ทุกขั้นตอนที่ผ่านมา ตั้งแต่การวิเคราะห์การออกแบบ และการพัฒนาเพื่อจะ ทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของผู้เข้าชม
  • 20. 20 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับเวิลด์ไวด์เว็บ ลักษณะของเวิลด์ไวด์เว็บ ( Woril Wide Web ) เวิลด์ไวด์เว็บ หรือเรียกสั้นๆว่า WWW หรือเว็บ หรือเว็บไซด์ หมายถึงบริการข้อมูลในรูปแบบหนึ่งบน อินเตอร์เน็ตโดยการเชื่อโยงเครือข่ายใช้ในการค้นหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลหนึ่งไปยังอีกแหล่งข้อมูลหนึ่ง ที่มีวิธี ที่จะต้องเข้าถึงหรือค้นหาข้อมูลผ่านเว็บเพจในลักษณะเป็นสื่อผสม จะแสดงผลเป็นแบบไฮเปอร์เท็กซ์ ( Hypertext ) ที่ต้องใช้โปรแกรม browser เข้าช่วย การสื่อสารข้อมูลจะเป็นในรูปแบบของข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียงได้อย่างสมบูรณ์แบบ )วิทย า เรื่องพรวิสุทธิ์, 2539 ; ต้น ตัณฑ์สุธิ์วงศ์ และคณะ, 2539 ; Waltz, 1995 ( เวิลด์ไวด์เว็บจะเป็นระบบที่ให้บริการข้อมูลแบบไฮเอนด์–เซร์ฟเวอร์ในลักษณะต่างๆอยู่ในตัวเดียวกัน เช่น การโอนย้ายข้อมูล การบริการข้อมูลแบบโกเฟอร์ การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกล เป็นต้น และยังมี ศักยภาพในการบริการข้อมูลที่มีทั้งข้อความ เสียง ภาพนิ่งและภาพเครื่อนไหว นอกจากนั้นเวิลด์ไวด์เว็บยังใช้ เทคโนโลยีที่สาคัญ เรียกว่า ไฮเปอร์เท็กซ์ ( Hypertext ) หมายถึงการเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในอินเทอร์เน็ต จานวนมากให้เป็นกลุ่มและมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน โดยการโยงใยหรือการชี้ข้อมูลข้อความพื้นฐานไปยัง ข้อความที่มีรายละเอียดมากขึ้น ในกรณีที่ชี้ไปยังข้อมูลในที่ต่างนั้นเป็นข้อมูลหลายสื่อ ทั้งภาพกราฟฟิก ข้อความ และบางครั้งเป็นเสียงด้วย เรียกการเชื่อโยงแบบนี้ว่า ไฮเปอร์มีเดีย ( Hypermedia ) )สมนึก คีรีโต , 2538 ( วัตถุประสงค์และประโยชน์ของเวิลด์ไวด์เว็บ 1. วัตถุประสงค์ของเวิลด์ไวด์เว็บ วัตถุประสงค์ที่เผยแพร่สารสนเทศบนเวิลด์ไวด์เว็บมีดังนี้ )วาสนา สุขกระ สานติ , 2541 : พุทธิพงศ์ จิตรปฏิมา, 2543 ( -เพื่อเสริมสร้างภาพพจน์ขององค์กร กล่าวถึงเรื่องที่เกี่ยวข้อง หรือสิ่งที่น่าสนใจขององค์กร -เพื่อให้ข้อมูลกับนักลงทุน -เ พื่อเป็นหนังสือพิมพ์และวารสารอิเล็กทรอนิกส์ผ่านทางเว็บไซต์
  • 21. 21 -เพื่อการค้า ได้แก่ การเปิดร้านค้าให้เช้าพื้นที่ โดยเปิดร้านค้าเพื่อให้ผู้ค้ามาเช่าเช่นเดียวกับห้างสรพ สินค้าต่างๆในการโฆษณาสินค้า การเสนอสินค้า -เพื่อสนับสนุนทางเทคนิค ได้แก่ การสนันสนุนให้สามารถติดต่อมาได้จากทั่วโลกโดยไม่ได้เสียค่า โทรศัพท์ทางไกล การสนับสนุนการดูฐานข้อมูล ปัญหาต่างๆตลอดจนแนวทางแก้ไขปัญหา -เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารทั่วๆไป ได้แก่ ข่าวสารและการประชาสัมพันธ์องค์กร มาตรฐานต่างๆที่ องค์กรกาหนด หรือเทคโนโลยีใหม่ๆที่หน่วยงานสร้างขึ้น ข้อมูลความรู้ด้านสุขภาพ ข้อมูลความรู้ทาง วิชาการ เป็นต้น -เ พื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารบริการต่างๆกับสาธารณะชน เช่น เป็นแหล่งค้นข้อมูล แหล่งเก็บรวมแชร์ และฟรีแวร์ แหล่งให้ข้อมูลข่าวสารต่างๆ แหล่งสอบถามข้อมูล แหล่งแลกเปลี่ยนความรู้ที่เป็น ประโยชน์ เป็นต้น -เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลตลอดจนการเสนอขายข้อมูล เช่น ใช่ในการทาโพลล์ต่างๆการเป็นตัวกลางใน การรับสมัครงาน เป็นต้น -เพื่อความบันเทิง ประโยชน์ของเวิลด์ไวด์เว็บ ประโยชน์เวิลด์ไวด์เว็บสามารถแบ่งได้ 2 ด้าน คือ )บุปผชาติ ทัตหิกรณ์ , 2540 : วิทยา เรืองหรวิสุทธิ์, 2539 ; สมนึก คีรีโต, 2538 ( -ประโยชน์ในเชิงธุรกิจ ได้แก่ การตลาด การโฆษณา การประชาสัมพันธ์ และการบริการ การจาหน่าย สินค้าและการบริการ นาเสนอสิ่งพิมพ์สานักพิมพ์ต่างๆ แสดงความคิดเห็นแก่สินค้าและการบริการ -ประโยชน์ในด้านการศึกษา ได้แก่ เป็นสื่อผสมอานวยความสะดวกต่อการเรียน การสอน และการ ค้นคว้าวิจัย และการประชาสัมพันธ์หรือเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับหน่วยงานของตนเองได้การเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารทางวิชาการต่างๆอย่างรวดเร็ว การติดต่อและแลกเปลี่ยนข่างสารอย่างรวดเร็ว การติดต่อ และแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกลุ่มอย่าง สะดวก รวดเร็ว เช่นการประชุมทางไกล การ แลกเปลี่ยนความรู้ผู้ที่อยู่ในสาขาวิชาเดียวกัน ตลอดจนการปรึกษาหารือเรื่องวิชาการ งานวิจัยต่างๆ ระหว่างสถาบัน มุ่งจัดประสบการณ์เรียนรู้โดยช่วยให้ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนในเนื้อหาวิชาที่ต้องการ
  • 22. 22 ได้และประยุกต์ใช้ในการศึกษาทางไกลในรูปของหนังสืออิเล็กทรอนิคส์ การศึกษาตามความประสงค์ การอภิปรายผ่านกระดานข่าว การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การสนทนาผ่านเครือข่ายและอื่นๆ องค์ประกอบของเว็บไซต์ เว็บไซต์เป็นเอกสารในระบบเวิลด์ไวด์เว็บที่เป็นไฟล์เว็บเพจไฟล์หนึ่งในคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการเรียกดู เอกสารเว็บได้หรือกลุ่มของแฟ้มข้อมูลในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยที่มีไฟล์ข้อมูลแรกที่เรียกว่า homepage เว็บ เพจหรือเอกสารต่างๆบนเว็บให้บริการสารสนเทศกับผู้ที่ติดต่อเข้าสู่อินเทอร์เน็ตตลอดเวลาเว็บเพจเหล่านี้ จะแสดงข้อมูลต่างๆที่เจ้าของระบบได้เตรียมไว้เพื่อเผยแพร่สารสนเทศให้บุคคลภายนอกได้รับรู้เว็บไซต์ หนึ่งๆอาจมีเว็บเพจเพียง 2-3 หน้าไปจนถึงพันๆหน้าก็ได้ )วงศ์ป ระชา จันทร์สมวงศ์ และคณะ, 2542 ; คณิต ศาตะมาน, 2541; ต้น ตัณฑ์สุธิ์วงศ์ และคณะ, 2539( เว็บไซต์โดยทั่วไปมีองค์ประกอบดังนี้ )สมนึก คีรีโต และคณะ , 2538 ; วิทยา เรืองพร วิสุธ์, 2539( 1. ชื่อของเว็บไซต์หรือ URL ( Uniform Resource Locator ) คือ รหัสสืบค้นแหล่งข้อมูลซึ่งเป็นการ เชื่อมโยงข้อมูลในระบบเวิลด์ไวด์เว็บ มีชื่อเรียกสั้นๆว่า “ URL ” รูปของ URL เป็นรูปแบบ มาตรฐานสาหรับเวิลด์ไวด์เว็บ โดยกาหนดให้ขึ้นต้นด้วยคาว่า “http;//” หมายถึง การเชื่อมโยง ข้อมูลเวิลด์ไวด์เว็บโดยมีระบบการโต้ตอบของการสื่อสารแบบ HTTP ( HyperText Tranter Protocol ) หรือการแสดงข้อมูลแบบ Hypertext รูปแบบของ URL http://host/path/tile มีความหมาย ดังนี้ http หมายถึง รูปแบบของการเชื่อมโยงข้อมูลแบบ Hypertext host หมายถึง ชื่อโฮลต์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่อเชื่อมในระบบเครือข่าย โดย ให้บริการต่างๆแก่ผู้ใช้ในเครือข่ายนั้น ซึ่งเป็นที่อยู่ในเครื่อข่ายนั้น ซึ่งเป็นที่อยู่ในรูปแบบของ Domain Name ซึ่ง Domain Name นี้ใช้อ้างอิงแทนหมายเลขไอพี ช่วยอานวยความสะดวกต่อ ผู้ใช้บริการคอมพิวเตอร์ในการจดจาที่ง่ายขึ้น จึงมากาหนดระบบชื่อคอมพิวเตอร์มาตรฐานใน เครือข่ายอินเตอร์เน็ตที่ว่า CNS )Domain Name server (หรือระบบชื่อโดเมน สามารถแบ่งประเภท ของโดเมน ได้ดังนี้(kirk,1996) 1. Adu หรือ ac ประเภทสถาบันการศึกษา 2. Org หรือ or ประเภทองค์กรไม่หวังผลกาไร
  • 23. 23 3. Com หรือ co ประเภทหน่วยงานเอกชน องค์กรการค้า 4. Net หรือ in ประเภทผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต 5. Gov หรือgo ประเภทหน่วยงานของรัฐหรือหน่วยงานราชการ 6. Mil หรือ mi ประเภทหน่วยงานทางทหาร เช่น kku.ac.th. นั้นคือ th หมายถึง ชื่อโดเมนหรือชื่อย่อของประเทศหรือองค์กรหมายถึง ประเทศไทย ac หมายถึงชื่อซับโดเมนที่บอกประเภทของสถานศึกษาและ kku หมายถึง ชื่อ เครือข่ายท้องถิ่นที่ระบุว่าระบบดังกล่าวเป็นของมหาลัยขอนแก่น Path หมายถึง เส้นทางสาหรับกาหนดไดเรกทอรีบนคอมพิวเตอร์ในระบบยูนิกช์ Filt หมายถึง ไฟล์ที่ต้องการโอนย้ายหรือไฟล์ข้อมูล 2. Hoepage เป็นข้อมูลหน้าแรกที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับเว็บไซต์นั้นๆซึ่งจะเป็นจุดเริ่มต้นของเว็บไซต์ต่างๆ โฮมเพจนี้จะทาหน้าที่เหมือนกับประตูหน้าบ้านของเว็บไซต์แต่ละแห่ง ซึ่งถือได้ว่าเป็นที่แรกที่เข้า ไปเยี่ยมชมเว็บไซต์จะต้องผ่านและยังเป็นที่เชื่อมโยงไปยังเว็บเพจต่างๆต่อไป ไม่ว่าจะเป็นการ เชื่อมโยงโดยตรงหรือเชื่อมโยงผ่านเว็บอื่นก่อนหน้าก็ตาม )คณิต ศาสตะมาน , 2541( 3. Web page เป็นการนาเสนอข้อมูลในระบบเวิลด์ไวด์เว็บซึ่งเป็นการนาเสนอข้อมูลได้หลายรูปแบบ เว็บเพจจะมีลักษณะเป็นสื่อผสม ที่หน้าเว็บเพจหนึ่งๆจะมีตั้งแต่ 2-3 หน้า จนถึงพันๆหน้า และใน หน้าเอกสารหนึ่งก็สามารถเชื่อมโยงอีกหน้าหนึ่งที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกันได้โดยการเชื่อมข้อมูลแบบ ไฮเปอร์เท็กซ์ )สมนึก คีรีโต , 2538 (การ เชื่อมโยงบนเว็บเพจแต่ละเพจนั้นจะมีให้เลือกซึ่งอยู่ใน ลักษณะที่เป็นหัวข้อ รูปภาพ ปัจจุบันนี้รูปของคาสั่งเชื่อมโยงจะอยู่ในรูปแบบของข้อมูลภาพ icon หรือปุ่มต่างๆซึ่งสามารถคลิกไปบนรูปแบบนี้เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลหนึ่งไปยังอีกข้อมูลหนึ่งที่ เกี่ยวข้องกัน
  • 24. 24 การวิเคราะห์เว็บไซต์ การวิเคราะห์ หมายถึง การพิจารณาใคร่ควรแยกออกเป็นสัดส่วน )พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิสถาน พ.ศ. 2525 ( ให้ทราบว่าสิ่งนั้นๆ ประกอบไปด้วย อะไรบ้าง เพื่อประโยชน์ในการศึกษา )อัมพร ทีขะระ , 2533 ( ซึ่งการวิเคราะห์เว็บไซต์จะพิจารณาศึกษาเนื้อกาภายในเว็บไซต์เรื่อง ผู้จัดทา วัตถุประสงค์ในการจัดทา เนื้อหา กลุ่มผู้ใช้ การปรับปรุงข้อมูล และภาษาที่ใช้ ส่วนกรอบแนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์เว็บไซต์นั้น ได้ศึกษาจาก การวิเคราะห์เนื้อหา เกณฑ์การวิเคราะห์เว็บไซต์ และเกณฑ์การประเมินคุณค่าสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต การวิเคราะห์เนื้อหา หมายถึง การวิจัยเอกสารแบหนึ่งที่มีลักษณะเป็นการสารวจเชิงวิเคราะห์และเป็น เทคนิคหนึ่งที่ใช้ในการศึกษาวิเคราะห์บันทึกเอกสาร ข่าวสารอย่างมีระบบและมีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงปริมาณ เน้นหรือความถี่ในการสื่อความหมายและช่วยบรรยายหรือแยกแยะสาระของข้อความที่ได้ศึกษามีองค์ประกอบ ของการวิเคราะห์เนื้อหาดังนี้ )ประภาวดี สืบสนธ์ , 2530 ( 1. ลักษณะของเนื้อหาเป็นการวิเคราะห์ตัวเนื้อหาใน 2 ลักษณะใหญ่ คือ 1.1 สาระ เป็นการวิเคราะห์แนวโน้มของเนื้อหาที่ปรากฏพัฒนาการของเรื่องใดเองหนึ่งความแตกต่าง ของเนื้อหาเรื่องเดียวกันที่เผยแพร่ในที่ต่างๆการเปรียบเทียบสื่อและระดับของการสื่อสารการ วิเคราะห์กับวัตถุประสงค์และมาตรฐาน และวิเคราะห์เนื้อหาสาหรับการวิจัย 1.2 ลักษณะหรือรูปแบบของเนื้อหาเป็นการวิเคราะห์สัญลักษณ์ตลอกจนการใช้สัญลักษณ์ เทคนิคการ โฆษณา ความน่าอ่าน และวิธีการนาเสนอเนื้อหา 2. สาเหตุที่เสนอเนื้อหา เป็นการศึกษาผู้ผลิตว่าอะไรเป็นสาเหตุที่เสนอเนื้อหาเช่นนั้น นั้นคือการวิเคราะห์ เพื่อศึกษาความตั้งใจวัตถุประสงค์ของผู้ผลิต 3. ผลของเนื้อหา เป็นการวิเคราะห์เนื้อหาเหื่อศึกษาของผู้รับสื่อ ผลของงานต่อความรู้สึกนึกคิดและ ทัศนคติของผู้รับสาร )อาพ ร ทีขะระ,2533 ( ใช้ทฤษฏีทางวิชาการ พิจารณาว่า เนื้อหาเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไรจัดอยู่ในกลุ่มวิชาใดโดยกาหนดวิการทั้งหลายที่มี อยู่แบ่งกลุ่มออกตามสาขาวิชาต่าง หรือมาตรฐานสากลว่าด้วยกานจัดกลุ่มสาขาวิชาทางการศึกษาจาแนกวิชาการ เป็นกลุ่มๆ เช่น ศึกษาศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ประยุกต์และวิจิตรศิลป์ กฎหมาย การบริหารธุรกิจและ พาณิชยการ แพทยศาสตร์และวิชาที่เกี่ยวข้องกับสุขมภาพอนามัย ฯลฯ