SlideShare a Scribd company logo
คุฏบะฮฺ อีดิลฟิฏริ ฮ.ศ. 1436
โดย... ฝ่ายวิชาการและการศึกษา
คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
ความเข้มแข็งของมุสลิมจะนาความร่มเย็นสู่สังคม
ُ‫ه‬‫الل‬‫ر‬َ‫ب‬ْ‫َك‬‫أ‬(9)ُ‫ه‬‫الل‬ُ‫ه‬‫ر‬َ‫ب‬ْ‫َك‬‫أ‬َُُُ‫ك‬‫ا‬ً‫ر‬ْ‫ي‬ِ‫ب‬.ُِ‫لل‬‫ه‬‫د‬ْ‫م‬َ‫لح‬ْ‫ا‬َ‫و‬ًُ‫ر‬ْ‫ي‬ِ‫ث‬َ‫ك‬‫ا‬.َُ‫ن‬‫ا‬َ‫ح‬ْ‫ب‬‫ه‬‫س‬َ‫و‬ُِ‫الل‬ًُ‫ة‬َ‫ر‬ْ‫ك‬‫ه‬‫ب‬ًُ‫ل‬ْ‫ي‬ِ‫َص‬‫أ‬َ‫و‬.َُ‫ن‬‫ا‬َ‫ح‬ْ‫ب‬‫ه‬‫س‬ُِ‫الل‬
ُِ‫لل‬‫ه‬‫د‬ْ‫م‬َ‫لح‬ْ‫ا‬َ‫و‬َُ‫لو‬ِ‫إ‬َ‫ال‬َ‫و‬ُ‫ا‬‫ال‬‫إ‬ُ‫ه‬‫الل‬.ُ‫ه‬‫الل‬َ‫و‬ُِ‫لل‬َ‫و‬‫ه‬‫ر‬َ‫ب‬ْ‫ك‬َ‫أ‬ُ‫ه‬‫د‬ْ‫م‬َ‫ْح‬‫ل‬‫ا‬.ُِ‫لل‬‫ه‬‫د‬ْ‫م‬َ‫ْح‬‫ل‬َ‫ا‬ُْ‫ي‬ِّ‫ل‬َ‫ج‬َ‫ت‬‫ه‬‫ْم‬‫ل‬‫ا‬ُِ‫و‬ِ‫ت‬َ‫م‬ْ‫ح‬َ‫ر‬ِ‫ب‬‫ى‬َ‫ل‬َ‫ع‬ُْ‫ه‬ِ‫اد‬َ‫ب‬ِ‫ع‬،ُِ‫ب‬ْ‫ي‬ِ‫ر‬َ‫ق‬ْ‫ل‬َ‫ا‬ُْ‫ن‬ِ‫م‬
ُِ‫ل‬ْ‫َى‬‫أ‬ُِ‫و‬ِ‫بت‬َ‫ح‬َ‫م‬ُِ‫ه‬ِ‫اد‬َ‫د‬ِ‫و‬َ‫و‬،ُِ‫ام‬َ‫ق‬ْ‫ل‬َ‫ا‬ُِ‫ع‬ُْ‫ن‬َ‫م‬َُ‫ام‬َ‫ى‬ُْ‫ي‬ِ‫ف‬ُِ‫ان‬َ‫د‬ْ‫ي‬َ‫م‬ُِ‫ه‬ِّ‫و‬‫ه‬‫ت‬‫ه‬‫ع‬ُْ‫ه‬ِ‫اد‬َ‫ن‬ِ‫ع‬َ‫و‬،ُِ‫د‬ْ‫ي‬ِ‫ع‬‫ه‬‫ْم‬‫ل‬َ‫ا‬ُِ‫ر‬ْ‫و‬‫ه‬‫ر‬ُّ‫الس‬‫ى‬َ‫ل‬َ‫ع‬ُِ‫ل‬ْ‫َى‬‫أ‬ُِ‫ان‬َ‫م‬ْ‫ي‬ِ‫ال‬ْ‫ا‬
ُِ‫م‬َ‫ل‬ْ‫س‬ِ‫ال‬ْ‫ا‬َ‫و‬،ُ‫ه‬‫د‬َ‫ه‬ْ‫ش‬َ‫أ‬َ‫و‬ُْ‫َن‬‫أ‬َُ‫و‬َ‫ل‬ِ‫إ‬َ‫ال‬ُ‫ا‬‫ال‬ِ‫إ‬ُ‫ه‬‫الل‬ُ‫ه‬‫ر‬ِ‫ف‬ْ‫غ‬َ‫ي‬َُ‫ب‬ْ‫و‬‫ه‬‫ن‬ُّ‫الذ‬‫ى‬َ‫ط‬ْ‫ع‬‫ه‬‫ي‬َ‫و‬ُ‫ا‬‫ل‬‫ه‬‫ك‬ُ‫ل‬ِ‫ائ‬َ‫س‬ُْ‫َل‬‫أ‬َ‫اس‬َ‫م‬،ُ‫ه‬‫د‬َ‫ه‬ْ‫ش‬َ‫أ‬َ‫و‬ُ‫ا‬‫ن‬َ‫أ‬‫ا‬َ‫ن‬َ‫د‬ِّ‫ي‬َ‫س‬
ًُ‫د‬‫ا‬‫م‬َ‫ح‬‫ه‬‫م‬‫ا‬ُ‫ه‬‫ل‬ْ‫و‬‫ه‬‫س‬َ‫ر‬ُِ‫الل‬َُ‫ب‬ِ‫غ‬َ‫ر‬‫ي‬ِ‫ف‬ُِ‫ة‬َ‫اع‬‫ا‬‫ط‬‫ال‬َُ‫ر‬‫ا‬‫ذ‬َ‫ح‬َ‫و‬َُ‫ن‬ِ‫م‬ُْ‫ل‬َ‫س‬َ‫ك‬ْ‫ل‬‫ا‬.ُ‫ا‬‫م‬‫ه‬‫ه‬‫ا‬‫ل‬‫ل‬َ‫ا‬ُِّ‫ل‬َ‫ص‬ُْ‫م‬ِّ‫ل‬َ‫س‬َ‫و‬َُ‫لى‬َ‫ع‬‫ا‬َ‫ن‬ِ‫د‬ِّ‫ي‬َ‫س‬ُ‫د‬‫ا‬‫م‬َ‫ح‬‫ه‬‫م‬ُِ‫ب‬ِّ‫ي‬َ‫ط‬
ُِ‫ب‬ْ‫و‬‫ه‬‫ل‬‫ه‬‫ق‬ْ‫ل‬‫ا‬ُْ‫ل‬َ‫ل‬ِ‫ْع‬‫ل‬‫ا‬َ‫و‬،َُ‫لى‬َ‫ع‬َ‫و‬ُِ‫و‬ِ‫آل‬ُِ‫و‬ِ‫ب‬‫ا‬َ‫ح‬ْ‫َص‬‫أ‬َ‫و‬َُ‫ن‬ْ‫ي‬ِ‫ص‬ِ‫ل‬ْ‫خ‬‫ه‬‫ْم‬‫ل‬‫ا‬ُِ‫لل‬‫ي‬ِ‫ف‬ُِ‫ام‬َ‫ي‬ِّ‫الص‬ُِ‫ام‬َ‫ي‬ِ‫ْق‬‫ل‬‫ا‬َ‫و‬،‫ا‬‫ا‬‫م‬َ‫أ‬ُ‫ه‬‫د‬ْ‫ع‬َ‫ب‬:‫ي‬َ‫ف‬َُ‫ا‬ُِ‫الل‬َ‫اد‬َ‫ب‬ِ‫ع‬
ُْ‫م‬‫ه‬‫ك‬ْ‫ي‬ِ‫ص‬ْ‫هو‬‫أ‬ُْ‫ي‬ِ‫س‬ْ‫ف‬َ‫ن‬َ‫و‬ًُ‫ال‬‫ا‬‫َو‬‫أ‬‫ى‬َ‫و‬ْ‫ق‬َ‫ت‬ِ‫ب‬ُِ‫الل‬ُْ‫و‬ِ‫ت‬َ‫اع‬َ‫ط‬َ‫و‬،ُْ‫د‬َ‫ق‬َ‫و‬َُ‫ال‬َ‫ق‬ُ‫ه‬‫الل‬َُ‫الى‬َ‫ع‬َ‫ت‬ُْ‫ي‬ِ‫ف‬ُِ‫و‬ِ‫ب‬‫ا‬َ‫ت‬ِ‫ك‬{ُُّ‫ل‬‫ه‬‫ك‬ُْ‫ن‬َ‫م‬‫ا‬َ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ُ‫ان‬َ‫ف‬‫ى‬َ‫ق‬ْ‫ب‬َ‫ي‬َ‫و‬
ُ‫ه‬‫و‬ْ‫ج‬َ‫و‬َُ‫ك‬ِّ‫ب‬َ‫ر‬‫وا‬‫ه‬‫ذ‬ُِ‫ل‬َ‫ل‬َ‫الج‬ُِ‫ام‬َ‫ر‬ْ‫ك‬ِ‫ال‬ْ‫ا‬َ‫و‬}
ُ‫ه‬‫الل‬ُ‫ه‬‫ر‬َ‫ب‬ْ‫ك‬َ‫ا‬ُ‫ه‬‫الل‬ُ‫ه‬‫ر‬َ‫ب‬ْ‫ك‬َ‫ا‬ُ‫ه‬‫الل‬ُ‫ه‬‫ر‬َ‫ب‬ْ‫ك‬َ‫ا‬ُِ‫لل‬َ‫و‬ُ‫ه‬‫د‬ْ‫م‬َ‫لح‬ْ‫ا‬.
ความสงบร่มเย็น เป็นสิ่งที่ผู้คนในทุกสังคมปรารถนา แต่กระนั้นก็ใช่ว่าทุกสังคมจะบรรลุสู่ความร่มเย็น
ได้ สถานการณ์ของสังคมโลกทุกวันนี้ บ่งชี้ว่าความร่มเย็นกาลังหดหายไปจากผู้คน แต่ความทุกข์ยากเดือดร้อน
จากสงครามและการเข่นฆ่า การเอาเปรียบแย่งชิง ความร่อยหรอของทรัพยากร และความวิปริตแปรปรวนของ
ดินฟ้าอากาศ กลับเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง เป็นสิ่งบ่งชี้ว่ามีความผิดพลาดใหญ่หลวงบางอย่าง ในการดารงชีวิตของผู้คน
จึงทาให้ไม่สามารถสร้างความสงบร่มเย็นได้ แม้ใครต่อใครจะปรารถนาก็ตาม
ถามว่า ความผิดพลาดดังกล่าว คืออะไร?
ตอบได้ว่า เพราะมนุษย์มิได้เดินไปบนเส้นทางที่นาสู่ความร่มเย็น แต่กลับเลือกที่จะก้าวไปบนเส้นทางที่
นาสู่ความรุ่มร้อนแทน มนุษย์คิดว่าตนเองมีความสามารถที่จะบรรลุสู่ความปรารถนาของตนได้ โดยมิพักต้อง
พึ่งพิงอัลลอฮฺพระผู้เป็นเจ้า พวกเขาปฏิเสธพระองค์ และกาหนดกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ขึ้นเองโดยขัดแย้งสวนทางกับ
คาสอนของพระองค์ (ฎอฮา : 124)
‫مى‬ْ‫ع‬َ‫أ‬ُِ‫ة‬َ‫يام‬ِ‫ْق‬‫ل‬‫ُا‬َ‫م‬ْ‫و‬َ‫ُي‬‫ه‬‫ه‬‫ه‬‫ر‬‫ه‬‫ش‬ْ‫ح‬َ‫ن‬َ‫اُو‬ً‫ك‬ْ‫ن‬َ‫ُض‬ً‫ة‬َ‫ش‬‫ي‬ِ‫ع‬َ‫ُم‬‫ه‬‫و‬َ‫ل‬ُ‫ا‬‫ن‬ِ‫إ‬َ‫ف‬ُ‫ي‬ِ‫ر‬ْ‫ك‬ِ‫ُذ‬ْ‫ن‬َ‫ُع‬َ‫ض‬َ‫ر‬ْ‫ع‬َ‫أ‬ُْ‫ن‬َ‫م‬َ‫و‬ُ
“ผู้ใดหันห่างจากการระลึกถึงข้า เขาจะใช้ชีวิตในวังวนอันคับแคบ และข้าจะฟื้นชีพเขาอีกครั้งใน
วันแห่งการพิพากษาในสภาพคนตาบอด”
น่าเศร้ากว่านั้นก็คือ มุสลิมจานวนมากเช่นกันที่อ้างว่านับถืออัลลอฮฺ แต่กลับเดินตามแนวทางของผู้
ปฏิเสธอัลลอฮฺ ที่เป็นผู้ปกครองก็มิได้ปกครองตามบัญญัติแห่งอัลลอฮฺ ที่เป็นประชาชนก็ดิ้นรนขวนขวาย
แสวงหาลาภยศจนลืมอาคิรอฮฺ นามาซึ่งภาวะความอ่อนแอ ความแตกแยก การทาลายล้าง และความ
ระส่าระสาย ไม่ต่างกับผู้ปฏิเสธ เช่นกัน
(อัลบะกอรอฮฺ : 145)
ُْ‫ل‬‫ُا‬َ‫ن‬ِ‫ُم‬ َ‫ك‬َ‫اء‬َ‫اُج‬َ‫ُم‬ِ‫د‬ْ‫ع‬َ‫نُب‬ِّ‫مُم‬‫ه‬‫ى‬َ‫اء‬َ‫و‬ْ‫َى‬‫أ‬َُ‫ت‬ْ‫ع‬َ‫ب‬‫ا‬‫ُات‬ِ‫ن‬ِ‫ئ‬َ‫ل‬َ‫و‬َُ‫ين‬ِ‫م‬ِ‫ال‬‫ا‬‫ظ‬‫ُال‬َ‫ن‬ِ‫م‬‫ا‬‫ل‬ُ‫ا‬ً‫ذ‬ِ‫إ‬ُ َ‫ك‬‫ا‬‫ن‬ِ‫إ‬ُُِ‫ْم‬‫ل‬ِ‫ع‬
2
“แน่แท้ แม้นหากเจ้าคล้อยตามอารมณ์ของพวกเขา หลังจากที่เจ้าได้รับความรู้ต่าง ๆ (จากองค์
พระผู้เป็นเจ้า) แล้ว เจ้าก็ย่อมเป็นหนึ่งในผู้อธรรมทั้งหลาย”
ความอ่อนแอของสังคมมุสลิม เป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้โลกระส่าระสาย เพราะแท้จริงมุสลิมคือผู้ต้องทา
หน้าที่สร้างความสงบร่มเย็นในสังคม ผ่านการใช้ทางนาจากอัลลอฮฺในทุก ๆ มิติ ครั้นเมื่อมุสลิมหันหลังให้ทาง
นา หรือนามาใช้เพียงบางส่วนเสี้ยวของชีวิต ก็ย่อมประสบปัญหาไม่ต่างจากสังคมของผู้ปฏิเสธ อ่อนแอ
เช่นเดียวกับผู้ปฏิเสธหรืออ่อนแอมากกว่านั้น ในที่สุดก็ไม่มีใครทาหน้าที่ช่วยเหลือสังคมมนุษย์ให้รอดพ้นจาก
บ่วงแห่งวิกฤติได้ แต่กลายเป็นสังคมที่ต้องรอรับความช่วยเหลือจากผู้อื่นอยู่ตลอดเวลา
จึงมีความจาเป็นที่เราในฐานะมุสลิม จะต้องก้าวออกจากบ่วงแห่งฟิตนะฮฺให้ได้ เพื่อทาหน้าที่เป็น
แบบอย่างอันดีแก่มนุษย์ชาติ ในการสร้างความสงบร่มเย็น และความสาเร็จทั้งในโลกนี้และโลกหน้า สมดังที่
อัลลอฮฺทรงให้เราทาหน้าที่เป็นเมตตาธรรมแก่เพื่อนมนุษย์ ดังในซูเราะฮฺ อัลอัมบิยาอฺ : 107
‫ا‬َ‫م‬َ‫و‬َُ‫اك‬َ‫ْن‬‫ل‬َ‫س‬ْ‫َر‬‫أ‬ُ‫ا‬‫ال‬ِ‫إ‬ًُ‫ة‬َ‫م‬ْ‫ح‬َ‫ر‬َُ‫ين‬ِ‫م‬َ‫ل‬‫ا‬َ‫ْع‬‫ل‬ِ‫ل‬ُ
“เรามิได้ส่งเจ้ามาเพื่อเป็นอะไร นอกจากเป็นเมตตาธรรมแก่สากลโลก”
เป็นเมตตาธรรมแก่สากลโลก เป็นได้อย่างไร?
มีหนทางเดียว คือ การกลับสู่แนวทางที่อัลลอฮฺกาหนด และดาเนินชีวิตตามแบบฉบับแห่งศาสนทูต
ของพระองค์นบีมุหัมมัด (ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม) ซึ่งหากจะประมวลแนวทางดังกล่าว ก็อาจสรุป
เป็น 2 แนวทางใหญ่ ๆ
คือ 1. การศรัทธาต่ออัลลอฮฺอย่างเต็มเปี่ยม (‫)آمنوا‬
2. การลงมือปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ อันแสดงออกถึงความศรัทธานั้น ( ‫عملوا‬ُ‫الصالحات‬ )
ทั้งนี้เป็นไปตามพระดารัสแห่งอัลลอฮฺ (ซูเราะฮฺ อันนูร: 55)
ُ
َُ‫د‬َ‫ع‬َ‫و‬ُ‫ه‬‫و‬‫ا‬‫ل‬‫ال‬َُ‫ين‬ِ‫ذ‬‫ا‬‫ل‬‫ا‬‫وا‬‫ه‬‫ن‬َ‫آم‬ُْ‫م‬‫ه‬‫ك‬ْ‫ن‬ِ‫م‬‫وا‬‫ه‬‫ل‬ِ‫م‬َ‫ع‬َ‫و‬ُِ‫ات‬َ‫ح‬ِ‫ال‬‫ا‬‫ص‬‫ال‬ُْ‫م‬‫ه‬‫اه‬‫ن‬َ‫ف‬ِ‫ل‬ْ‫خ‬َ‫ت‬ْ‫س‬َ‫ي‬َ‫ل‬‫ي‬ِ‫ف‬ُِ‫ض‬ْ‫َر‬ْ‫اْل‬‫ا‬َ‫م‬َ‫ك‬َُ‫ف‬َ‫ل‬ْ‫خ‬َ‫ت‬ْ‫اس‬َُ‫ين‬ِ‫ذ‬‫ا‬‫ل‬‫ا‬
ُْ‫ن‬ِ‫م‬ُْ‫م‬ِ‫ه‬ِ‫ل‬ْ‫ب‬َ‫ق‬ُ‫ا‬‫ن‬َ‫ن‬ِّ‫ك‬َ‫م‬‫ه‬‫ي‬َ‫ل‬َ‫و‬ُْ‫م‬‫ه‬‫ه‬َ‫ل‬ُ‫ه‬‫م‬‫ه‬‫ه‬َ‫ين‬ِ‫د‬‫ي‬ِ‫ذ‬‫ا‬‫ل‬‫ا‬ُ‫ى‬َ‫ض‬َ‫ت‬ْ‫ار‬ُْ‫م‬‫ه‬‫ه‬َ‫ل‬ُ
ُُِْ‫م‬‫ه‬‫اه‬‫ن‬َ‫ل‬ِّ‫د‬َ‫ب‬‫ه‬‫ي‬َ‫ل‬َ‫و‬ُْ‫ن‬ُِ‫د‬ْ‫ع‬َ‫ب‬ُْ‫م‬ِ‫ه‬ِ‫ف‬ْ‫و‬َ‫خ‬‫ا‬ً‫ن‬ْ‫َم‬‫أ‬ۚ‫ي‬ِ‫ن‬َ‫ن‬‫و‬‫ه‬‫د‬‫ه‬‫ب‬ْ‫ع‬َ‫ي‬َُ‫ال‬ُ‫ه‬‫ي‬َُ‫ن‬‫و‬‫ه‬‫ك‬ِ‫ر‬ْ‫ش‬‫ي‬ِ‫ب‬‫ا‬ً‫ئ‬ْ‫ي‬َ‫ش‬ُُْۚ‫ن‬َ‫م‬َ‫و‬َُ‫ر‬َ‫ف‬َ‫ك‬ُ‫ه‬‫م‬‫ه‬‫ُى‬ َ‫ك‬ِ‫ئ‬َ‫ل‬‫هو‬‫أ‬َ‫ف‬ُ َ‫ك‬ِ‫ل‬َ‫ذ‬َُ‫د‬ْ‫ع‬َ‫ب‬
َُ‫ن‬‫و‬‫ه‬‫ق‬ِ‫اس‬َ‫ف‬ْ‫ل‬‫ا‬
“อัลลอฮฺทรงสัญญาไว้แก่ผู้ศรัทธาต่อพระองค์ และประพฤติปฏิบัติสิ่งดี ๆ ทั้งหลายว่า จะทรงให้
พวกเขาปกครองแผ่นดินเหมือนที่เคยทรงให้บรรดาคนก่อน ๆ ได้ปกครองมาแล้ว อีกทั้งจะทรงให้พวกเขา
สามารถดาเนินชีวิตตามหลักศาสนาที่พระองค์ทรงพอพระทัย และจะทรงเปลี่ยนสภาวะที่พวกเขาอยู่กับ
ความหวาดกลัว เป็นความมั่นคงปลอดภัยแทน พวกเขาสักการะต่อข้า โดยไม่ตั้งภาคีใด ๆ ต่อข้าเลย หลัก
จากนั้นหากมีใครปฏิเสธข้า พวกเขาย่อมเป็นผู้ฝุาฝืน”
ความศรัทธา
ความศรัทธาที่แท้ต้องมาจากตื่นรู้และความเข้าใจ มิใช่ความศรัทธาที่มาจากการลอกเลียนแบบ มุสลิม
จึงต้องเป็นผู้ใช้สติปัญญาเพื่อการศึกษา พินิจพิจารณาสรรพสิ่งต่าง ๆ เพื่อให้เข้าถึงการศรัทธาต่ออัลลอฮฺ อย่าง
แท้จริง และจะต้องไม่เป็นมุสลิมเพียงเพราะสืบสายเลือดมาจากบิดามารดาที่เป็นมุสลิมเท่านั้น เนื่องจากการมี
ชีวิตโดยไร้ศรัทธา หรือมีศรัทธาที่บางเบาฉาบฉวย จะทาให้ชีวิตเปรียบดังต้นไม้ที่ไร้รากแก้ว
(ฮิบรอฮีม : 26)
3
ُ‫ه‬‫ل‬َ‫ث‬َ‫م‬َ‫و‬ُ‫ة‬َ‫م‬ِ‫ل‬َ‫ك‬ُ‫ة‬َ‫يث‬ِ‫ب‬َ‫خ‬ُ‫ة‬َ‫ر‬َ‫ج‬َ‫ش‬َ‫ك‬ُ‫ة‬َ‫يث‬ِ‫ب‬َ‫خ‬ُْ‫ات‬‫ث‬‫ه‬‫ت‬ْ‫اج‬‫ن‬ِ‫م‬ُِ‫ق‬ْ‫و‬َ‫ف‬ُِ‫ض‬ْ‫َر‬ْ‫اْل‬‫ا‬َ‫م‬‫ا‬َ‫ه‬َ‫ل‬‫ن‬ِ‫م‬ُ‫ار‬َ‫ر‬َ‫ق‬
“คติเลว ๆ ก็เหมือนต้นไม้เลว ๆ ซึ่งถูกถอนรากถอนโคนโดยง่าย และไร้ซึ่งความมั่นคง”
สิ่งที่เราท่านทั้งหลายไม่อาจปฏิเสธได้ในวันนี้ คือ มุสลิมจานวนมากเป็นมุสลิมอยู่เฉพาะเปลือกนอก
ขณะที่จิตใจถูกกระชากความศรัทธาออกไป จนมีชีวิตอยู่โดยไม่คิดสร้างความดีอะไรเพื่ออัลลอฮฺ แต่อยู่ไปเพื่อ
แสวงหาความสุขบนโลกเท่านั้น ที่สุดจึงนาไปสู่การยื้อแย่งแข่งขัน และทาลายล้างกันไม่ต่างจากผู้ปฏิเสธ
การประกอบกิจที่ดี
สิ่งที่จะต้องอยู่คู่กับความศรัทธาอันหนักแน่น คือ การประกอบกิจการงานที่ดี ( ‫ا‬‫و‬‫عمل‬‫الصاحلات‬ ) อย่าง
ต่อเนื่อง ซึ่งในยามวิกฤติเช่นปัจจุบัน กิจการที่จาเป็นต้องฟื้นฟูขึ้นอย่างเร่งด่วนในสังคมมุสลิม มีหลายหลาย
ประการ อาทิ
การสร้างญะมาอะฮฺที่มีความเป็นปึกแผ่น
แทนความแตกแยกขัดแย้งดังที่เป็นอยู่ ทั้งนี้เพราะความแตกแยกขัดแย้งคือบ่อเกิดของความอ่อนแอใน
ทุก ๆ สังคม” ดังคาเตือนจากอัลลอฮฺในซูเราะฮฺอัล อันฟาล : 46
‫وا‬‫ه‬‫يع‬ِ‫َط‬‫أ‬َ‫و‬َُ‫و‬‫ا‬‫ل‬‫ال‬ُ‫ه‬‫و‬َ‫ل‬‫و‬‫ه‬‫س‬َ‫ر‬َ‫و‬َُ‫ال‬َ‫و‬‫وا‬‫ه‬‫ع‬َ‫از‬َ‫ن‬َ‫ت‬‫وا‬‫ه‬‫ل‬َ‫ش‬ْ‫ف‬َ‫ت‬َ‫ف‬َُ‫ب‬َ‫ى‬ْ‫ذ‬َ‫ت‬َ‫و‬ُْ‫م‬‫ه‬‫ك‬‫ه‬‫يح‬ِ‫ر‬ۚ‫وا‬‫ه‬‫ر‬ِ‫ب‬ْ‫اص‬َ‫و‬ُُۚ‫ا‬‫ن‬ِ‫إ‬َُ‫و‬‫ا‬‫ل‬‫ال‬َُ‫ين‬ِ‫ر‬ِ‫ب‬‫ا‬‫ا‬‫ص‬‫ُال‬َ‫ع‬َ‫م‬
“จงภักดีต่ออัลลอฮฺและศาสนทูตของพระองค์เถิด และอย่าได้ทะเลาะเบาะแว้งกัน เพราะจะทาให้
พวกเจ้าล้มเหลว และความเข้มแข็งจะหายไป จงอดทนเถิด แท้จริงอัลลอฮฺทรงอยู่กับผู้อดทน”
เพื่อให้เกิดความเป็นญะมาอะฮฺอย่างแท้จริง มุสลิมจาเป็นต้องเคารพเชื่อฟังต่อผู้นาของตน ในทุกเรื่อง
ที่ไม่ใช่การทรยศเนรคุณต่ออัลลอฮฺพระผู้เป็นเจ้า และไม่นาประเด็นปัญหาปลีกย่อยทางศาสนา มาเป็นชนวน
สร้างความแตกแยกในสังคม ทั้งนี้เพราะความแตกต่างในประเด็นปลีกย่อยมีไว้เพื่อเป็นรอหฺมะฮฺ หาใช่ไว้ใช้
เสี้ยมให้เกิดความแตกแยกไม่ ท่านรอซู้ล(ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม) กล่าวไว้ว่า
‫عليكم‬ُ‫بالجماعة‬ُ‫وإياكم‬ُ‫والفرقة‬ُ‫فإن‬ُ‫الشيطان‬ُ‫مع‬ُ‫الواحد‬ُ‫وىو‬ُ‫م‬‫ن‬ُ‫االثنين‬ُ،‫أبعد‬ُ‫من‬ُ‫اد‬‫ر‬‫أ‬ُ‫بحبوحة‬ُ‫الجنة‬ُ
‫فليلزم‬ُ‫الجماعة‬ُُ(‫رواه‬ُ‫الترمدي‬ُ‫في‬ُ‫الفتن‬ُ6622ُ‫والحاكم‬ُ‫وصححو‬ُ‫على‬ُ‫شرط‬ُ‫الشيخين‬)
“ท่านทั้งหลายจงยึดมั่นอยู่ในญะมาอะฮฺเถิด และจงระวังความแตกแยกให้หนัก แท้จริงซาตานจะ
อยู่กับผู้แปลกแยกไปเพียงลาพัง มันจะห่างออกเมื่ออยู่ร่วมกันสองคน ผู้ใดประสงค์จะอยู่ ณ ใจกลางแห่ง
สวรรค์ก็จงยึดมั่นในญะมาอะฮฺเถิด”
การเป็นผู้ให้
ญะมาอะฮฺหนึ่งจะเข้มแข็งได้ นอกจากต้องเคารพเชื่อฟังผู้นาแล้ว คนในญะมาอะฮฺจะต้องรู้จักเป็นผู้ให้
และไม่เห็นแก่ตัวด้วย
ความเห็นแก่ตัวทาให้ความสัมพันธ์ของคนในสังคมและแม้แต่ในครอบครัวเดียวกันเสื่อมทรามลง จึงไม่
ช่วยให้สังคมเข้มแข็งได้ ขณะที่การเป็นผู้ให้และความเสียสละจะช่วยให้ความสัมพันธ์แข็งแกร่งขึ้น และสังคม
จะเข้มแข็งขึ้นด้วย ความสาเร็จจึงอยู่ที่เอาชนะความเห็นแก่ตัวให้ได้ ดังพระดารัสของอัลลอฮฺในซูรอฮฺ อัลฮัชร์:
9
‫ن‬َ‫م‬َ‫و‬َُ‫ق‬‫و‬‫ه‬‫ي‬ُ‫ا‬‫ح‬‫ه‬‫ش‬ُِ‫و‬ِ‫س‬ْ‫ف‬َ‫ن‬َُ‫ك‬ِ‫ئ‬َ‫ل‬‫هو‬‫أ‬َ‫ف‬ُ‫ه‬‫م‬‫ه‬‫ى‬َُ‫ن‬‫و‬‫ه‬‫ح‬ِ‫ل‬ْ‫ف‬‫ه‬‫ْم‬‫ل‬‫ا‬
“ผู้ใดรักษาตนให้พ้นจากความตระหนี่เห็นแก่ตัวได้ พวกเขาก็คือ ผู้ได้รับความสาเร็จ”
เป็นความสาเร็จที่ไม่ได้เกิดเฉพาะในโลกอาคิรอฮฺเท่านั้น แต่จะได้สัมผัสความสาเร็จในโลกนี้ด้วย
เหมือนดังที่ชาวมุฮาญิรีนและอันศอร เคยประสบผลสาเร็จในการสร้างความแข็งแกร่งแก่นครมาดีนะฮฺมาก่อน
4
ความมีจิตอาสา
ในที่นี้ หมายถึง จิตอาสาในการส่งเสริมความดีและยับยั้งความชั่ว เพราะสังคมที่ขาดคนต่อสู้ด้วย
จิตอาสาเพื่ออัลลอฮฺ จะกลายเป็นสังคมต่างคนต่างอยู่ ตัวใครตัวมัน ซึ่งจะกลายเป็นช่องว่างกว้างใหญ่ให้
ความชั่วร้ายต่าง ๆ เข้ามาทาลายสังคมได้ โดยไร้ผู้ต่อต้านขัดขืน
สังคมของประชาชาติก่อน ๆ จึงล่มสลายไปเพราะขาดคนจิตอาสานี้เอง ดังอัลลอฮฺทรงเตือนไว้
ในซูเราะฮฺฮูด : 116
َُ‫ن‬ِ‫ُم‬َ‫ن‬‫ا‬َ‫ك‬ُ‫ال‬ْ‫و‬َ‫ل‬َ‫ف‬ُُ‫ا‬َ‫ن‬ْ‫ي‬َ‫ج‬ْ‫ن‬َ‫أ‬ُْ‫ن‬‫ا‬‫م‬ِ‫يلُم‬ِ‫ل‬َ‫ق‬ُ‫ال‬ِ‫إ‬ُ ِ‫ض‬ْ‫َر‬‫ْل‬‫يُا‬ِ‫ُف‬ِ‫اد‬َ‫س‬َ‫ف‬ْ‫ل‬‫ُا‬ِ‫ن‬َ‫ُع‬َ‫ن‬ْ‫و‬َ‫ه‬ْ‫ن‬َ‫ُي‬‫ة‬‫ا‬‫ي‬ِ‫ق‬َ‫وُب‬‫ه‬‫ل‬‫هو‬‫أ‬ُْ‫م‬‫ه‬‫ك‬ِ‫ل‬ْ‫ب‬َ‫ُق‬ْ‫ن‬ِ‫ُم‬ِ‫ون‬‫ه‬‫ر‬‫ه‬‫ق‬ْ‫ل‬‫ا‬
َُ‫ين‬ِ‫م‬ِ‫ر‬ْ‫ج‬‫ه‬‫واُم‬‫ه‬‫ن‬‫ا‬َ‫ك‬َ‫ُو‬ِ‫يو‬ِ‫واُف‬‫ه‬‫ف‬ِ‫ر‬ْ‫ت‬‫ه‬‫أ‬ُ‫ا‬َ‫واُم‬‫ه‬‫م‬َ‫ل‬َ‫ظ‬َُ‫ين‬ِ‫ذ‬‫ا‬‫ل‬‫ُا‬َ‫ع‬َ‫ب‬‫ا‬‫ات‬َ‫ُو‬ْ‫م‬‫ه‬‫ه‬ْ‫ن‬ِ‫م‬
“ควรอย่างยิ่งที่ประชาชาติต่าง ๆ ก่อนหน้าพวกเจ้า จะมีผู้ทรงปัญญาที่คอยยับยั้งห้ามปรามมิให้
เกิดความเสื่อมทรามในแผ่นดิน แต่กลับไม่มี ยกเว้นบุคคลจานวนน้อย ซึ่งเราได้ช่วยให้พวกเขาเอาตัวรอด
ได้ ส่วนบรรดาผู้อธรรมทั้งหลายนั้นมักเดินตามอารมณ์ที่ถูกปรนเปรอ และพวกเขาก็กลายเป็นอาชญากร”
อายะฮฺนี้บอกเราว่า สาเหตุสาคัญที่ทาให้อัลลอฮฺทรงลงโทษประชาชาติหนึ่ง ๆ คือ การที่ผู้คนเอาแต่
ความสุขสบายส่วนตน ปรนเปรอชีวิตด้วยความบันเทิงเริงรมย์ต่าง ๆ ตามอารมณ์ปรารถนา จนเกิดความ
เลวร้ายทั่วไป ครั้นเกิดความเลวร้ายเช่นนั้นแล้ว ก็หามีใครออกมายับยั้งห้ามปรามไม่ เพราะถือว่ามิใช่กิจของตน
จนเป็นเหตุให้เกิดหายนะในที่สุด
ในทางตรงกันข้าม หากเรามีจิตอาสาที่จะช่วยเหลือสังคมจริง โดยการร่วมในกิจกรรมความดี และ
ช่วยกันยับยั้งความชั่วตามกาลังความสามารถ อัลลอฮฺก็จะทรงประทานความแข็งแกร่งให้ และสังคมนั้นก็จะ
กลายเป็นแม่แบบของสังคมเข้มแข็งอย่างแท้จริง
ดังปรากฏคายกย่องอัลลอฮฺในซูรอฮฺ อาลฮิมรอน : 110
ُْ‫م‬‫ه‬‫نت‬‫ه‬‫ك‬َُ‫ر‬ْ‫ي‬َ‫خ‬ُ‫ة‬‫ا‬‫م‬‫ه‬‫أ‬ُْ‫ت‬َ‫ج‬ِ‫ر‬ْ‫خ‬‫ه‬‫أ‬ُِ‫ااس‬‫ن‬‫ل‬ِ‫ل‬َُ‫ن‬‫و‬‫ه‬‫ر‬‫ه‬‫ْم‬‫أ‬َ‫ت‬ُِ‫وف‬‫ه‬‫ر‬ْ‫ع‬َ‫ْم‬‫ل‬‫ا‬ِ‫ب‬َُ‫ن‬ْ‫و‬َ‫ه‬ْ‫ن‬َ‫ت‬َ‫و‬ُِ‫ن‬َ‫ع‬ُِ‫ر‬َ‫ك‬‫ن‬‫ه‬‫ْم‬‫ل‬‫ا‬َُ‫ن‬‫و‬‫ه‬‫ن‬ِ‫م‬ْ‫ؤ‬‫ه‬‫ت‬َ‫و‬ُِ‫و‬‫ا‬‫ل‬‫ال‬ِ‫ب‬ُْ‫و‬َ‫ل‬َ‫و‬َُ‫ن‬َ‫آم‬ُ‫ه‬‫ل‬ْ‫َى‬‫أ‬
ُِ‫اب‬َ‫ت‬ِ‫ْك‬‫ل‬‫ا‬َُ‫ن‬‫ا‬َ‫ك‬َ‫ل‬‫ا‬ً‫ر‬ْ‫ي‬َ‫خ‬‫م‬‫ه‬‫ه‬‫ا‬‫ل‬ُ‫ه‬‫م‬‫ه‬‫ه‬ْ‫ن‬ِّ‫م‬َُ‫ن‬‫و‬‫ه‬‫ن‬ِ‫م‬ْ‫ؤ‬‫ه‬‫ْم‬‫ل‬‫ا‬ُ‫ه‬‫ى‬‫ه‬‫ر‬َ‫ث‬ْ‫ك‬َ‫أ‬َ‫و‬ُ‫ه‬‫م‬َُ‫ن‬‫و‬‫ه‬‫ق‬ِ‫اس‬َ‫ف‬ْ‫ل‬‫ا‬
“พวกเจ้าเป็นประชาชาติอันประเสริฐสุดแล้วที่ถูกทาให้ปรากฏแก่มวลมนุษยชาติ อันเนื่องจาก
พวกเจ้าส่งเสริมการทาความดี และช่วยกันยับยั้งความชั่ว โดยพวกเจ้าต่างศรัทธาต่ออัลลอฮฺ...”
ดังนั้น หากวันนี้ มุสลิมเราต้องการความเข้มแข็งเพื่อที่จะไม่เป็นเหยื่อความอธรรมของใคร และ
สามารถช่วยเหลือเกื้อกูลผู้อ่อนแอทั้งหลายได้ เราจะต้องฟื้นฟูความแข็งแกร่งของเรากลับมา ผ่านกระบวนการ
สาคัญทั้งสองอย่างนี้ ُ(‫آمنوا‬ُُ‫وعملوا‬ُُ‫الصالحات‬ُ) หาไม่แล้ว นอกจากเราจะไม่สามารถช่วยเหลือใครได้ เรายัง
จะตกเป็นเหยื่อของการกดขี่ ทาลาย และการบีบคั้นต่าง ๆ จนอาจไม่เหลือความดีใด ๆ ไว้อีกด้วย
ُ‫ه‬‫ل‬ْ‫و‬‫ه‬‫َق‬‫أ‬ُْ‫ي‬ِ‫ل‬ْ‫و‬َ‫ق‬‫ا‬َ‫ذ‬َ‫ى‬َُ‫الل‬‫ه‬‫ر‬ِ‫ف‬ْ‫غ‬َ‫ت‬ْ‫َس‬‫أ‬َ‫و‬َُ‫م‬ْ‫ي‬ِ‫ظ‬َ‫ْع‬‫ل‬‫ا‬ُْ‫ي‬ِ‫ل‬ُْ‫م‬‫ه‬‫ك‬َ‫ل‬َ‫و‬َُ‫ن‬ْ‫ي‬ِ‫م‬ِ‫ل‬ْ‫س‬‫ه‬‫ْم‬‫ل‬‫ا‬ِ‫ر‬ِ‫ائ‬َ‫س‬ِ‫ل‬َ‫و‬ُِ‫ات‬َ‫م‬ِ‫ل‬ْ‫س‬‫ه‬‫ْم‬‫ل‬‫ا‬َ‫و‬َُ‫ن‬ْ‫ي‬ِ‫ن‬ِ‫م‬ْ‫ؤ‬‫ه‬‫ْم‬‫ل‬‫ا‬َ‫و‬ُُِ‫ات‬َ‫ن‬ِ‫م‬ْ‫ؤ‬‫ه‬‫ْم‬‫ل‬‫ا‬َ‫و‬
ُ‫ه‬‫ه‬ْ‫و‬‫ه‬‫ر‬ِ‫ف‬ْ‫غ‬َ‫ت‬ْ‫اس‬َ‫ف‬ُ‫ه‬‫و‬‫ا‬‫ن‬‫ا‬ ِِ‫و‬‫ه‬‫ى‬‫ر‬ْ‫و‬‫ه‬‫ف‬َ‫غ‬ْ‫ل‬‫ا‬ َُِ‫ه‬‫م‬ْ‫ي‬ِ‫ح‬‫ا‬‫ر‬‫ال‬ ‫ه‬ِ

More Related Content

Viewers also liked

Introduction to NOSQL And MongoDB
Introduction to NOSQL And MongoDBIntroduction to NOSQL And MongoDB
Introduction to NOSQL And MongoDBBehrouz Bakhtiari
 
Circuitos Digitales - Corrimiento de bits
Circuitos Digitales - Corrimiento de bits Circuitos Digitales - Corrimiento de bits
Circuitos Digitales - Corrimiento de bits
Fernando Marcos Marcos
 
Articulo del 42 al 52
Articulo del 42 al 52Articulo del 42 al 52
Articulo del 42 al 52PAulo Borikua
 
ipsum.pdf
ipsum.pdfipsum.pdf
ipsum.pdf
reezo21
 
5 jobs where bots will replace humans
5 jobs where bots will replace humans5 jobs where bots will replace humans
5 jobs where bots will replace humans
Softweb Solutions
 
Superlative
SuperlativeSuperlative
Function oveloading
Function oveloadingFunction oveloading
Function oveloading
Ritika Sharma
 
MEI
MEIMEI
21 февраля в группе
21 февраля в группе21 февраля в группе
21 февраля в группеvirtualtaganrog
 
Workshop 1 susy wootton
Workshop 1 susy woottonWorkshop 1 susy wootton
Workshop 1 susy woottonPolicy Lab
 
Planhub
PlanhubPlanhub
Planhub
家璿 周
 
Introdução às Metodologias Ágeis de Desenvolvimento
Introdução às Metodologias Ágeis de DesenvolvimentoIntrodução às Metodologias Ágeis de Desenvolvimento
Introdução às Metodologias Ágeis de Desenvolvimento
Jerry Medeiros
 
5 estruturas de controle
5 estruturas de controle5 estruturas de controle
5 estruturas de controlePAULO Moreira
 

Viewers also liked (16)

Introduction to NOSQL And MongoDB
Introduction to NOSQL And MongoDBIntroduction to NOSQL And MongoDB
Introduction to NOSQL And MongoDB
 
Cine
CineCine
Cine
 
Circuitos Digitales - Corrimiento de bits
Circuitos Digitales - Corrimiento de bits Circuitos Digitales - Corrimiento de bits
Circuitos Digitales - Corrimiento de bits
 
Articulo del 42 al 52
Articulo del 42 al 52Articulo del 42 al 52
Articulo del 42 al 52
 
ipsum.pdf
ipsum.pdfipsum.pdf
ipsum.pdf
 
5 jobs where bots will replace humans
5 jobs where bots will replace humans5 jobs where bots will replace humans
5 jobs where bots will replace humans
 
Brin 3 q12
Brin   3 q12Brin   3 q12
Brin 3 q12
 
Superlative
SuperlativeSuperlative
Superlative
 
Function oveloading
Function oveloadingFunction oveloading
Function oveloading
 
MEI
MEIMEI
MEI
 
21 февраля в группе
21 февраля в группе21 февраля в группе
21 февраля в группе
 
Workshop 1 susy wootton
Workshop 1 susy woottonWorkshop 1 susy wootton
Workshop 1 susy wootton
 
Planhub
PlanhubPlanhub
Planhub
 
Introdução às Metodologias Ágeis de Desenvolvimento
Introdução às Metodologias Ágeis de DesenvolvimentoIntrodução às Metodologias Ágeis de Desenvolvimento
Introdução às Metodologias Ágeis de Desenvolvimento
 
Metodos
MetodosMetodos
Metodos
 
5 estruturas de controle
5 estruturas de controle5 estruturas de controle
5 estruturas de controle
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

คุฏบะฮฺ อีดิลฟิฏริ ฮ.ศ. 1436

  • 1. คุฏบะฮฺ อีดิลฟิฏริ ฮ.ศ. 1436 โดย... ฝ่ายวิชาการและการศึกษา คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย ความเข้มแข็งของมุสลิมจะนาความร่มเย็นสู่สังคม ُ‫ه‬‫الل‬‫ر‬َ‫ب‬ْ‫َك‬‫أ‬(9)ُ‫ه‬‫الل‬ُ‫ه‬‫ر‬َ‫ب‬ْ‫َك‬‫أ‬َُُُ‫ك‬‫ا‬ً‫ر‬ْ‫ي‬ِ‫ب‬.ُِ‫لل‬‫ه‬‫د‬ْ‫م‬َ‫لح‬ْ‫ا‬َ‫و‬ًُ‫ر‬ْ‫ي‬ِ‫ث‬َ‫ك‬‫ا‬.َُ‫ن‬‫ا‬َ‫ح‬ْ‫ب‬‫ه‬‫س‬َ‫و‬ُِ‫الل‬ًُ‫ة‬َ‫ر‬ْ‫ك‬‫ه‬‫ب‬ًُ‫ل‬ْ‫ي‬ِ‫َص‬‫أ‬َ‫و‬.َُ‫ن‬‫ا‬َ‫ح‬ْ‫ب‬‫ه‬‫س‬ُِ‫الل‬ ُِ‫لل‬‫ه‬‫د‬ْ‫م‬َ‫لح‬ْ‫ا‬َ‫و‬َُ‫لو‬ِ‫إ‬َ‫ال‬َ‫و‬ُ‫ا‬‫ال‬‫إ‬ُ‫ه‬‫الل‬.ُ‫ه‬‫الل‬َ‫و‬ُِ‫لل‬َ‫و‬‫ه‬‫ر‬َ‫ب‬ْ‫ك‬َ‫أ‬ُ‫ه‬‫د‬ْ‫م‬َ‫ْح‬‫ل‬‫ا‬.ُِ‫لل‬‫ه‬‫د‬ْ‫م‬َ‫ْح‬‫ل‬َ‫ا‬ُْ‫ي‬ِّ‫ل‬َ‫ج‬َ‫ت‬‫ه‬‫ْم‬‫ل‬‫ا‬ُِ‫و‬ِ‫ت‬َ‫م‬ْ‫ح‬َ‫ر‬ِ‫ب‬‫ى‬َ‫ل‬َ‫ع‬ُْ‫ه‬ِ‫اد‬َ‫ب‬ِ‫ع‬،ُِ‫ب‬ْ‫ي‬ِ‫ر‬َ‫ق‬ْ‫ل‬َ‫ا‬ُْ‫ن‬ِ‫م‬ ُِ‫ل‬ْ‫َى‬‫أ‬ُِ‫و‬ِ‫بت‬َ‫ح‬َ‫م‬ُِ‫ه‬ِ‫اد‬َ‫د‬ِ‫و‬َ‫و‬،ُِ‫ام‬َ‫ق‬ْ‫ل‬َ‫ا‬ُِ‫ع‬ُْ‫ن‬َ‫م‬َُ‫ام‬َ‫ى‬ُْ‫ي‬ِ‫ف‬ُِ‫ان‬َ‫د‬ْ‫ي‬َ‫م‬ُِ‫ه‬ِّ‫و‬‫ه‬‫ت‬‫ه‬‫ع‬ُْ‫ه‬ِ‫اد‬َ‫ن‬ِ‫ع‬َ‫و‬،ُِ‫د‬ْ‫ي‬ِ‫ع‬‫ه‬‫ْم‬‫ل‬َ‫ا‬ُِ‫ر‬ْ‫و‬‫ه‬‫ر‬ُّ‫الس‬‫ى‬َ‫ل‬َ‫ع‬ُِ‫ل‬ْ‫َى‬‫أ‬ُِ‫ان‬َ‫م‬ْ‫ي‬ِ‫ال‬ْ‫ا‬ ُِ‫م‬َ‫ل‬ْ‫س‬ِ‫ال‬ْ‫ا‬َ‫و‬،ُ‫ه‬‫د‬َ‫ه‬ْ‫ش‬َ‫أ‬َ‫و‬ُْ‫َن‬‫أ‬َُ‫و‬َ‫ل‬ِ‫إ‬َ‫ال‬ُ‫ا‬‫ال‬ِ‫إ‬ُ‫ه‬‫الل‬ُ‫ه‬‫ر‬ِ‫ف‬ْ‫غ‬َ‫ي‬َُ‫ب‬ْ‫و‬‫ه‬‫ن‬ُّ‫الذ‬‫ى‬َ‫ط‬ْ‫ع‬‫ه‬‫ي‬َ‫و‬ُ‫ا‬‫ل‬‫ه‬‫ك‬ُ‫ل‬ِ‫ائ‬َ‫س‬ُْ‫َل‬‫أ‬َ‫اس‬َ‫م‬،ُ‫ه‬‫د‬َ‫ه‬ْ‫ش‬َ‫أ‬َ‫و‬ُ‫ا‬‫ن‬َ‫أ‬‫ا‬َ‫ن‬َ‫د‬ِّ‫ي‬َ‫س‬ ًُ‫د‬‫ا‬‫م‬َ‫ح‬‫ه‬‫م‬‫ا‬ُ‫ه‬‫ل‬ْ‫و‬‫ه‬‫س‬َ‫ر‬ُِ‫الل‬َُ‫ب‬ِ‫غ‬َ‫ر‬‫ي‬ِ‫ف‬ُِ‫ة‬َ‫اع‬‫ا‬‫ط‬‫ال‬َُ‫ر‬‫ا‬‫ذ‬َ‫ح‬َ‫و‬َُ‫ن‬ِ‫م‬ُْ‫ل‬َ‫س‬َ‫ك‬ْ‫ل‬‫ا‬.ُ‫ا‬‫م‬‫ه‬‫ه‬‫ا‬‫ل‬‫ل‬َ‫ا‬ُِّ‫ل‬َ‫ص‬ُْ‫م‬ِّ‫ل‬َ‫س‬َ‫و‬َُ‫لى‬َ‫ع‬‫ا‬َ‫ن‬ِ‫د‬ِّ‫ي‬َ‫س‬ُ‫د‬‫ا‬‫م‬َ‫ح‬‫ه‬‫م‬ُِ‫ب‬ِّ‫ي‬َ‫ط‬ ُِ‫ب‬ْ‫و‬‫ه‬‫ل‬‫ه‬‫ق‬ْ‫ل‬‫ا‬ُْ‫ل‬َ‫ل‬ِ‫ْع‬‫ل‬‫ا‬َ‫و‬،َُ‫لى‬َ‫ع‬َ‫و‬ُِ‫و‬ِ‫آل‬ُِ‫و‬ِ‫ب‬‫ا‬َ‫ح‬ْ‫َص‬‫أ‬َ‫و‬َُ‫ن‬ْ‫ي‬ِ‫ص‬ِ‫ل‬ْ‫خ‬‫ه‬‫ْم‬‫ل‬‫ا‬ُِ‫لل‬‫ي‬ِ‫ف‬ُِ‫ام‬َ‫ي‬ِّ‫الص‬ُِ‫ام‬َ‫ي‬ِ‫ْق‬‫ل‬‫ا‬َ‫و‬،‫ا‬‫ا‬‫م‬َ‫أ‬ُ‫ه‬‫د‬ْ‫ع‬َ‫ب‬:‫ي‬َ‫ف‬َُ‫ا‬ُِ‫الل‬َ‫اد‬َ‫ب‬ِ‫ع‬ ُْ‫م‬‫ه‬‫ك‬ْ‫ي‬ِ‫ص‬ْ‫هو‬‫أ‬ُْ‫ي‬ِ‫س‬ْ‫ف‬َ‫ن‬َ‫و‬ًُ‫ال‬‫ا‬‫َو‬‫أ‬‫ى‬َ‫و‬ْ‫ق‬َ‫ت‬ِ‫ب‬ُِ‫الل‬ُْ‫و‬ِ‫ت‬َ‫اع‬َ‫ط‬َ‫و‬،ُْ‫د‬َ‫ق‬َ‫و‬َُ‫ال‬َ‫ق‬ُ‫ه‬‫الل‬َُ‫الى‬َ‫ع‬َ‫ت‬ُْ‫ي‬ِ‫ف‬ُِ‫و‬ِ‫ب‬‫ا‬َ‫ت‬ِ‫ك‬{ُُّ‫ل‬‫ه‬‫ك‬ُْ‫ن‬َ‫م‬‫ا‬َ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ُ‫ان‬َ‫ف‬‫ى‬َ‫ق‬ْ‫ب‬َ‫ي‬َ‫و‬ ُ‫ه‬‫و‬ْ‫ج‬َ‫و‬َُ‫ك‬ِّ‫ب‬َ‫ر‬‫وا‬‫ه‬‫ذ‬ُِ‫ل‬َ‫ل‬َ‫الج‬ُِ‫ام‬َ‫ر‬ْ‫ك‬ِ‫ال‬ْ‫ا‬َ‫و‬} ُ‫ه‬‫الل‬ُ‫ه‬‫ر‬َ‫ب‬ْ‫ك‬َ‫ا‬ُ‫ه‬‫الل‬ُ‫ه‬‫ر‬َ‫ب‬ْ‫ك‬َ‫ا‬ُ‫ه‬‫الل‬ُ‫ه‬‫ر‬َ‫ب‬ْ‫ك‬َ‫ا‬ُِ‫لل‬َ‫و‬ُ‫ه‬‫د‬ْ‫م‬َ‫لح‬ْ‫ا‬. ความสงบร่มเย็น เป็นสิ่งที่ผู้คนในทุกสังคมปรารถนา แต่กระนั้นก็ใช่ว่าทุกสังคมจะบรรลุสู่ความร่มเย็น ได้ สถานการณ์ของสังคมโลกทุกวันนี้ บ่งชี้ว่าความร่มเย็นกาลังหดหายไปจากผู้คน แต่ความทุกข์ยากเดือดร้อน จากสงครามและการเข่นฆ่า การเอาเปรียบแย่งชิง ความร่อยหรอของทรัพยากร และความวิปริตแปรปรวนของ ดินฟ้าอากาศ กลับเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง เป็นสิ่งบ่งชี้ว่ามีความผิดพลาดใหญ่หลวงบางอย่าง ในการดารงชีวิตของผู้คน จึงทาให้ไม่สามารถสร้างความสงบร่มเย็นได้ แม้ใครต่อใครจะปรารถนาก็ตาม ถามว่า ความผิดพลาดดังกล่าว คืออะไร? ตอบได้ว่า เพราะมนุษย์มิได้เดินไปบนเส้นทางที่นาสู่ความร่มเย็น แต่กลับเลือกที่จะก้าวไปบนเส้นทางที่ นาสู่ความรุ่มร้อนแทน มนุษย์คิดว่าตนเองมีความสามารถที่จะบรรลุสู่ความปรารถนาของตนได้ โดยมิพักต้อง พึ่งพิงอัลลอฮฺพระผู้เป็นเจ้า พวกเขาปฏิเสธพระองค์ และกาหนดกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ขึ้นเองโดยขัดแย้งสวนทางกับ คาสอนของพระองค์ (ฎอฮา : 124) ‫مى‬ْ‫ع‬َ‫أ‬ُِ‫ة‬َ‫يام‬ِ‫ْق‬‫ل‬‫ُا‬َ‫م‬ْ‫و‬َ‫ُي‬‫ه‬‫ه‬‫ه‬‫ر‬‫ه‬‫ش‬ْ‫ح‬َ‫ن‬َ‫اُو‬ً‫ك‬ْ‫ن‬َ‫ُض‬ً‫ة‬َ‫ش‬‫ي‬ِ‫ع‬َ‫ُم‬‫ه‬‫و‬َ‫ل‬ُ‫ا‬‫ن‬ِ‫إ‬َ‫ف‬ُ‫ي‬ِ‫ر‬ْ‫ك‬ِ‫ُذ‬ْ‫ن‬َ‫ُع‬َ‫ض‬َ‫ر‬ْ‫ع‬َ‫أ‬ُْ‫ن‬َ‫م‬َ‫و‬ُ “ผู้ใดหันห่างจากการระลึกถึงข้า เขาจะใช้ชีวิตในวังวนอันคับแคบ และข้าจะฟื้นชีพเขาอีกครั้งใน วันแห่งการพิพากษาในสภาพคนตาบอด” น่าเศร้ากว่านั้นก็คือ มุสลิมจานวนมากเช่นกันที่อ้างว่านับถืออัลลอฮฺ แต่กลับเดินตามแนวทางของผู้ ปฏิเสธอัลลอฮฺ ที่เป็นผู้ปกครองก็มิได้ปกครองตามบัญญัติแห่งอัลลอฮฺ ที่เป็นประชาชนก็ดิ้นรนขวนขวาย แสวงหาลาภยศจนลืมอาคิรอฮฺ นามาซึ่งภาวะความอ่อนแอ ความแตกแยก การทาลายล้าง และความ ระส่าระสาย ไม่ต่างกับผู้ปฏิเสธ เช่นกัน (อัลบะกอรอฮฺ : 145) ُْ‫ل‬‫ُا‬َ‫ن‬ِ‫ُم‬ َ‫ك‬َ‫اء‬َ‫اُج‬َ‫ُم‬ِ‫د‬ْ‫ع‬َ‫نُب‬ِّ‫مُم‬‫ه‬‫ى‬َ‫اء‬َ‫و‬ْ‫َى‬‫أ‬َُ‫ت‬ْ‫ع‬َ‫ب‬‫ا‬‫ُات‬ِ‫ن‬ِ‫ئ‬َ‫ل‬َ‫و‬َُ‫ين‬ِ‫م‬ِ‫ال‬‫ا‬‫ظ‬‫ُال‬َ‫ن‬ِ‫م‬‫ا‬‫ل‬ُ‫ا‬ً‫ذ‬ِ‫إ‬ُ َ‫ك‬‫ا‬‫ن‬ِ‫إ‬ُُِ‫ْم‬‫ل‬ِ‫ع‬
  • 2. 2 “แน่แท้ แม้นหากเจ้าคล้อยตามอารมณ์ของพวกเขา หลังจากที่เจ้าได้รับความรู้ต่าง ๆ (จากองค์ พระผู้เป็นเจ้า) แล้ว เจ้าก็ย่อมเป็นหนึ่งในผู้อธรรมทั้งหลาย” ความอ่อนแอของสังคมมุสลิม เป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้โลกระส่าระสาย เพราะแท้จริงมุสลิมคือผู้ต้องทา หน้าที่สร้างความสงบร่มเย็นในสังคม ผ่านการใช้ทางนาจากอัลลอฮฺในทุก ๆ มิติ ครั้นเมื่อมุสลิมหันหลังให้ทาง นา หรือนามาใช้เพียงบางส่วนเสี้ยวของชีวิต ก็ย่อมประสบปัญหาไม่ต่างจากสังคมของผู้ปฏิเสธ อ่อนแอ เช่นเดียวกับผู้ปฏิเสธหรืออ่อนแอมากกว่านั้น ในที่สุดก็ไม่มีใครทาหน้าที่ช่วยเหลือสังคมมนุษย์ให้รอดพ้นจาก บ่วงแห่งวิกฤติได้ แต่กลายเป็นสังคมที่ต้องรอรับความช่วยเหลือจากผู้อื่นอยู่ตลอดเวลา จึงมีความจาเป็นที่เราในฐานะมุสลิม จะต้องก้าวออกจากบ่วงแห่งฟิตนะฮฺให้ได้ เพื่อทาหน้าที่เป็น แบบอย่างอันดีแก่มนุษย์ชาติ ในการสร้างความสงบร่มเย็น และความสาเร็จทั้งในโลกนี้และโลกหน้า สมดังที่ อัลลอฮฺทรงให้เราทาหน้าที่เป็นเมตตาธรรมแก่เพื่อนมนุษย์ ดังในซูเราะฮฺ อัลอัมบิยาอฺ : 107 ‫ا‬َ‫م‬َ‫و‬َُ‫اك‬َ‫ْن‬‫ل‬َ‫س‬ْ‫َر‬‫أ‬ُ‫ا‬‫ال‬ِ‫إ‬ًُ‫ة‬َ‫م‬ْ‫ح‬َ‫ر‬َُ‫ين‬ِ‫م‬َ‫ل‬‫ا‬َ‫ْع‬‫ل‬ِ‫ل‬ُ “เรามิได้ส่งเจ้ามาเพื่อเป็นอะไร นอกจากเป็นเมตตาธรรมแก่สากลโลก” เป็นเมตตาธรรมแก่สากลโลก เป็นได้อย่างไร? มีหนทางเดียว คือ การกลับสู่แนวทางที่อัลลอฮฺกาหนด และดาเนินชีวิตตามแบบฉบับแห่งศาสนทูต ของพระองค์นบีมุหัมมัด (ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม) ซึ่งหากจะประมวลแนวทางดังกล่าว ก็อาจสรุป เป็น 2 แนวทางใหญ่ ๆ คือ 1. การศรัทธาต่ออัลลอฮฺอย่างเต็มเปี่ยม (‫)آمنوا‬ 2. การลงมือปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ อันแสดงออกถึงความศรัทธานั้น ( ‫عملوا‬ُ‫الصالحات‬ ) ทั้งนี้เป็นไปตามพระดารัสแห่งอัลลอฮฺ (ซูเราะฮฺ อันนูร: 55) ُ َُ‫د‬َ‫ع‬َ‫و‬ُ‫ه‬‫و‬‫ا‬‫ل‬‫ال‬َُ‫ين‬ِ‫ذ‬‫ا‬‫ل‬‫ا‬‫وا‬‫ه‬‫ن‬َ‫آم‬ُْ‫م‬‫ه‬‫ك‬ْ‫ن‬ِ‫م‬‫وا‬‫ه‬‫ل‬ِ‫م‬َ‫ع‬َ‫و‬ُِ‫ات‬َ‫ح‬ِ‫ال‬‫ا‬‫ص‬‫ال‬ُْ‫م‬‫ه‬‫اه‬‫ن‬َ‫ف‬ِ‫ل‬ْ‫خ‬َ‫ت‬ْ‫س‬َ‫ي‬َ‫ل‬‫ي‬ِ‫ف‬ُِ‫ض‬ْ‫َر‬ْ‫اْل‬‫ا‬َ‫م‬َ‫ك‬َُ‫ف‬َ‫ل‬ْ‫خ‬َ‫ت‬ْ‫اس‬َُ‫ين‬ِ‫ذ‬‫ا‬‫ل‬‫ا‬ ُْ‫ن‬ِ‫م‬ُْ‫م‬ِ‫ه‬ِ‫ل‬ْ‫ب‬َ‫ق‬ُ‫ا‬‫ن‬َ‫ن‬ِّ‫ك‬َ‫م‬‫ه‬‫ي‬َ‫ل‬َ‫و‬ُْ‫م‬‫ه‬‫ه‬َ‫ل‬ُ‫ه‬‫م‬‫ه‬‫ه‬َ‫ين‬ِ‫د‬‫ي‬ِ‫ذ‬‫ا‬‫ل‬‫ا‬ُ‫ى‬َ‫ض‬َ‫ت‬ْ‫ار‬ُْ‫م‬‫ه‬‫ه‬َ‫ل‬ُ ُُِْ‫م‬‫ه‬‫اه‬‫ن‬َ‫ل‬ِّ‫د‬َ‫ب‬‫ه‬‫ي‬َ‫ل‬َ‫و‬ُْ‫ن‬ُِ‫د‬ْ‫ع‬َ‫ب‬ُْ‫م‬ِ‫ه‬ِ‫ف‬ْ‫و‬َ‫خ‬‫ا‬ً‫ن‬ْ‫َم‬‫أ‬ۚ‫ي‬ِ‫ن‬َ‫ن‬‫و‬‫ه‬‫د‬‫ه‬‫ب‬ْ‫ع‬َ‫ي‬َُ‫ال‬ُ‫ه‬‫ي‬َُ‫ن‬‫و‬‫ه‬‫ك‬ِ‫ر‬ْ‫ش‬‫ي‬ِ‫ب‬‫ا‬ً‫ئ‬ْ‫ي‬َ‫ش‬ُُْۚ‫ن‬َ‫م‬َ‫و‬َُ‫ر‬َ‫ف‬َ‫ك‬ُ‫ه‬‫م‬‫ه‬‫ُى‬ َ‫ك‬ِ‫ئ‬َ‫ل‬‫هو‬‫أ‬َ‫ف‬ُ َ‫ك‬ِ‫ل‬َ‫ذ‬َُ‫د‬ْ‫ع‬َ‫ب‬ َُ‫ن‬‫و‬‫ه‬‫ق‬ِ‫اس‬َ‫ف‬ْ‫ل‬‫ا‬ “อัลลอฮฺทรงสัญญาไว้แก่ผู้ศรัทธาต่อพระองค์ และประพฤติปฏิบัติสิ่งดี ๆ ทั้งหลายว่า จะทรงให้ พวกเขาปกครองแผ่นดินเหมือนที่เคยทรงให้บรรดาคนก่อน ๆ ได้ปกครองมาแล้ว อีกทั้งจะทรงให้พวกเขา สามารถดาเนินชีวิตตามหลักศาสนาที่พระองค์ทรงพอพระทัย และจะทรงเปลี่ยนสภาวะที่พวกเขาอยู่กับ ความหวาดกลัว เป็นความมั่นคงปลอดภัยแทน พวกเขาสักการะต่อข้า โดยไม่ตั้งภาคีใด ๆ ต่อข้าเลย หลัก จากนั้นหากมีใครปฏิเสธข้า พวกเขาย่อมเป็นผู้ฝุาฝืน” ความศรัทธา ความศรัทธาที่แท้ต้องมาจากตื่นรู้และความเข้าใจ มิใช่ความศรัทธาที่มาจากการลอกเลียนแบบ มุสลิม จึงต้องเป็นผู้ใช้สติปัญญาเพื่อการศึกษา พินิจพิจารณาสรรพสิ่งต่าง ๆ เพื่อให้เข้าถึงการศรัทธาต่ออัลลอฮฺ อย่าง แท้จริง และจะต้องไม่เป็นมุสลิมเพียงเพราะสืบสายเลือดมาจากบิดามารดาที่เป็นมุสลิมเท่านั้น เนื่องจากการมี ชีวิตโดยไร้ศรัทธา หรือมีศรัทธาที่บางเบาฉาบฉวย จะทาให้ชีวิตเปรียบดังต้นไม้ที่ไร้รากแก้ว (ฮิบรอฮีม : 26)
  • 3. 3 ُ‫ه‬‫ل‬َ‫ث‬َ‫م‬َ‫و‬ُ‫ة‬َ‫م‬ِ‫ل‬َ‫ك‬ُ‫ة‬َ‫يث‬ِ‫ب‬َ‫خ‬ُ‫ة‬َ‫ر‬َ‫ج‬َ‫ش‬َ‫ك‬ُ‫ة‬َ‫يث‬ِ‫ب‬َ‫خ‬ُْ‫ات‬‫ث‬‫ه‬‫ت‬ْ‫اج‬‫ن‬ِ‫م‬ُِ‫ق‬ْ‫و‬َ‫ف‬ُِ‫ض‬ْ‫َر‬ْ‫اْل‬‫ا‬َ‫م‬‫ا‬َ‫ه‬َ‫ل‬‫ن‬ِ‫م‬ُ‫ار‬َ‫ر‬َ‫ق‬ “คติเลว ๆ ก็เหมือนต้นไม้เลว ๆ ซึ่งถูกถอนรากถอนโคนโดยง่าย และไร้ซึ่งความมั่นคง” สิ่งที่เราท่านทั้งหลายไม่อาจปฏิเสธได้ในวันนี้ คือ มุสลิมจานวนมากเป็นมุสลิมอยู่เฉพาะเปลือกนอก ขณะที่จิตใจถูกกระชากความศรัทธาออกไป จนมีชีวิตอยู่โดยไม่คิดสร้างความดีอะไรเพื่ออัลลอฮฺ แต่อยู่ไปเพื่อ แสวงหาความสุขบนโลกเท่านั้น ที่สุดจึงนาไปสู่การยื้อแย่งแข่งขัน และทาลายล้างกันไม่ต่างจากผู้ปฏิเสธ การประกอบกิจที่ดี สิ่งที่จะต้องอยู่คู่กับความศรัทธาอันหนักแน่น คือ การประกอบกิจการงานที่ดี ( ‫ا‬‫و‬‫عمل‬‫الصاحلات‬ ) อย่าง ต่อเนื่อง ซึ่งในยามวิกฤติเช่นปัจจุบัน กิจการที่จาเป็นต้องฟื้นฟูขึ้นอย่างเร่งด่วนในสังคมมุสลิม มีหลายหลาย ประการ อาทิ การสร้างญะมาอะฮฺที่มีความเป็นปึกแผ่น แทนความแตกแยกขัดแย้งดังที่เป็นอยู่ ทั้งนี้เพราะความแตกแยกขัดแย้งคือบ่อเกิดของความอ่อนแอใน ทุก ๆ สังคม” ดังคาเตือนจากอัลลอฮฺในซูเราะฮฺอัล อันฟาล : 46 ‫وا‬‫ه‬‫يع‬ِ‫َط‬‫أ‬َ‫و‬َُ‫و‬‫ا‬‫ل‬‫ال‬ُ‫ه‬‫و‬َ‫ل‬‫و‬‫ه‬‫س‬َ‫ر‬َ‫و‬َُ‫ال‬َ‫و‬‫وا‬‫ه‬‫ع‬َ‫از‬َ‫ن‬َ‫ت‬‫وا‬‫ه‬‫ل‬َ‫ش‬ْ‫ف‬َ‫ت‬َ‫ف‬َُ‫ب‬َ‫ى‬ْ‫ذ‬َ‫ت‬َ‫و‬ُْ‫م‬‫ه‬‫ك‬‫ه‬‫يح‬ِ‫ر‬ۚ‫وا‬‫ه‬‫ر‬ِ‫ب‬ْ‫اص‬َ‫و‬ُُۚ‫ا‬‫ن‬ِ‫إ‬َُ‫و‬‫ا‬‫ل‬‫ال‬َُ‫ين‬ِ‫ر‬ِ‫ب‬‫ا‬‫ا‬‫ص‬‫ُال‬َ‫ع‬َ‫م‬ “จงภักดีต่ออัลลอฮฺและศาสนทูตของพระองค์เถิด และอย่าได้ทะเลาะเบาะแว้งกัน เพราะจะทาให้ พวกเจ้าล้มเหลว และความเข้มแข็งจะหายไป จงอดทนเถิด แท้จริงอัลลอฮฺทรงอยู่กับผู้อดทน” เพื่อให้เกิดความเป็นญะมาอะฮฺอย่างแท้จริง มุสลิมจาเป็นต้องเคารพเชื่อฟังต่อผู้นาของตน ในทุกเรื่อง ที่ไม่ใช่การทรยศเนรคุณต่ออัลลอฮฺพระผู้เป็นเจ้า และไม่นาประเด็นปัญหาปลีกย่อยทางศาสนา มาเป็นชนวน สร้างความแตกแยกในสังคม ทั้งนี้เพราะความแตกต่างในประเด็นปลีกย่อยมีไว้เพื่อเป็นรอหฺมะฮฺ หาใช่ไว้ใช้ เสี้ยมให้เกิดความแตกแยกไม่ ท่านรอซู้ล(ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม) กล่าวไว้ว่า ‫عليكم‬ُ‫بالجماعة‬ُ‫وإياكم‬ُ‫والفرقة‬ُ‫فإن‬ُ‫الشيطان‬ُ‫مع‬ُ‫الواحد‬ُ‫وىو‬ُ‫م‬‫ن‬ُ‫االثنين‬ُ،‫أبعد‬ُ‫من‬ُ‫اد‬‫ر‬‫أ‬ُ‫بحبوحة‬ُ‫الجنة‬ُ ‫فليلزم‬ُ‫الجماعة‬ُُ(‫رواه‬ُ‫الترمدي‬ُ‫في‬ُ‫الفتن‬ُ6622ُ‫والحاكم‬ُ‫وصححو‬ُ‫على‬ُ‫شرط‬ُ‫الشيخين‬) “ท่านทั้งหลายจงยึดมั่นอยู่ในญะมาอะฮฺเถิด และจงระวังความแตกแยกให้หนัก แท้จริงซาตานจะ อยู่กับผู้แปลกแยกไปเพียงลาพัง มันจะห่างออกเมื่ออยู่ร่วมกันสองคน ผู้ใดประสงค์จะอยู่ ณ ใจกลางแห่ง สวรรค์ก็จงยึดมั่นในญะมาอะฮฺเถิด” การเป็นผู้ให้ ญะมาอะฮฺหนึ่งจะเข้มแข็งได้ นอกจากต้องเคารพเชื่อฟังผู้นาแล้ว คนในญะมาอะฮฺจะต้องรู้จักเป็นผู้ให้ และไม่เห็นแก่ตัวด้วย ความเห็นแก่ตัวทาให้ความสัมพันธ์ของคนในสังคมและแม้แต่ในครอบครัวเดียวกันเสื่อมทรามลง จึงไม่ ช่วยให้สังคมเข้มแข็งได้ ขณะที่การเป็นผู้ให้และความเสียสละจะช่วยให้ความสัมพันธ์แข็งแกร่งขึ้น และสังคม จะเข้มแข็งขึ้นด้วย ความสาเร็จจึงอยู่ที่เอาชนะความเห็นแก่ตัวให้ได้ ดังพระดารัสของอัลลอฮฺในซูรอฮฺ อัลฮัชร์: 9 ‫ن‬َ‫م‬َ‫و‬َُ‫ق‬‫و‬‫ه‬‫ي‬ُ‫ا‬‫ح‬‫ه‬‫ش‬ُِ‫و‬ِ‫س‬ْ‫ف‬َ‫ن‬َُ‫ك‬ِ‫ئ‬َ‫ل‬‫هو‬‫أ‬َ‫ف‬ُ‫ه‬‫م‬‫ه‬‫ى‬َُ‫ن‬‫و‬‫ه‬‫ح‬ِ‫ل‬ْ‫ف‬‫ه‬‫ْم‬‫ل‬‫ا‬ “ผู้ใดรักษาตนให้พ้นจากความตระหนี่เห็นแก่ตัวได้ พวกเขาก็คือ ผู้ได้รับความสาเร็จ” เป็นความสาเร็จที่ไม่ได้เกิดเฉพาะในโลกอาคิรอฮฺเท่านั้น แต่จะได้สัมผัสความสาเร็จในโลกนี้ด้วย เหมือนดังที่ชาวมุฮาญิรีนและอันศอร เคยประสบผลสาเร็จในการสร้างความแข็งแกร่งแก่นครมาดีนะฮฺมาก่อน
  • 4. 4 ความมีจิตอาสา ในที่นี้ หมายถึง จิตอาสาในการส่งเสริมความดีและยับยั้งความชั่ว เพราะสังคมที่ขาดคนต่อสู้ด้วย จิตอาสาเพื่ออัลลอฮฺ จะกลายเป็นสังคมต่างคนต่างอยู่ ตัวใครตัวมัน ซึ่งจะกลายเป็นช่องว่างกว้างใหญ่ให้ ความชั่วร้ายต่าง ๆ เข้ามาทาลายสังคมได้ โดยไร้ผู้ต่อต้านขัดขืน สังคมของประชาชาติก่อน ๆ จึงล่มสลายไปเพราะขาดคนจิตอาสานี้เอง ดังอัลลอฮฺทรงเตือนไว้ ในซูเราะฮฺฮูด : 116 َُ‫ن‬ِ‫ُم‬َ‫ن‬‫ا‬َ‫ك‬ُ‫ال‬ْ‫و‬َ‫ل‬َ‫ف‬ُُ‫ا‬َ‫ن‬ْ‫ي‬َ‫ج‬ْ‫ن‬َ‫أ‬ُْ‫ن‬‫ا‬‫م‬ِ‫يلُم‬ِ‫ل‬َ‫ق‬ُ‫ال‬ِ‫إ‬ُ ِ‫ض‬ْ‫َر‬‫ْل‬‫يُا‬ِ‫ُف‬ِ‫اد‬َ‫س‬َ‫ف‬ْ‫ل‬‫ُا‬ِ‫ن‬َ‫ُع‬َ‫ن‬ْ‫و‬َ‫ه‬ْ‫ن‬َ‫ُي‬‫ة‬‫ا‬‫ي‬ِ‫ق‬َ‫وُب‬‫ه‬‫ل‬‫هو‬‫أ‬ُْ‫م‬‫ه‬‫ك‬ِ‫ل‬ْ‫ب‬َ‫ُق‬ْ‫ن‬ِ‫ُم‬ِ‫ون‬‫ه‬‫ر‬‫ه‬‫ق‬ْ‫ل‬‫ا‬ َُ‫ين‬ِ‫م‬ِ‫ر‬ْ‫ج‬‫ه‬‫واُم‬‫ه‬‫ن‬‫ا‬َ‫ك‬َ‫ُو‬ِ‫يو‬ِ‫واُف‬‫ه‬‫ف‬ِ‫ر‬ْ‫ت‬‫ه‬‫أ‬ُ‫ا‬َ‫واُم‬‫ه‬‫م‬َ‫ل‬َ‫ظ‬َُ‫ين‬ِ‫ذ‬‫ا‬‫ل‬‫ُا‬َ‫ع‬َ‫ب‬‫ا‬‫ات‬َ‫ُو‬ْ‫م‬‫ه‬‫ه‬ْ‫ن‬ِ‫م‬ “ควรอย่างยิ่งที่ประชาชาติต่าง ๆ ก่อนหน้าพวกเจ้า จะมีผู้ทรงปัญญาที่คอยยับยั้งห้ามปรามมิให้ เกิดความเสื่อมทรามในแผ่นดิน แต่กลับไม่มี ยกเว้นบุคคลจานวนน้อย ซึ่งเราได้ช่วยให้พวกเขาเอาตัวรอด ได้ ส่วนบรรดาผู้อธรรมทั้งหลายนั้นมักเดินตามอารมณ์ที่ถูกปรนเปรอ และพวกเขาก็กลายเป็นอาชญากร” อายะฮฺนี้บอกเราว่า สาเหตุสาคัญที่ทาให้อัลลอฮฺทรงลงโทษประชาชาติหนึ่ง ๆ คือ การที่ผู้คนเอาแต่ ความสุขสบายส่วนตน ปรนเปรอชีวิตด้วยความบันเทิงเริงรมย์ต่าง ๆ ตามอารมณ์ปรารถนา จนเกิดความ เลวร้ายทั่วไป ครั้นเกิดความเลวร้ายเช่นนั้นแล้ว ก็หามีใครออกมายับยั้งห้ามปรามไม่ เพราะถือว่ามิใช่กิจของตน จนเป็นเหตุให้เกิดหายนะในที่สุด ในทางตรงกันข้าม หากเรามีจิตอาสาที่จะช่วยเหลือสังคมจริง โดยการร่วมในกิจกรรมความดี และ ช่วยกันยับยั้งความชั่วตามกาลังความสามารถ อัลลอฮฺก็จะทรงประทานความแข็งแกร่งให้ และสังคมนั้นก็จะ กลายเป็นแม่แบบของสังคมเข้มแข็งอย่างแท้จริง ดังปรากฏคายกย่องอัลลอฮฺในซูรอฮฺ อาลฮิมรอน : 110 ُْ‫م‬‫ه‬‫نت‬‫ه‬‫ك‬َُ‫ر‬ْ‫ي‬َ‫خ‬ُ‫ة‬‫ا‬‫م‬‫ه‬‫أ‬ُْ‫ت‬َ‫ج‬ِ‫ر‬ْ‫خ‬‫ه‬‫أ‬ُِ‫ااس‬‫ن‬‫ل‬ِ‫ل‬َُ‫ن‬‫و‬‫ه‬‫ر‬‫ه‬‫ْم‬‫أ‬َ‫ت‬ُِ‫وف‬‫ه‬‫ر‬ْ‫ع‬َ‫ْم‬‫ل‬‫ا‬ِ‫ب‬َُ‫ن‬ْ‫و‬َ‫ه‬ْ‫ن‬َ‫ت‬َ‫و‬ُِ‫ن‬َ‫ع‬ُِ‫ر‬َ‫ك‬‫ن‬‫ه‬‫ْم‬‫ل‬‫ا‬َُ‫ن‬‫و‬‫ه‬‫ن‬ِ‫م‬ْ‫ؤ‬‫ه‬‫ت‬َ‫و‬ُِ‫و‬‫ا‬‫ل‬‫ال‬ِ‫ب‬ُْ‫و‬َ‫ل‬َ‫و‬َُ‫ن‬َ‫آم‬ُ‫ه‬‫ل‬ْ‫َى‬‫أ‬ ُِ‫اب‬َ‫ت‬ِ‫ْك‬‫ل‬‫ا‬َُ‫ن‬‫ا‬َ‫ك‬َ‫ل‬‫ا‬ً‫ر‬ْ‫ي‬َ‫خ‬‫م‬‫ه‬‫ه‬‫ا‬‫ل‬ُ‫ه‬‫م‬‫ه‬‫ه‬ْ‫ن‬ِّ‫م‬َُ‫ن‬‫و‬‫ه‬‫ن‬ِ‫م‬ْ‫ؤ‬‫ه‬‫ْم‬‫ل‬‫ا‬ُ‫ه‬‫ى‬‫ه‬‫ر‬َ‫ث‬ْ‫ك‬َ‫أ‬َ‫و‬ُ‫ه‬‫م‬َُ‫ن‬‫و‬‫ه‬‫ق‬ِ‫اس‬َ‫ف‬ْ‫ل‬‫ا‬ “พวกเจ้าเป็นประชาชาติอันประเสริฐสุดแล้วที่ถูกทาให้ปรากฏแก่มวลมนุษยชาติ อันเนื่องจาก พวกเจ้าส่งเสริมการทาความดี และช่วยกันยับยั้งความชั่ว โดยพวกเจ้าต่างศรัทธาต่ออัลลอฮฺ...” ดังนั้น หากวันนี้ มุสลิมเราต้องการความเข้มแข็งเพื่อที่จะไม่เป็นเหยื่อความอธรรมของใคร และ สามารถช่วยเหลือเกื้อกูลผู้อ่อนแอทั้งหลายได้ เราจะต้องฟื้นฟูความแข็งแกร่งของเรากลับมา ผ่านกระบวนการ สาคัญทั้งสองอย่างนี้ ُ(‫آمنوا‬ُُ‫وعملوا‬ُُ‫الصالحات‬ُ) หาไม่แล้ว นอกจากเราจะไม่สามารถช่วยเหลือใครได้ เรายัง จะตกเป็นเหยื่อของการกดขี่ ทาลาย และการบีบคั้นต่าง ๆ จนอาจไม่เหลือความดีใด ๆ ไว้อีกด้วย ُ‫ه‬‫ل‬ْ‫و‬‫ه‬‫َق‬‫أ‬ُْ‫ي‬ِ‫ل‬ْ‫و‬َ‫ق‬‫ا‬َ‫ذ‬َ‫ى‬َُ‫الل‬‫ه‬‫ر‬ِ‫ف‬ْ‫غ‬َ‫ت‬ْ‫َس‬‫أ‬َ‫و‬َُ‫م‬ْ‫ي‬ِ‫ظ‬َ‫ْع‬‫ل‬‫ا‬ُْ‫ي‬ِ‫ل‬ُْ‫م‬‫ه‬‫ك‬َ‫ل‬َ‫و‬َُ‫ن‬ْ‫ي‬ِ‫م‬ِ‫ل‬ْ‫س‬‫ه‬‫ْم‬‫ل‬‫ا‬ِ‫ر‬ِ‫ائ‬َ‫س‬ِ‫ل‬َ‫و‬ُِ‫ات‬َ‫م‬ِ‫ل‬ْ‫س‬‫ه‬‫ْم‬‫ل‬‫ا‬َ‫و‬َُ‫ن‬ْ‫ي‬ِ‫ن‬ِ‫م‬ْ‫ؤ‬‫ه‬‫ْم‬‫ل‬‫ا‬َ‫و‬ُُِ‫ات‬َ‫ن‬ِ‫م‬ْ‫ؤ‬‫ه‬‫ْم‬‫ل‬‫ا‬َ‫و‬ ُ‫ه‬‫ه‬ْ‫و‬‫ه‬‫ر‬ِ‫ف‬ْ‫غ‬َ‫ت‬ْ‫اس‬َ‫ف‬ُ‫ه‬‫و‬‫ا‬‫ن‬‫ا‬ ِِ‫و‬‫ه‬‫ى‬‫ر‬ْ‫و‬‫ه‬‫ف‬َ‫غ‬ْ‫ل‬‫ا‬ َُِ‫ه‬‫م‬ْ‫ي‬ِ‫ح‬‫ا‬‫ر‬‫ال‬ ‫ه‬ِ