SlideShare a Scribd company logo
ลักษณะที่สำคัญของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์มีลักษณะที่สำคัญดังนี้
1.ทำงำนด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (electronicmachine)
คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในกำรบันทึกข้อมูล
ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์กำรจัดเก็บข้อมูลที่บันทึกผ่ำนทำง
แป้ นพิมพ์์ หรืออุปกรณ์อื่นๆข้อมูลเหล่ำนี้จะถูกแปลงให้เป็น
สัญญำณไฟฟ้ ำ เพื่อให้คอมพิวเตอร์์์เข้ำใจ และสำมำรถประมวลผลได้
และเมื่อคอมพิวเตอร์ประมวลผลเรียบร้อยแล้วข้อมูลที่เป็น
สัญญำณไฟฟ้ ำ จะถูกแปลงกลับให้เป็นรูปแบบที่มนุษย์สำมำรถเข้ำใจ
ได้
2. กำรทำงำนด้วยควำมเร็วสูง (speed) เนื่องจำกกำรทำงำน
ของคอมพิวเตอร์เป็นระบบอิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้นกำรดำเนินงำนต่ำงๆ
จึงสำมำรถกระทำได้อย่ำงรวดเร็ว (มำกกว่ำพันล้ำนคำสั่งในหนึ่ง
วินำที)
3. ควำมถูกต้องแม่นยำเชื่อถือได้ (accuracy and reliability)
คอมพิวเตอร์จะทำงำนตำมคำสั่งที่มนุษย์เขียนโปรแกรมหรือคำสั่งไว้
ถ้ำผู้ใช้ป้ อนข้อมูลและชุดคำสั่งมีควำมถูกต้องผลลัพธ์ที่ได้จำกกำร
ประมวลผลก็จะมีควำมถูกต้องเชื่อถือได้
4. กำรเก็บข้อมูลได้ในปริมำณมำก (storage) คอมพิวเตอร์มี
หน่วยควำมจำที่ทำหน้ำที่เก็บข้อมูลที่บันทึกเข้ำไปควำมสำมำรถใน
กำรจัดเก็บข้อมูลนี้จะขึ้นอยู่กับขนำดของคอมพิวเตอร์ เช่น เครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันจะมีหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
ที่สำมำรถบันทึกข้อมูลได้มำกกว่ำหนึ่งล้ำนตัวอักษร
5. กำรสื่อสำรเชื่อมโยงข้อมูล (communication)
คอมพิวเตอร์สำมำรถติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ
และสำมำรถทำงำนที่หลำกหลำยมำกขึ้นกว่ำกำรใช้
คอมพิวเตอร์แบบระบบเดี่ยว
ควำมหมำยของคอมพิวเตอร์
เป็นเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกสร้ำงขึ้นเพื่อใช้ทำงำน
แทนมนุษย์ในด้ำนกำรคิดคำนวณและสำมำรถจำข้อมูลทั้งตัวเลข
และตัวอักษรได้เพื่อกำรเรียกใช้งำนในครั้งต่อไปนอกจำกนี้ยัง
สำมำรถจัดกำรกับสัญลักษณ์ ได้ด้วยควำมเร็วสูงโดยปฏิบัติตำม
ขั้นตอนของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ยังมีควำมสำมำรถในด้ำนต่ำงๆ
อีกมำกอำทิเช่นกำรเปรียบเทียบทำงตรรกศำสตร์กำรรับส่งข้อมูล
กำรจัดเก็บข้อมูลในตัวเครื่องและสำมำรถประมวลผลจำกข้อมูล
ต่ำงๆ
โดยคุณสมบัติที่สำคัญของคอมพิวเตอร์คือสำมำรถกำหนด
โปรแกรมคำสั่งล่วงหน้ำได้และจะต้องมีส่วนประกอบพื้นฐำน
ได้ 4ประกำร ดังนี้
1) มีวงจรข้อมูลนำเข้ำ (Input) และวงจรข้อมูลส่งออก (Output)
2) มีหน่วยประมวลผลกลำง (Central Processing Unit: CPU)
3) มีหน่วยควำมจำเพื่อใช้ในกำรเก็บโปรแกรมคำสั่งและข้อมูลต่ำงๆ
4) มีควำมสำมำรถประมวลผลชุดโปรแกรมคำสั่ง
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้มีกำรพัฒนำอย่ำงต่อเนื่อง ซึ่งสำมำรถแบ่ง
กำรพัฒนำคอมพิวเตอร์จำกอดีตถึงปัจจุบันได้ 5 ยุค ดังนี้
1) คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 (First Generation Computer ค.ศ. 1951 -1958)
- ลักษณะตัวเครื่อง มีขนำดใหญ่ ใช้ไฟฟ้ ำแรงสูง กำรทำงำนของเครื่องทำให้
เกิดควำมร้อนสูงจำเป็นต้องติดตั้งในห้องปรับอำกำศตลอดเวลำ
- ใช้วงจรอิเล็กทรอนิกส์ และหลอดสุญญำกำศ
- มีหน่วยควำมเร็วกำรทำงำนเป็น Second
- สื่อข้อมูล ใช้บัตรเจำะรู
- ภำษำคอมพิวเตอร์ ใช้ภำษำเครื่อง (Machine Language) และ
ภำษำแอสเซมบลี (Assembly)
- ตัวอย่ำงเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้เช่น UNIVAC1
รูปแสดงลักษณะของหลอดสุญญำกำศ
2) คอมพิวเตอร์ยุคที 2 (Second Generation Computer
ค.ศ. 1959 -1964)
- ลักษณะตัวเครื่อง มีขนำดเล็กลง กำรทำงำนของเครื่องจึงเกิดควำมร้อน
น้อยลง
- ใช้หลอดทรำนซิสเตอร์แทนหลอดสุญญำกำศ และมีวงแหวนแม่เหล็ก
(Magnetic Core) เป็นหน่วยควำมจำภำยใน
- มีหน่วยควำมเร็วกำรทำงำนเป็น Millisecond
- สื่อข้อมูล ใช้บัตรเจำะรู และเทปแม่เหล็ก
- ภำษำคอมพิวเตอร์ ใช้ภำษำสัญลักษณ์
(Symbolic Language) และภำษำฟอร์แทรน (Fortran)
- ตัวอย่ำงเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้เช่น
IBM1620 IBM1401 CDC1604 และ NCR315
รูปแสดงลักษณะของหลอดทรำนซิสเตอร์
3) คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 (Third Generation
Computer ค.ศ. 1965 - 1971)
- ลักษณะตัวเครื่อง มีขนำดเล็กลง
- ใช้ไอซี (Integrated Circuit)
- มีหน่วยควำมเร็วกำรทำงำนเป็น Microsecond
- สื่อข้อมูล ใช้บัตรเจำะรู เทปแม่เหล็ก
และจำนแม่เหล็ก
- ภำษำคอมพิวเตอร์ ใช้ภำษำโคบอล (Cobol Language)
และภำษำพีแอลวัน (PL/1)
- ตัวอย่ำงเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้เช่น IBM360 CDC3300
NCR395 และ UNIVAC9400
รูปแสดงลักษณะของไอซี (IntegratedCircuit)
4) คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4 (Forth Generation
Computer ค.ศ. 1972 -1980)
- ลักษณะตัวเครื่อง มีขนำดเล็ก
- มีเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์เกิดขึ้น
- ใช้วงจรรวมขนำดใหญ่ เรียกว่ำ LSI (Large
Scale Integrated)
- มีหน่วยควำมเร็วกำรทำงำนเป็น Nanosecond
- สื่อข้อมูล ใช้เทปแม่เหล็ก จำนแม่เหล็ก
- ภำษำคอมพิวเตอร์ ใช้ภำษำเบสิก ภำษำปำสคำล และภำษำซี
- ตัวอย่ำงเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้เซ่น IBM370 IBM3033
CDC7600 UNIVAC9700 และ IBM PC
รูปแสดงวงจรรวมขนำดใหญ่ เรียกว่ำ LSI (Large Scale Integrated)
5) คอมพิวเตอร์ยุคที 5 (Fifth GenerationComputer ค.ศ. 1981 -
ปัจจุบัน)
- มีกำรใช้คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในกำรจัดกำร และสนับสนุนกำรตัดสินใจ
ของผู้บริหำรมำกขึ้น ทำให้มีระบบงำนใหม่ๆ เกิดขึ้น เช่น
- ระบบสำรสนเทศเพื่อกำรจัดกำร
(Management Information System: MIS)
- ระบบสนับสนุนกำรตัดสินใจ
|(Decision Support System: DSS)
- ระบบสำนักงำนอัตโนมัติ
(Office Automation System: OAS)
- มีกำรใช้ระบบฐำนข้อมูล ซึ่งเป็นระบบกำรจัดเก็บข้อมูล
ข่ำวสำรไว้ในที่เดียวกัน
- มีกำรเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ถึงกัน
เป็นเครือข่ำย เช่น เครือข่ำย LAN
เครือข่ำย Internet
- มีกำรใช้คอมพิวเตอร์ทำงำนในด้ำนกรำฟิก
- มีวิธีกำรใหม่ๆในกำรเขียนโปรแกรมคำสั่ง
เช่น กำรเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented)
ซึ่งภำษำคอมพิวเตอร์ที่ใช้ คือ Smalltalkและ C+ +
คอมพิวเตอร์มีมำกมำยหลำยประเภทด้วยกัน แต่ละประเภทมีวิธีกำรใช้งำน ระบบ
กำรทำงำน และกำรอำนวยควำมสะดวกต่ำงกัน ซึ่งประเภทของคอมพิวเตอร์
สำมำรถแบ่งได้ตำมหลักกำรแบ่ง ต่ำงๆ ดังนี้
1. คอมพิวเตอร์แบ่งตำมลักษณะของข้อมูล สำมำรถแบ่งได้ 3 ประเภท ดังนี้
1) คอมพิวเตอร์แบบอนำล็อก (Analog Computer)
เป็นคอมพิวเตอร์ที่ทำงำนโดยใช้หลักกำรวัดปริมำณของข้อมูล รับข้อมูล
นำเข้ำในลักษณะที่มีค่ำต่อเนื่องและผลลัพธ์ที่ได้อยู่ในรูปของกำรวัดและ
เปรียบเทียบค่ำต่ำง ๆ ตัวอย่ำงเช่น คอมพิวเตอร์ที่ใช้ตรวจวัดคลื่นสมอง
3) คอมพิวเตอร์แบบไฮบริด (Hybrid Computer)
เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้เทคนิคและส่วนประกอบของอนำล็อกและ
ดิจิตอลผสมกัน ดังนั้นในคอมพิวเตอร์ประเภทนี้จำเป็นต้องมีอุปกรณ์แปลง
สัญญำณอนำล็อกให้เป็นสัญญำณดิจิตอลและอุปกรณ์แปลงสัญญำณ
ดิจิตอลให้เป็นสัญญำณอนำล็อก โดยมีตัวประสำนงำนเรียกว่ำ Hybrid
Interface เป็นตัวควบคุมสัญญำณทั้งสองนี้ตัวอย่ำงเช่น คอมพิวเตอร์ที่ใช้
ควบคุมกำรเดินทำงของยำนอวกำศ
2) คอมพิวเตอร์แบบดิจิตอล (Digital Computer)
เป็นคอมพิวเตอร์ที่ทำงำนโดยใช้หลักกำรรับ/ส่งข้อมูลในลักษณะ
ของตัวเลข ผลลัพธ์ที่ได้ มีควำมแม่นยำกว่ำคอมพิวเตอร์แบบอนำล็อก เก็บ
ข้อมูลได้ในปริมำณมำก ๆ และสำมำรถประมวลผล ได้อย่ำงรวดเร็ว
ตัวอย่ำงเช่น คอมพิวเตอร์ที่ใช้งำนตำมองค์กรต่ำง ๆ
2.คอมพิวเตอร์แบ่งตำมวัตถุประสงค์กำรใช้งำน สำมำรถแบ่งได้ 2
ประเภท คือ
1) คอมพิวเตอร์แบบทั่วไป (GeneralPurpose Computer)
เป็นคอมพิวเตอร์ที่สำมำรถใช้ได้กับงำนหลำย ๆ ประเภท และ
หลำยภำษำ เช่น งำนวิจัย งำนบัญชี เป็นต้น
2) คอมพิวเตอร์แบบเฉพำะกิจ (Special Purpose Computer)
เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ได้กับงำนเฉพำะอย่ำง ประเภทใด
ประเภทหนึ่งเท่ำนั้น เช่น คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในกำรตรวจโรคตำม
โรงพยำบำล
3.คอมพิวเตอร์แบ่งตำมขนำดและรำคำของเครื่อง สำมำรถแบ่งได้ 4
ประเภท คือ
1) ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer)
เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนำดใหญ่ที่สุด สำมำรถทำงำนได้อย่ำง
รวดเร็วและมีประสิทธิภำพสูงนิยม นำมำใช้ในงำนที่มีกำรคำนวณซับซ้อน
ตัวอย่ำงเช่น
-เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในกำรพยำกรณ์อำกำศ
ทั่วโลก
-เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงำนวิจัยทำงด้ำน
อำวุธยุทโธปกรณ์
2) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)
เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนำดรองลงมำ นิยมนำมำใช้งำนในองค์กร
ธุรกิจ และหน่วยงำนใหญ่ ๆ เพรำะเป็นคอมพิวเตอร์ที่ทำงำนได้อย่ำงรวดเร็ว
สำมำรถเก็บข้อมูลข่ำวสำรในปริมำณมำกๆได้ และสำมำรถเชื่อมโยงกับ
เทอร์มินัลได้หลำยๆ เครื่อง ตัวอย่ำงเช่น คอมพิวเตอร์ที่ใช้กับงำนธนำคำร
นอกจำกทำกำรประมวลผลข้อมูลในธนำคำรแล้ว ยังสำมำรถควบคุมกำรใช้
เครื่องเอทีเอ็มตำมสถำนที่ต่ำงๆ อีกด้วย
3) มินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer)
เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีลักษณะกำรทำงำนคล้ำยกับ
เครื่องเมนเฟรม แต่มีขนำดเล็กกว่ำควำมเร็วในกำรทำงำนและ
รำคำต่ำกว่ำ นิยมนำมำใช้งำนในองค์กรธุรกิจขนำดกลำง
4) ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer)
ไมโครคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนำดเล็ก บำงคนเห็น
ว่ำเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งำนส่วนบุคคล หรือเรียกว่ำ พีซี (Personal
Computer: PC) สำมำรถใช้เป็นเครื่องต่อเชื่อมในเครือข่ำย หรือใช้เป็นเครื่อง
ปลำยทำง (Terminal) ซึ่งอำจจะทำหน้ำที่เป็นเพียงอุปกรณ์รับและแสดงผล
สำหรับโอนข้อมูลและดูผลลัพธ์โดยดำเนินกำรประมวลผลบนเครื่องอื่นใน
เครือข่ำย
อำจจะกล่ำวได้ว่ำไมโครคอมพิวเตอร์ คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วย
ประมวลผลกลำงเป็นไมโครโปรเซสเซอร์ ใช้งำนง่ำยทำงำนในลักษณะส่วน
บุคคลได้
สำมำรถแบ่งแยกไมโครคอมพิวเตอร์ ตำมขนำดของเครื่องได้ ดังนี้
คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (Desktop Computer) เป็น
ไมโครคอมพิวเตอร์ที่มีขนำดเล็กถูกออกแบบมำให้ตั้งบนโต๊ะ มีกำรแยกชิ้นส่วน
ประกอบเป็น ซีพียู จอภำพ และแผงแป้ นอักขระ
รูปแสดงเครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ
แล็ปท็อปคอมพิวเตอร์ (LaptopComputer) เป็น
ไมโครคอมพิวเตอร์ขนำดเล็กที่วำงใช้งำนบนตักได้ จอภำพที่ใช้เป็นแบบแบน
รำบชนิดจอภำพผนึกเหลว (Liquid Crystal Display: LCD) น้ำหนักของ
เครื่องประมำณ 3-8 กิโลกรัม
รูปแสดงเครื่องแล็ปท็อปคอมพิวเตอร์
โน้ตบุ๊คคอมพิวเตอร์(Notebook Computer) เป็น
ไมโครคอมพิวเตอร์ที่มีขนำดและควำมหนำมำกกว่ำแล็ปท็อป น้ำหนัก
ประมำณ 1.5 – 3 กิโลกรัม จอภำพแสดงผลเป็นแบบรำบชนิดมีทั้งแบบ
แสดงผลสีเดียว หรือแบบหลำยสี โน้ตบุ๊คที่มีขำยทั่วไปมีประสิทธิภำพและ
ควำมสำมำรถเหมือนกับแล็ปท็อป
รูปแสดงเครื่องโน้ตบุ๊คคอมพิวเตอร์
ปำล์มท็อปคอมพิวเตอร์ (Palmtop Computer) เป็น
ไมโครคอมพิวเตอร์สำหรับทำงำนเฉพำะอย่ำง เช่นเป็นพจนำนุกรม เป็นสมุด
จดบันทึกประจำวัน บันทึกกำรนัดหมำยและกำรเก็บข้อมูลเฉพำะบำงอย่ำงที่
สำมำรถพกพำติดตัวไปมำได้สะดวก
รูปแสดงเครื่องปำล์มท็อปคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
1. ฮำร์ดแวร์ (Hardware)
หมำยถึง อุปกรณ์ต่ำงๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มี
ลักษณะเป็นโครงร่ำงสำมำรถมองเห็นด้วยตำและสัมผัสได้ (รูปธรรม)เช่น
จอภำพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมำส์ เป็นต้น ซึ่งสำมำรถแบ่งออกเป็นส่วน
ต่ำงๆ ตำมลักษณะกำรทำงำน ได้ 4 หน่วยคือ
1)หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
2)หน่วยประมวลผลกลำง (Central Processing Unit: CPU)
3)หน่วยแสดงผล (Output Unit)
4)หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage)
โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้ำที่กำรทำงำนแตกต่ำงกัน
รูปฮำร์ดแวร์ (Hardware)
2. ซอฟต์แวร์ (Software)
หมำยถึง โปรแกรม (Program) หรือชุดคำสั่งที่ควบคุมให้
เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงำนให้ได้ผลลัพธ์ตำมที่ต้องกำร ซึ่ง
คอมพิวเตอร์ฮำร์ดแวร์ที่ประกอบออกมำจำกโรงงำนจะยังไม่
สำมำรถทำงำนได้ในทันที ต้องมีซอฟต์แวร์ซึ่งเป็นโปรแกรมหรือ
ชุดคำสั่งที่สั่งให้ฮำร์ดแวร์ทำงำนตำมต้องกำรได้ โดยโปรแกรมหรือ
ชุดคำสั่งนั้นจะเขียนจำกภำษำต่ำงๆ ที่มนุษย์สร้ำงขึ้น เรียกว่ำ
ภำษำคอมพิวเตอร์ ภำษำใดภำษำหนึ่ง และมีโปรแกรมเมอร์
(Programmer) หรือนักเขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภำษำคอมพิวเตอร์
เหล่ำนั้นเขียนซอฟต์แวร์แบบต่ำงๆขึ้นมำ
รูปซอฟต์แวร์ประยุกต์ และซอฟต์แวร์ระบบ
3 บุคลำกร (Peopleware)
คือ เจ้ำหน้ำที่ปฏิบัติงำนต่ำงๆ และผู้ใช้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ในหน่วยงำนนั้นๆ บุคลำกรด้ำนคอมพิวเตอร์นั้น มี
ควำมสำคัญมำกเพรำะกำรใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงำนต่ำงๆ
นั้นจะต้องมีกำรจัดเตรียมเปลี่ยนระบบ จัดเตรียมโปรแกรม
ดำเนินกำรต่ำงๆ หลำยอย่ำง ซึ่งไม่สำมำรถทำด้วยตัวเองได้ ถ้ำ
หำกไม่ใช่ผู้ที่รู้เรื่องคอมพิวเตอร์มำกนัก เรำจึงถือว่ำบุคลำกร เป็น
ส่วนประกอบที่สำคัญของ ระบบคอมพิวเตอร์ด้วย
ซึ่งสำมำรถแบ่งบุคลำกรตำมหน้ำที่เกี่ยวข้องตำมลักษณะ
งำนได้ 4 ด้ำน ดังนี้
3.1 ผู้จัดกำรระบบ (System Manager)
คือผู้วำงนโยบำยกำรใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตำมเป้ ำหมำยของ
หน่วยงำนเป็นผู้ที่มีควำมหมำยต่อควำมสำเร็จ หรือล้มเหลวของกำร
นำระบบคอมพิวเตอร์เข้ำมำใช้งำนเป็นอย่ำงมำก
3.2 นักวิเครำะห์และออกแบบระบบ (Systems
Analyst and Designer: SA) ทำหน้ำที่ศึกษำและรวบรวม
ควำมต้องกำรของผู้ใช้ระบบ และทำหน้ำที่เป็นสื่อกลำง
ระหว่ำงผู้ใช้ระบบและนักเขียนโปรแกรม (Programmer)
หรือปรับปรุงคุณภำพงำนเดิม นักวิเครำะห์ระบบต้องมีควำมรู้
เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ พื้นฐำนกำรเขียนโปรแกรม
และควรจะเป็นผู้มีควำมคิดริเริ่มสร้ำงสรรค์
มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี
3.3 โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือบุคคลที่ทำหน้ำที่
เขียนซอฟต์แวร์ต่ำงๆ (Software) หรือเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งงำน
ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงำนตำมควำมต้องกำรของผู้ใช้ โดยเขียน
ตำมแผนผังที่นักวิเครำะห์ระบบได้เขียนไว้
3.4 ผู้ใช้ (User) เป็นผู้ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะเป็นผู้
ปฏิบัติหรือกำหนดควำมต้องกำรในกำรใช้ระบบคอมพิวเตอร์ว่ำ
ทำงำนอะไรได้บ้ำง ผู้ใช้งำนคอมพิวเตอร์ทั่วไปจะต้องเรียนรู้
วิธีกำรใช้เครื่อง และวิธีกำรใช้งำนโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่
สำมำรถทำงำนได้ตำมที่ต้องกำร
4.ข้อมูล (Data)
ข้อมูลเป็นองค์ประกอบที่สำคัญอย่ำงหนึ่งในระบบ
คอมพิวเตอร์ เป็นสิ่งที่ต้องป้ อนเข้ำไปในคอมพิวเตอร์ พร้อมกับ
โปรแกรมที่นักคอมพิวเตอร์เขียนขึ้นเพื่อผลิตผลลัพธ์ที่ต้องกำร
ออกมำ ข้อมูลที่สำมำรถนำมำใช้กับคอมพิวเตอร์ได้ มี 5 ประเภท
คือ ข้อมูลตัวเลข (Numeric Data)
ข้อมูลตัวอักษร (Text Data)
ข้อมูลเสียง (Audio Data)
ข้อมูลภำพ (Images Data)
และข้อมูลภำพเคลื่อนไหว (Video Data)
5. กระบวนกำรทำงำน (Documentation/Procedure)
เป็นขั้นตอนกำรทำงำนเพื่อให้ได้
ผลลัพธ์หรือข้อสนเทศจำกคอมพิวเตอร์
ในกำรทำงำนกับคอมพิวเตอร์จำเป็นที่จะต้องให้ผู้ใช้
เข้ำใจขั้นตอนกำรทำงำนต้องมีระเบียบปฏิบัติให้เป็นแบบเดียวกัน
มีกำรจัดทำคู่มือกำรใช้คอมพิวเตอร์ให้ทุกคนเรียนรู้และใช้อ้ำงอิงได้
นอกจำกนั้นเมื่อกำรใช้มำตรฐำนช่วยให้กำรประสำนงำนระหว่ำง
หน่วยงำนย่อยๆ รำบรื่น กำรจัดซื้อ จัดหำ ตลอดจนกำรบำรุงรักษำ
เครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ก็จะง่ำยขึ้นเพรำะทุกหน่วยงำนใช้
มำตรฐำนเดียวกัน

More Related Content

What's hot

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารsupatra2011
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
พัน พัน
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Orapan Chamnan
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Kriangx Ch
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Arrat Krupeach
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์supatra2011
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Wanphen Wirojcharoenwong
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Kainuy Supranee Thiabpo
 

What's hot (16)

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
computer
computercomputer
computer
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
Ch1 com tech
Ch1 com techCh1 com tech
Ch1 com tech
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Computer2
Computer2Computer2
Computer2
 
Com
ComCom
Com
 

Similar to บทที่ 1

ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์sommat
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์Nantawoot Imjit
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์runjaun
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1Oat_zestful
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์kachornchit_maprang
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์kachornchit_maprang
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์kachornchit_maprang
 
computer
computercomputer
Week01
Week01Week01
Week01
tree653
 
Week01
Week01Week01
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์deepre
 
Intro computer
Intro computerIntro computer
Intro computer
chalermsri1
 
Week01
Week01Week01
Week01
tree653
 

Similar to บทที่ 1 (20)

introduction to computer
introduction to computerintroduction to computer
introduction to computer
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
computer
computercomputer
computer
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week02
Week02Week02
Week02
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Intro computer
Intro computerIntro computer
Intro computer
 
Week01
Week01Week01
Week01
 

More from Nu Mai Praphatson

การจัดการอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล
การจัดการอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลการจัดการอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล
การจัดการอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล
Nu Mai Praphatson
 
B1
B1B1
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสการติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
Nu Mai Praphatson
 
การจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซสการจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซส
Nu Mai Praphatson
 
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
Nu Mai Praphatson
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
Nu Mai Praphatson
 

More from Nu Mai Praphatson (13)

การจัดการอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล
การจัดการอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลการจัดการอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล
การจัดการอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล
 
B7
B7B7
B7
 
B7
B7B7
B7
 
B6
B6B6
B6
 
B5
B5B5
B5
 
B4
B4B4
B4
 
B3
B3B3
B3
 
B2
B2B2
B2
 
B1
B1B1
B1
 
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสการติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
 
การจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซสการจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซส
 
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 

บทที่ 1