SlideShare a Scribd company logo
วิช าสัม มนากฏหมายและนโยบายของรัฐ เกี่ย วกับ คนพิก าร
(น.279)
โดย รองศาสตราจารย์.วิร ิย ะ
นามศิร พ งษ์พ น ธุ์
ิ
ั
ภาค 1 แนวนโยบายแห่ง รัฐ เกี่ย วกับ คนพิก าร
บทที่ 1 หลัก ปรัช ญาความเชือ และผลการทบ
่
1.หลัก ปรัช ญาความเชื่อ ดัง เดิม กับ ผลกระทบ
่

คนไทยก็ไม่ได้แตกต่างไปจากคนอื่นแต่ไหนแต่ไรมาคนไทยมีความ
เชื่อว่าคนพิการ ไม่มีความสามารถ ทำาอะไรไม่ได้ และเชื่อว่าความพิการ
เป็นสัญญาลักษณ์ของสิ่งที่เลวร้าย หรือสิ่งที่ไม่ดี เป็นการลงโทษบุคคลที่
กระทำาบาป คนพิการเป็นคนที่น่าสงสาร การให้คนพิการทำางานหนักถือ
เป็นการสร้างเวรกรรมเพราะเป็นการซำ้าเติมคนพิการให้ทุกข์ทรมานมากยิ่ง
ขึ้น ความเชื่อเหล่านี้มีผลกระทบต่อคนพิการไปในทางลบอย่างมหาศาล
เปรียบได้กับบาปกำาเกิดที่คนพิการทุกคนที่เกิดม่า ทุกยุก ทุกสมัย ต้องก้ม
หน้าก้มตา รับผลร้ายที่สังคมหยิบยื่นให้ เพราะความเชื่อดังกล่าว
บิดามารดาของเด็กพิการที่มีความเชื่อดั่งเดิมข้างต้น จะไม่คิดที่จะ
กระตุ้นพัฒนาพัฒนาลูกของตนให้มีพัฒนาการให้เหมือนเด็กทั่วไป ไม่คิกที่
จะฝึกฝนให้เด็กพิการทำาสิ่งต่างๆไปตามยถากรรม เด้กตาบอดบางคนพ่อแม่
ได้แต่อุ้มเอาไว้ด้วยความสงสาร ทำาให้เด็กตาบอดนั้นแม้โต 4-5 ขวบแล้วก็
ยังเดินไม่ได้ เด็กพิการทางแขนขา ลำาตัว เล็กน้อย เมื่อถูกทิ้งไว้เฉยๆ ก็
ทำาให้มีความพิการมากยิ่งขึ้น ถ้าหาดเด็กพิการเหล่านี้ ได้รับการกระตุ้
นพัฒนาของกล้ามเนื้อ เด็กก็อาจจะเดินได้ แต่เมื่อไม่ได้รับการดูแลก็ทำาให้
กล้ามเนื้อนั้นไม่ได้พัฒนา มำาให้ไม่สามารถเดินได้ ครอบครัวที่เด็กพิการก็
กลัวว่า คนอื่นจะตำาหนิว่าเป็นครอบครัวของคนบาป ครอบครัวเหล่านั้นก็
จะซุกตัวเด็กเอาไว้แต่ในบ้าน หรือขายเด็กให้กับแก๊งขอขอทาน เช่น กรณี
ของนายประหยัด ภูหนองโอง 1 หรือนำาไปทิ้งลงเหว อย่างในกรณี นาย
จังสี่ แสนจัง 2 หรือนำาไปทิ้งเพื่อให้คนอื่นรับไปเลี้ยงดูอย่างกรณีของ
นายพงศ์ศิลป์ ชัยศิลป์ 3 และไม่มี่ความคิดที่ให้ลูกเรียนหนังสือ ดังจะเห็น
ได้จากในสมัยที่ มีสเจนนีวีฟ คอลฟิลด์ มาก่อตั้งโรงเรียนคนตาบอด ในปี
พ.ศ. 2482 นั้น ไม่มีพ่อแม่เด็กตาบอดคนใดที่สนใจให้ลูกหลานของตนมา
เรียนที่โรงเรียนสอนคนตาบอดเพราะคิดว่าเรียนไม่ได้ ท่านต้องให้วธีจ้าง
ิ
เด็กมาเรียน หรือเชิญชวนเด็กตาบอดที่ถูกทอดทิ้งอยู่ตามถนนมาเรียน
หนังสือแทน
นายประหยัด ภูหนองโอง บิดามารดา จะขายให้กับแก๊งขอทาน แต่พี่สาวขอเอา
ไว้และหาที่เรียนหนังสือ ปัจจุบัน นายประหยัด ภูหนองโอง เป็นผู้ก่อตั้งมูลนิธิ
ธรรมมิกชนเพื่อคนตาบอดในประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งมีโรงเรียน
สอนคนตาบอด และศูนย์สงเคราะห์เด็กตาบอดพิการซำ้าซ้อน อยู่ในการดูแลถึง 6
แห่ง (ขอนแก่น ร้อยเอ็ด นครราชสีมา กรุงเทพฯ ลพบุรี ลำาปาง)
2
นายจังสี่ แสนจัง เป็นเด็กตาบอด พ่อแม่มีความคิดว่า ขนาดตนเองไม่พิการก็ยัง
ยากลำาบาก จึงคิดต่อไปว่าลูกที่ตาบอดคงยากลำาบากกว่าตนหลายเท่า เพื่อไม่ให่
1
ลูกต้องต้องยากลำาบาก พ่อแม่จึงนำาไปผลักลงเหวทิ้ง แต่นายจังสี่ไม่ถึงแก่ความ
ตาย และได้มี มิชชันนารี มาพบและนำาไปเลี้ยงดูต่อให้ได้รับการศึกษา และฝึก
อาชีพ ปัจจุบัน นายจังสี่ เป็นเจ้าของร้านนวดแผนไทยที่จังหวัด ลำาพูน มีบ้านของ
ตัวเองและยะงสามารถส่งเสียเลี้ยงดูพ่อแม่ของตนได้
3
นายพงศ์ศิลป์ ชัยศิลป์ พ่อแม่นำามาทิ้งไว้ที่โรงเรียนสอนคคนตาบอด ปัจจุบัน
นายพงศ์ศิลป์ ชัยศิลป์ เป็นครูสอนดนตรีที่โรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพ

ผลที่ตามมาเด็กพิการจึงมีพัฒนาการไม่ว่าในว่าในทางสมอง ในทางราง
กาย ที่ตำ่า หรือช้ากว่าเด็กทั่วไปอย่างมาก เพราะการเพิ่มของเซลล์สมอง
และการเชื่อมโยงของโครงข่ายของระบบประสาทต่างๆ จะมีมากทีสุดใน
ช่วง 1-7 ปี ดังนั้นโครงสร้างสมองและร่างกายของเด็กพิการ จึงตกเป็น
รองของเด็กทั่วไปอย่างมากเนื่องจากความเชื่อดั่งเดิมดังกล่าวนั่นเอง
ผู้บริหารสถานศึกษาและครูอาจารย์ที่มีความเชื่อดั่งเดิมข้างต้น จะ
ปฏิเสธไม่รับคนพิการเข้าศึกษาหรือฝึกอาชีพแต่ไหนแต่ไรมาผู้บริหารและ
ครูโรงเรียนต่างๆ มัก มีความเข้าใจว่า แม้คนปกติจำานวนมาก ก็ยังไม่มีที่
เรียนหรือฝึกอาชีพเลย คนพิการเรียนหนังสือไปก็หาประโยชน์มิได้ อีกทั้ง
การสอนเด็กพิการยุ่งยากกว่าเด็กทั่วไป และตนเองไม่รู้เรื่องการสอนเด็ก
พิการ ไม่มีความพร้อมที่จะสอนเด็กพิการได้ จึงไม่มีเหตุผลที่จะรับเด็ก
พิการเข้าเรียน เหตุผลนี้ยังมีใช้อยู่จนถึงปัจจุบัน อีกทั้งมี พ.ร.บ. การ
ประถมศึกษา พ.ศ. 2478 มาตรา 114 หรือในช่วงต่อมาก็มี พ.ร.บ. การ
ประถมศึกษา พ.ศ. 2523 ในมาตรา 85 เมื่อมีข้อกำาหนดยกเว้นให้ พ่อแม่
ไม่มีความกรณีไม่ให้เด็กพิกการเรียนหนังหนังสือ ผู้บริหารโรงเรียนจึงมัก
อ้างกฏหมายนี้ เกลี่ยกล่อมให้ผู้ปกครองเซ็นยินยอมที่จะไม่เอาเด็กพิการไป
เรียน เพื่อผู้ปกครองจะไม่มีความผิด และผู้บริหารโรงเรียนจะไม่ถูกตำาหนิ
ว่าไม่ยอมรับเด็กพิการเข้าเรียน ในสมัยที่นายวิริยะ นามศิริพงศ์พันธุ์และ
เพื่อน จบมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในปี พ.ศ. 2513 โรงเรียนรัฐบาลต่างๆที่ไป
ติดต่อก็ไม่ยอมรับ โดยอ้างว่าไม่พร้อมจะรับเด็กพิการมีแต่โรงเรียนอัศศัม
ชันบางรักที่ยอมรับ แต่กำาหนดคะแนนว่าต้องสอบได้ 80 คะแนนขึ้นไป
และมีโรงเรียนสตรีประเทืองวิทย์อีกแห่งหนึ่งที่ยอมรับสตรีตาบอดเข้าเรียน
อีก 1 คน จึงมีผลให้คนตาบอดเรียนต่อในระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ได้
แค่เพียง 3 คน ในปี พ.ศ. 2515 คนตาบอดทั้ง 3 สามารถสอบผ่านข้อ
เขียน เข้าเรียนต่อในระดับอุดมศึกษา คือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยศิลปากร(ทับแก้ว) ได้ แต่ผู้
บริหารวิทยาลัยศิลปากร(ทับแก้ว)ในขณะนั้น ได้ให้นางสาวประยงค์
โสตถิเศรษฐ์ สอบตกสัมภาษณ์ เพราะเกรงว่าจะไปเตะกระจกของอาคาร
เรียนแตกเสียหายและจะเป็นอันตรายแก่คนตาบอดเอง
ในปี พ.ศ. 2542 แม้รัฐบาลได้ประกาศให้เป็นปีการศึกษาสำาหรับคน
พิการ และมีนโยบายว่า “คนพิการทุกคนที่อยาดเรียนต้องได้เรียน” แต่
โรงเรียนวัดโบสถ์ ซึ่งตั้งอยู่ที่ถนนสามเสนก็ขันป้ายประกาศไม่รับคนพิการ
ทุกประเภท แม้ปัจจุบัน โรงเรียนของ ก.ท.ม. ยังประกาศไม่พร้อมที่จะรับ
เด็กตาบอดเข้าเรียนร่วม เมื่อคนพิการไม่ได้รับโอกาสได้รับการศึกษา ก็
ย่อมไม่มีโอกาสในการพัฒนาความสามรถของตนให้เต็มตามศักยาภาพ
คนพิการจำานวนมาก จึงไม่มีความสามารถในการทำางานต่างๆได้ ตกเป็น
ภาระของครอบครัวและสังคมอย่างที่คนไทยเชื่อ
เจ้าของกิจการและผู้บริหารหน่วยงานของรัฐที่มีความเชื่อดั่งเดิมดัง
กล่าวจะปฏิเสธไม่จ้างแรงงานคนพิการเมื่อคนพิการไม่มีโอกาสได้รับการ
ศึกษา ก็ย่อมไม่มีความสามารถที่จะทำางานได้ ส่วนคนพิการ
มาตรา 11 นายอำาเภอมีอำานาจยกเว้นเด็กที่มีลักษนะดังต่อไปนี้ จากการเรียน
อยู่ในโรงเรียนประถมศึกษา (1) เด็กที่มี่สวนบกพร่องทางกำาลังกาย,กำาลังความ
คิดหรือเป็นโรค (2) เด็กที่อยู่ห่างจากโรงเรียนประถมศึกษาที่ให้เปล่าเกินสองพัน
เมตร หรือที่ไม่สามารถจไปถึงโรงเรียนได้ด้วยเหตุหนึ่งที่ไม่มีทางจะหลีกเลี่ยงได้
5
มาตรา 8 เมื่อผู้ปกครองร้องขอ คณะกรรมการการประถมศึกษาอำาเภอ และ
คณะกรรมการการประถมศึกษากิ่งอำาเภอ มีอำานาจยกเว้นให้เด็กซึ่งมีลักษณ์ดัง
ต่อไปนี้ ไม่ต้องเข้าเรียนในโรงเรียนประถมศึกษาได้ (1) มีความบกพร่องในทาง
ร่างกายหรือจิตใจ
4

จำานวนน้อยที่มีโอกาสได้รับการศึกษามีความสามรถที่จะทำางานได้ แต่เมื่อ
เจ้าของกิจการหรือผู้บริหารหน่วยงานราชการ รัฐวิสหกิจยังมีความเชื่อดัง
เดิมอยู่ ก็จะปฏิเสธไม่รับคนพิการเข้าทำางาน และยิ่งไปกว่านั้นก้มีกฏหมาย
เป็นจำานวนมากที่รองรับความเชื่อดั่งเดิมด้วยการกำาหนดให้คนพิการ
ทุพพลภาพขาดคุณสมบัติที่จะประกอบอาชีพต่างๆได้ เช่น พระราชบัตญัติ
ทนายความ พ.ศ. 25086, พระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.
25117, พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 24978, พระ
ราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายอัยการ พ.ศ. 25039,คนหูนวกเป็นใบ้
ห้ามสมัครรับเลือกตั้ง ดังปรากฏในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ. 2517, พ.ศ. 2534 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 พระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ.
2523 พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2497 ในส่วนของ
รัฐวิสาหกิจ เช่น ระเบียบว่าด้วยเรื่องรับสมัคร บรรจุ และให้ออกของ
พนักงานเจ้าหน้าที่ องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภันฑ์(ร.ส.พ.) พุทธศักราช
2495 (ฉบับประมวลแก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 30), ข้อบังคับว่าด้วยการแต่ง
ตั้ง ถอดถอน เลื่อน และลดขนาดเงินเดือน และกำาหนดอัตราเงินเดือน
พนักงานการท่าเรือแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2498, ข้อบังคับองค์การสุรา
ว่าด้วย ระเบียบพนักงานสุราในสังกัดองค์การสุรา พ.ศ. 2507, ข้อบังคับ
องค์การเภสัชกรรมว่าด้วย การบรรจุ การแต่งตั้ง การออกจากงาน
ระเบียบวินัย การลงโทษและการร้องทุกข์ของพนักงาน พ.ศ. 2511,
ระเบียบว่าด้วยการรับสมัครงาน ของโรงงานยาสูบ พ.ศ. 2513, ข้อบังคับ
ว่าด้วยระเบียบพนักงานองค์การคลังสินค้า (ฉบับที่9) พ.ศ. 2516, ข้อ
บังคับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคว่าด้วยระเบียบพนักงาน พ.ศ. 2517, ข้อ
บังคับการปะปานครหลวง ฉบับที่ 28 ว่าด้วยการบรรจุ การแต่งตั้งและการ
ถอดถอนพนักงาน พ.ศ. 2517 ระเบียบการธนาคารออมสิน ฉบับที่ 121
ว่าด้วย การแต่งตั้งและการถอนจากตำาแหน่งพนักงาน ธนาคารออมสิน
เป็นต้น
ผลที่ติดตามมานอกจากจะไม่มีการจ้างคนพิการในภาครัฐแล้ว
ลูกจ้างหรือข้าราชการหรือรัฐวิสาหกิจที่มาพิการภายหลังก็จะถูกให้ออก
จากงาน หรือราชการ ที่เห็นได้ชัดคือทหารผ่านศึกที่พิการ ปัจจุบัน
องค์การสงเคราะห์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ต้องจักสวัสดิการให้
ทหารที่พิการจำานวนถึง 3,348 คน 10
กรณีของ ที่ร้อยตรี สุทัศน์ ศูนย์กลาง พิการทางการมองเห็น
เนื่องจากถูกทำาลายร่างาย และต้องออกจากราชการ ในปี พ.ศ. 2510

มาตาร 5 ผู้ขอจดทะเบียนและรับใบอณุญาติเป็นทนายความชั้นหนึ่งต้องมี
คุณสมบัติ ดังต่อไปนี้.....(6) ไม่เป็นผูมีกายพิการหรือจิตบกพร่องอันเป็นเหตุให้
้
ผู้หย่อนสมรรถภาพในการประกอบอาชีพทยานความ
7
มาตรา 8 แพทยืสภาประกอบด้วยสมาชิกสองประเภทคือ (1) สมาชิกสามัญ ได่
แก่คนที่คุณสมบัติดังต่อไปนี้...(ง)...ไม่เป็นผู้มีรางกายทุพพลภาพ...
่
8
มาตรา 44 ผูสมัครเข้าเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ ...ต้องมีคุณสมบัติ
้
ดังนี้.....(4) )...ไม่เป็นผูมีร่างกายทุพพลภาพ...
้
9
มาตรา 23 ผูสมัครสอบคัดเลือกเพื่อบรรจุเป็นข้าราชการอัยการในตำาแหน่ง
้
อัยการผู้ช่วย ต้อง...(11) ไม่...มีกายทุพพลภาพหรือเป็นโรค...
10
ที่มาองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ข้อมูล ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2545
6

เห็นได้ชัดว่าความเชื่อดั่งเดิมนี้ได้สร้างบาปกำาเนิดแก่คนพิการทำาให้
คนพิการไม่อาจพัฒนาความสามารถของตนให้เต็มตามศักยภาพจน
สามารถพึ่งตนเองได้ ต้องตกเป็นภาระให้ครอบครัวหรือสังคมเลี้ยงดู และ
เป็นการตอกยำ้าความเชื่อดังเดิมให้อยู่กับคนไทยอย่างถาวร จึงไม่เป็นเรื่อง
ที่แปลกที่คนพิการจะถูกเก็บซ่อนไว้ในบ้าน หรือปล่อยให้ขอทานอยู่ตาม
ท้องถนนเมื่อปรากฏว่าท้องที่ใดการขอทานมีรายได้ค่อนข้างดีก็จะเกิดแก๊ง
ขอทานก๊งขอทานจะไปรวบรวมคนพิการเพื่อไปขอทานในจุดต่างๆ ที่สาม
รถสร้างรายได้ การขอทานได้สร้างความรำาคาญแก่ประชาชนทั่วไป จงมี
พ.ร.บ. ควบคุมขอทาน พ.ศ. 2484 ให้อำานาจเจ้าหน้าที่ของกรม
ประชาสงเคราะห์จับกุมคนขอทานไปเลี้ยงดูที่สถานสงเคราะห์ได้11 บุคคลที่
อยู่ในสถานสงเคาระห์ถือเป็นบุคคลที่เป็นภาระจึงได้รับการดูแลอย่างขอไป
ทีสำาหรับคนพิการขอทานของแก๊งขอทานจะได้การช่วยเหลือจากแก๊ง
ขอทานโดยอ้างตนว่าเป็นผู้ปกครองเด็กพิการเพื่อให้ออกมาจากสถาน
สงเคราะห์ และไปขอทานที่อื่น การขอทานตาม พ.ร.บ. ดังกล่าว กิน
ความรวมถึงการเล่นดนตรีเพื่อแลกกับเงินในที่สาธารณะด้วย 12 ทำาให้คน
ตาบอดที่เล่นดนตรีแลกกับเงินอย่างเช่น วณิพก ถูกจับในข้อหาขอทานและ
ถูกนำาไปอยู่ในสถานสงเคราะห์ ซึ่งมีคนที่เป็นโรคจิตหรือคนบ้าอยู่ปะปน
เป็นจำานวนมาก หรือเป็นคนส่วนใหญ่ในสถานสงเคราะห์ คนตาบอดที่ถูก
จับในข้อหาขอทานอย่าง นายสำาราญ เสมาทอง ได้บอกเล่าว่า ตนต้องอยู่
ร่วมกับคนบ้า ที่ร้องเสียงโหยหวนทั้งคืน ทำาให้นอนไม่หลับ อยู่ที่นั่นเพียง
3 วันก้แทบจะเสียสติไปด้วย และเชื่อว่าคนดีหลายคนต้องลายเป็นโรคจิต
หรือคนบ้าจากกการอยู่ในสถานสงเคราะห์นั้น

2.ปรัช ญาความเชือ ใหม่ก ับ ผบกระทบ
่

เพื่อแก้ปัญหาของคนพิการย่างเป็นระบบ ในอารยประเทศโดย
เฉพาะกลุ่มประเทศตะวันตกนำาหลักปรัชญาความเชื่อใหม่ที่ก่อผลกระทบต่อ
คนพิการในทางที่สร้างสรรค์เข้ามาใช้หลักปรัชญาความเชื่อใหม่ได้แก่
หลักความเชื่อในศักยภาพคนพิการ และ หลักความเชื่อและศักดิ์ศรีและ
ความเท่าเทียมกันของมนุษย์ หลักปรัชญาความเชื่อใหม่นี้จะมีผลกระทบต่อ
เส้นทางชีวิตคนพิการไปในทางที่สร้างสรรค์ช่วยให้คนพิการได้พัฒนา
ความสามารถของตนได้เต็มตามศักยภาพ จนสามารถพึ่งตนเองได้ เป็น
พลังให้กับสังคมได้และมีส่วนร่วมในการพัฒนาเศรษฐกิจและประเทศได้

2.1 หลัก ความเชือ ในศัก ยภาพของคนพิก าร
่
2.1.1 หลัก ปรัช ญาความเชื่อ ในศัก ยภาพกับ ผลกระทบ
พ.ร.บ. ควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2484 มาตรา 7 เมือปรากฏจากการ
่
สอบสวนว่า ผู้ใดทำาการขอทาน และผู้นั้นเป็นคนชลาภาพ หรือเป็นคนวิกลจริต
พิการ หรือเป็นคนมีโรค ซึงไม่สามารถ ประกอบอาชีพอย่างใดและไม่มีทางเลี้ยง
่
ชีพอย่างอื่น ทั้งไม่มีญาตมิตรอุปการะเลี้ยงดูก็ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งตัวไปยัง
สถานสงเคราะห์
12
พ.ร.บ. ควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2484 มาตรา 6 ห้ามมิให้บุคคลใด
ทำาการขอทาน การขอทรัพย์สินของผู้อื่น โดยมิได้ทำาการงานอย่างใด หรือให้
ทรัพย์สินสิ่งใดตอบแทนและมิใช่ขอกันฐานญาตมิตรนั้น ให้ถือว่าเป็นการ
ขอทาน การขับร้อง การดีดสีตีเป่า การแสดงการละเล่นต่างๆ หรือการกระทำา
อย่างอืนในทำานองเดียวกันนั้น เมือมิได้มีข้อตกลงโดยตรง หรือ โดยปริยายที่
่
่
จะเรียกเก็บค่าฟังค่าดูแต่ขอรับสินทรัพย์ตาม แต่ผู้ฟังผู้ดูจะสมัครใจให้นั้น ไม่ให่
รับฟังเป็นข้อแก้ตัวว่าไม่ได้ทำาการขอทานตามบทบัญญัตินี้
11

ปรัชญาความเชื่อของมนุษย์เป็นตัวกำาหนดพฤติกรรมของมนุษย์
มนุษย์ที่เชื่อว่าขยะเป็นสิ่งปฏิกูลที่น่ารังเกียจ มนุษย์ก็มีพฤติกรรมที่จะขจัด
ให้ขยะนั้นพ้นจากตัวไป และนำาไปทิ้งที่ของคนอื่น ขยะจึงเป็นปัญหา
ระหว่างบ้านกับบ้าน ชุมชนกับชุมชน เมืองกับเมืองมาโดยตลอด แต่มนุษย์
ที่เชื่อว่าขยะเป็นเมืองทอง มนุษย์กลุ่มหลังนี้ก็จะพยายามเอาขยะมาทำาให้
เกิดประโยชน์ ตั้งแต่มีการคัดแยกขยะขาย มีทอดผ้าป่าขยะรีไซเคิล
เป็นต้น ดังนั้นจึงเห็นได้ชัดว่าขยะของกลุมคนแรกนั้นเป็นภาระ แต่ขยะ
ของคนกลุ่มหลังเป็นเงินทอง ความแตกต่างของขยะเกิดจากความแตกต่าง
ของหลักปรัชญาความเชื่องของคน
ความพิการก็เช่นกัน ในสังคนที่เชื่อว่าคนพิการไม่มีความสามารถ
หรือมีความสามรถจำากัดความพิการเป็นที่รวมของคนชั่วร้ายการให้คน
พิการทำางานหนักเป็นการสร้างเวรกรรม ความเชื่อนี้มีผลกระทบต่อคน
พิการอย่างมากดังที่กล่าวมาแล้ว ทำาให้คนพิการต้องตกเป็นคนพิการที่ไม่มี
ความสามารถจริงๆต้องเป็นภาระของครอบครัวและสังคม ตรงกันข้าม ใน
สังคมที่เชื่อง่าคนพิการมีศักยภาพเหมือนกับบุคคลอื่น พัมนาความสามารถ
อย่างไร้ขอบเขต ทำางานได้ พึ่งตนเองได้ และเป็นพลังให้กับสังคม ความ
เชื่อมีผลกระกระทบไปยังคนพิการในทางมที่สร้างสรรค์เป็นอย่างมาก
กล่าวคือ พ่อแม่มีความเชื่อในศักยภาพของเด็กพิการจะสนใจเอาใจใส่
หาความรู้และทำากิจกรรมในการกระตุ้นพัฒนาลูกหลานที่พิการของตนให้มี
การพัฒนาการเหมือนเด็กทั่วไปเท่าที่จะเป็นไปได้เมื่อถึงวัยเรียนก็เข้าเรียน
ได้เหมือนเด็กทั่วไป ผู้บริหารโรงเรียนและครูที่มีความเชื่อในศักยภาพของ
เด็กพิการก็ยินดีรัยเด็กพิการเข้าเรียนหนังสือและช่วยพัฒนาให้เด็กพิการได้
มีความรู้ความสามารถเหมือนเด็กทั่วไป แม้เด็กพิการต้องการเรียนหนังสือ
ในสาขาที่ครูเองเชื่อว่าน่าจะเรียนไม่ได้ก็ส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กเรียนอย่าง
เต็มที่ไม่ปิดโอกาส ทำาให้คนพิการพัฒนาความสามารถของตนได้เต็มตาม
ศักยภาพ ทำาให้คนพิการสามารถช่วยเหลือตัวเองในชีวิตแระจำาวันทำางาน
เลี่ยงชีพได้ นายจ้างทั้งภาครัฐและเอกชนที่เชื่อในสักยภาพของคนพิการก็
รับคนพิการเข้าทำางานตามความาสามรถของคนพิการ เมื่อเป็นเช่นนี้คน
พิการย่อมพึ่งตนเองได้และมีส่วนร่วมในการพัฒนาเศรษฐกิจและประเทศ
เช่นบุคคลทั่วไป
ดังนั้นจะเห็นได้จากตัวอย่างคนพิการ ดังต่อไปนี้ Franklin
Eleanor Roosevelt อดีตประธานาธิบดีของสหัฐอเมริกา พิการโปลิโอเมื่อ
อายุได้ 35 ปี จนไม่สามารถเดินได้ หรือยืนได้ ต่อสู่ชีวิตจนได้รับเลือกตั้ง
เป็นประธานาธิบดี 4 สมัย รับผิชอบบทบาทของสหัฐอเมริกาในภาวะ
เศรษฐกิจตกตำ่า ในช่วงทศวรรษ 1930 และสงครามโลกครั้งที่ 2 อีกทั้ง
สามารถบริหารประเทศอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นผู้นำาหนึ่งที่มีบทบาทต่อ
สันติภาพของโลก 13
Stephen William Hawking เป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ชื่อเสียงก้อง
โลกทางด้านฟิสิกส์ “เจ้าพ่อของจักวาล” พิการเป็น ALS (Amyotrophic
Lateral Sclerosis or Lou Gehrig ’s disease) เป็นอัมภาพทั้งตัว
ตั้งแต่ท่อนคอลงไป ส่ายได้แต่หัว ขยับนิ้วได้ พูดไม่ได้ จึงต้องสื่อสารผ่าน
คอมพิวเตอร์

สำานังานคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ,จุลสารฟื้นฟู, ปีที่ 4 ฉบับที่ 8
ตุลาคม 2543-มกราคม 2544.
13
เครื่อง Speech Synthesizer (เมื่อต้องการสื่อสารก็ใช้นิ้วเลือกคำา
ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต้องการจะสื่อผลงานที่สร้างชื่อเสียงได้ดแก่ A
Brief History of Time14
Lena Maria Klingvall เป็นนักร้องที่มีชื่อเสียง สวีเดน พิการตั้งแต่
กำาเนิด ไม่มีแขนทั้งสองข้าง มีขาข้างซ้ายยาวเพียงคร฿งหนึ่งของขาข้าง
ขวา เคยเป็นนักกีฬาว่ายนำ้าทีมชาติลได้รับเหรียญรางวัลมากมายต่อมาได้
ยึดดารร้องเพลงเป็นอาชีพ มีผลงานหลายอัลบั้ม อาทิเช่น My life, Best
Friend, Amazing Grace15
Dana Woft เป็นศิลปินวาดภาพสีนำ้า วันย 42 ปี พิการ
Quadriplegic เนื่องจากกระดูกสันหลังบาดเจ็บจากอุบัติเหตุรถชนเมื่ออายุ
15 ขวบ ปัจจุบันนี้เป็นเจ้าของสมาคมศิลปินปากและเท้าแห่งชาติ (The
Association of Mouth and Foot Painting Artists) 16
Alex Ndeezi ประธานสามาคมหูนวกแห่งอูกันดา (Chairman of
Uganda National Association of The Deaf) ได้รับเลือกตั้งเป็น
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหูนวกคนแรกในทวีปแอฟริกา
Sharon Ridgeway สตรีหูนวกอังกฤษคนแรกที่ได้รับปริญญาเอก
ด้านจิตวิทยาทำางานเป็นนักวิจัยที่เมืองแมนเซสเตอร์ ประเทศอเมริกา และ
เป็นสมาชิกสมาคมสุขภาพจิตในยุโรป 17
Helen Adams Keller หรือใครๆ เรียกเธอว่า “หญิงบอด
มหัศจรรย์” พิการหูนวกตาบอด และเป็นใบ้ ติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นโดยใช้
การสัมผัสฝีปากและคอของคู่สนทนา และสะกดคำาในมือของผู้สมทนา แม้จะ
พิการซำ้าซ้อนแต่ก็ได้เดินทางไปทั่วโลกในนามมูลนิธิเพื่อคนตาบอดแห่ง
ชาติ (สหรัฐอเมริกา) ต่อสู้เพื่อสิทธิสตรีและสิทธิของคนที่ไม่อาจพึ่งตนเองได้
รณรงค์เรียกร้องเพื่อมนุษยธรรม หลายสิ่งหลายอย่างที่ทำาเกินกว่าที่ใครจะ
คิดว่าบุคคลที่บกพร่องทางร่างกาย ถึง 3 อย่างจะสามารถ ทำาได้18
Erik Weihenmayer เป็นคนตาบอดแรกที่พิชิตยอดเขาเอเวอเรสต์
ซึ่งเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก ในระดับความสูง 29,029 ฟุต 19
ความเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ถือเป็นแก่นของศาสนาพุทธที่ใช้กับ
บุคลลทัวไป ซึ่งต้องนำามาใช้กับคนพิการด้วยตามหลักความเชื่อของศาสนา
่
พุทธ เชื่อว่ามนุษย์พัฒนาความสามารถได้อย่างไร้ขอบเขต และการพัฒนา
ความสามารถนั้นใช้หลักไตรสิขา คือพัฒนากาย พัฒนาจิต และพัฒนา
ปัญญา ทั้งนี้เพื่อให้ทุกคนสามารถพึ่งตนเองได้ ตามหลักตนเป็นที่พึ่งแห่งตน
(อัตตหิ อัตตโน นาโถ) หลักความเชื่อนี้ต้องนำามาใช้กับคนพิการ คนพิการ
ที่เชื่อ

14

Nick Donaldson,”The Stephen Hawking
Pages,”<http://www.psyclops.com/hawking/bio/main.html> ณ
วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545
15
เลน่า มาเรีย คลิงวัลล์,บันทึกจากปลายเท้า,แปลโดย อุลล่า ฟิวส์เตอร์ และสมใจ
รักษาศรี ,(กรุงเทพมหานคร : นามมีบุคส์, 2542)
Bangkok post ฉบับวันที่ 23 สิงหาคม 2544
_________,”Plenary Speakers: Sharon Ridgeway,”
<http://www.slsymposium.inet.hr/ridgeway.htm>, ณ วันที่ 26
พฤศจิกายน พ.ศ. 2545
18
Fiona Macdonald .Helen Keller.
19
http://www.nfb.org/erlk.htm
16
17

ในศักยภาพของตนมีคติพจน์ว่า “คนพิการทำาอะไรได้มากกว่าที่ใครคิด”
ส่วนผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์และสมาชิกของสังคมที่เชื่อในศักยภาพของ
คนพิการจะมีคติพจน์ว่า “คนพิการที่ต้องการทำาเรื่องที่ท้าทายแม้คิดว่าเขา
ทำาไม่ได้ก้ต้องส่งเสริมให้เขาทำา” สองคติพจน์นี้จะช่วยให้คนพิการปลด
ปล่อยความสามารถของตนออกมาเต็มศักยภาพของแต่ละบุคคล
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต) กล่าวว่า “...เรามักคิดเพียงว่าคนที่
ร่างกายพิกลพิการจะช่วยตัวเองไม่ได้หรือทำาอะไรได้น้อย เป็นภาระแก่คน
อื่น เป็นเครื่องถ่วงสังคม.. แต่ความจริงปรากฏให้เห็นว่า คนพิการมี
ศักยภาพที่พัฒนาให้กลายเป็นผู้สามารถสร้างสรรค์ได้ ในสังคมที่ฉลาด
รู้จักให้โอกาสและสนับสนุน ก็ปรากฏว่าคนพิการสามารถฝึกฝนพัฒนาตน
ให้ช่วยตัวเองได้ และทำาอะไรๆ ที่เป็นประโยชน์แก่สังคมได้ โดยเฉพาะคนที่
พิการด้านหนึ่ง อาจจะมีศักยภาพที่พัฒนาได้ดีพิเศษอีกด้านหนึ่ง ซึ่งทำาให้
คนพิการที่รู้จักฝึกฝนพัฒนาตนเอง สามารถทำาอะไรบางอย่างได้เก่งกว่า
คนปกติทั่วไป บางทีถ้าสังคมรู้จักสนับสนุน อาจฝึกกลุ่มคนพิการให้ทำางาน
พิเศษบางอย่างแก่สังคม ที่คนปกติทำาไม่ค่อยได้ เป็นกลุ่มผู้ชำานาญพิเศษ
ด้านหนึ่ง 20
2.1.2 หลัก ปรัช ญาความเชื่อ ในศัก ยภาพของมนุษ ย์แ ละกฎหมายที่
รองรับ
หลักปรัชญาความเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ได้รับการยอมรับเอาไป
บรรจุไว้ในรัฐธรรมนูญ มาตราต่างๆ เช่น
มาตรา 42 บุคคลย่อมมีเสรีภาพในทางวิชาการ
การศึกษาอบรม การเรียนการสอน การวิจัย และการเผยแพร่
งานวิจัยตามหลักวิชาการ ย่อมไดรับความคุ้มครอง ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดต่อ
หน้าที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
มาตรา 43 บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไม่
น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดย ไม่เก็บค่า
ใช้จ่าย
มาตรา 50 บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการประกอกกิจการหรือ ประกอบอาชีพ
และการแข่งขันโดยเสรีภาพอย่างเป็นธรรม
การจำากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทำามิได้เว้นแต่โดย
อาศัย อำานาจตามบทบาทบัญญัติแห่งกฏหมายเฉพาะเพื่อประโยชน์ในการ
รักษา ความมั่นคงของรัฐหรือเศรษฐกิจของประเทศ การคุ้มครอง
ประชาชน ในด้านสาธารณูปโภค การรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีล
ธรรม อันดีของประชาชน การจัดระเบียบการประกอบอาชีพ การคุ้มครอง
ผู้บริโภค การผังเมือง การรักษาทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อม
สวัสดิภาพของประชาชน หรือเพื่อป้องกันการผูกขาด หรือขจัดความไม่เป็น
ธรรมในการแข่งขัน
มาตรา 80 รัฐต้องคุ้มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน ส่งเสริมความ เสมอ
ภาคของหญิงและชาย เสริมสร้างพัฒนาความเป็นปึกแผ่นของ ครอบครัว
และความเข้มแข็งของชุมชน

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุต โต.ทศวรรษธรรมทัศน์พระธรรมปิฎก หมวด
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2542 กรุงเทพมหานคร:
ธรรมสภา.หน้า 37
20

รัฐต้องสงเคราะห์คนชรา ผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพและผู้ด้อย
โอกาสให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและพึ่งตนเองได้
มาตรา 81 รัฐต้องจัดการศึกษาอบรมแลสนับสนุนให้เอกชนจัดการอบรม
ให้เกิดความรู้คู่คุณธรรมจัดให้มีกฏหมายเกี่ยวกับการ ศึกษาแห่งชาติ
ปรับปรุงการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจและสังคม
สร้างเสริมความรู้และปลูกฝังจิตสำานึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการ
ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
สนับสนุนการค้นคว้าวิจัยในศิลป วิทยาการต่างๆ เร่งรัดพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีเพื่อการ พัฒนาประเทศ พัฒนาวิชาชีพครู และส่งเสริม
ภูมิปัญญาท้องถิ่นศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ

2.2 หลัก ความเชือ ในศัก ดิค รีแ ละความเท่า เทีย มกัน ของมนุษ ย์
่
์
2.2.1 ความเบื้อ งต้น
(1) ความเชื่อ ในศัก ดิศ รีแ ละความเท่า เทีย มตามหลัก ศาสนาคริส ต์
์
ศักดิ์ศรี ในทางศาสนาคริสต์ หมายถึง ความเมตตราของพระเจ้า อัน
มีพื้นฐานมาจากหลักของศาสนาที่ว่า มนุษย์นั้นถูกสร้างขึ้นมาตามความ
ประสงค์ของผู้เป็นเจ้า ดังนั้น ศักดิ์ศรี ในความหมายของคริสต์จึงตกแก่
บุคคลทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน ในด้านหนึ่งนั้น ศักดิ์ของมนุษย์เหล่านี้มิอาจ
ถูกทำาลายหรือถูกพรากไปได้โดยบุคคลที่สามหรือบุคคลอื่นๆหากแต่ถูก
ทำาลายได้โดยบาปของตนเอง ด้วยเหตุนี้ศักดิ์ของความเป็นมนุษย์ในความ
หมายของคริสต์จึงเป็นเรื่องความสัมพัน์ระหว่างมนุษย์กับผู้เป็นเจ้า
ดังจะพบได้จากข้อความต่อไปนี้ “มนุษย์ทุกคนเสมอเหมือนกันใน
สายตาของพระผู้เป็นเจ้ามนุษย์ทั้งหลายต่างก็เป็นบุตรของพระผู้เป็นเจ้าด้วย
กันทุกคน”, “ไม่มีทั้งยิวหรือกรีก ไม่มีทั้งทาส หรือเสรีชน ไม่มีทั้งชายหรือ
หญิงเพราะสูเจ้าทั้งปวงเป็นหนึ่งในพระเยซูคริสต์”, “ไม่มีข้อแตกต่าง
ระหว่างยิวและกรีก เพราะพระองค์เดียวกันเหนือคนทั้งปวง เป็นที่อุดม
สมบูรณ์ของคนทั้งปวงที่เฝ้าพระองค์”21
ในยุคกลางแนวคิดในเรื่องกฎธรรมชาติได้แสดงออกมาในรูปความ
เชื่อในทางศาสนาคริสต์โดยกฎหมายธรรมชาติเป็นกฎหมายที่สืบเนืองมา
จากเจตน์จำานงของพระผู้เป็นเจ้า กฎหมายที่พระผู้เป็นเจ้าทรงบัญญติขึ้นมี
ฐานะเหนือกฎหมายที่รัฐบัญญติขึ้น 22
ตามแนวความคิดของรุสโซ สังคมที่มีระเบียบในทางการเมืองจึงเป็น
ผลของวิวัฒนาการของสังคมมนุษย์เพื่อช่วยให้มนุษย์ได้กลับมีเสรีภาพที่
เคยมีอยุ่ดั้งเดิมใน “สภาวะธรรมชาติ” และมนุษย์ยังคงความเป็นอิสระทั้งที่
มนุษย์ยอมสละสิทธิที่มีอยู่ทั้งสิ้นโดยปราศจากเงื่อนไขใดๆให้กับองค์อธปัตย์
เพราะว่าองค์อธิปตย์ก็คือประชาชน

ธีรนันท์ ขาวเผือก, “การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.
2540: ศึกษากรณีคนพิการ”(วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์
มหาวิทยาลัยรามคำาแหง,2542),หน้า 14-15
22
อ้างแล้ว, หน้า 16
21

ทั้งหมดนั่นเอง ดังนั้นประโยชน์ตรงกันข้ามหรือขัดแย้งกับผลประโยชน์ของ
ประชาชนได้ประชาชนแต่ละคนต่างก็มีส่วนประกอบเป็นองค์อธิปัตย์ ดังนั้น
ย่อมเป็นไปไม่ได้ที่องค์อธิปัตย์จะแสดงเจตนาเป็นอย่างอื่นนอกเหนือไปจาก
เจตนาของสมาชิกของประชาคม เพราะการแสดงเจตนาขององค์อธิปัตย์จะ
ชอบธรรมต่อเมื่อเป็น “เจตน์จำานงร่วม” ซึ่งเป็นเจตนาส่วนมากของสมาชิก
เป็นเงื่อนไขสำาคัญยิ่งของสมาชิกประชาคม กฎหมายรับรองสิทธิเสรีภาพ
ของประชาชนในประเทศต่างๆ 23
คำาสอนและแนวความคิดในศาสนาคริสต์ และแนวความคิดในเรื่อง
กฎหมายธรรมชาติได้แพร่หลายไปในบรรดานักคิด นักการเมือง และ
ประชาชนในประเทศอารยธรรมตะวันตก ทำาให้เกิดมีการต่อต้านการใช้
อำานาจเกิดขอบเขตของ “ผู้มีอำานาจการปกครอง” ประชาชนชาวอเมริกันได้
ประกาศเสรีภาพไม่ยอมอยู่ใต้อำานาจปกครองของอังกฤษ 24
วันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1776 ในคำาประกาศอิศภาพ(The
Declaration of Independent) ซึ่งร่างโดย Thomas Jefferson “เรา
ถือความจริงซึ่งได้แจ้งจักษ์โดยตัวของมันเองแล้วว่ามนุษย์เราเกิดมาย่อม
เท่าเทียมกัน พระผู้เป็นเจ้าผู้สร้างมนุษย์ได้ทรงประทานสิทธิติดตัวบาง
ประการอันไม่อาจพรากจากมนุษย์ไปได้ สิทธิเหล่านี้ คือ สิทธิในชีวิต สิทธิ
ในเสรีภาพ และสิทธิในการแสวงหาความสุข และเพื่อที่จะปกป้องกันสิทธิดัง
กล่าวนี้ มนุษย์จึงได้จัดตั้งรัฐบาลที่ได้รับอำานาจโดยชอบธรรม โดยความ
ยินยอมของประชาชนผู้อยู่ใต้ปกครอง ดังนั้น เมื่อใดก็ตามที่รัฐบาลดำาเนิน
การปกครองไปไนทางที่ทำาลายจุดมุ่งหมายดังกล่าว ก็เป็นสิทธิของ
ประชาชนที่จะเปลียนหรือล้มเลิกรัฐบาลนั้นเสียก็ได้ และก่อตั้งรัฐบาลขึ้น
ใหม่ให้ดำาเนินการตามหลักการเช่นว่าและให้มีอำานาจที่จะบันดาลความ
ปลอดภัย และความผาสุขให้ได้มากที่สุด”25
หลักการของการรับรองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ปรากฎเป็นราย
ลักษณ์อักษรครั้งแรกในรัฐธรรมนูญของอเมริกา รัฐธรรมนูญเกิดขึ้นเมื่อปี
ค.ศ. 1789 เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับเรื่องสิทธินั้นแม้จะมีอยู้บ้างแต่ก็ยังไม่
บริบูรณ์ที่เดียว ต่อมาในปี 1791 จึงได้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ
(AMENDMENT) ให้มีบทบัญญัติที่รับรองและคุ้มครองสิทธิมากขึ้น
ประการหนึ่งคือ “ให้ความเสมอภาคของประชาชนอเมริกัน ซึ่งแตกต่างกัน
ในเรื่องเชื้อชาติ ผิว”26
ผลของสงครามประกาศอิสรภาพ และรัฐธรรมนูญ ของประเทศ
สหรัฐอเมริกา ประกอบกับแนวคิดทางปรัชญาทางการเมืองของนักคิดใน
ขณะนั้น เช่น มองเตสกิเออ รุสโซ ทำาให้เกิดการปฏิวัติขึ้นในฝรั่งเคสใน
ปีค.ส.1789 และมีการประกาศปฏิญาณว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และพลเมือง
ซึ่งมีสาระสำาคัญพอสรุปได้ประการหนึ่งคือ “เน้นภึงความเป็นอิสระและความ
มีสิทธิเท่าเทียมกันของมนุษย์”27

อ้างแล้ว, หน้า 18-19
อ้างแล้ว, หน้า 19
25
อ้างแล้ว, หน้า 20
26
นพนิธิ สุริยะ,สิทธิมนุษย์ชน, พิมพ์ครั้งที่ 1(กรุงเทพ: สำานักพิมพ์วิญญชน,
2537), หน้า 44-45
23
24

ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่า การประกาศอิสรภาพอเมริกัน ปี 1776-ปฏิญญาว่า
ด้วยสิทธิของมนุษย์และพลเมือง ปี 1789 และบทบัญญัติว่าด้วย
สิทธิ(อเมริกัน) ปี 1791 เป็นครั้งแรกทีมีการบัญญัติถึงหลักการที่มีการ
ยอมรับว่าคือข้อกำาหนดแห่งกฎหมายว่าด้วยสิทธิมนุษย์ชนสมัยใหม่ 28
แต่การที่จะให้หลักการดังกล่าวมีผลจริงจัง สหรัฐอเมริกาและ
ฝรั่งเศสได้ใช้วิธีทำาเป็นรัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรขึ้น รัฐธรรมนูญนี้มี
ความมุ่งหมายให้บัญญัติหน้าที่ของสถาบันแห่งรัฐที่เกิดขึ้นใหม่และให้บรรจุ
บัญชีระบุสิทธิขั้นพื้นฐานด้วย 29 และวิธีการดังก็ได้ถูกถ่ายทอด และนำาไป
ใช้ในประเทศอื่นอีกมากมาย
หลังจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสิ้นสุดลง ณ ที่ประชุมสันติภาพ ได้มี
การตกลงถึงพันธกรณีของรัฐสมาชิกใดๆที่จะต้องคุ้มครองชนกลุ่มน้อย ซึ่ง
อยู่ในอาณาเขตของตน ลักษณะชองความคุ้มครองนี้ได้ทำาในรูปของความ
ตกลงระหว่างประเทศ 30
ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองสิทธิของชนกลุ่มน้อย ในสิทธิขั้นพื้น
ฐานในชีวิต เสรีภาพ ศาสนา และเพื่อให้มีผลใช้บังคับได้อย่างจริงจัง จึงได้
จัดสันนิบาตชาติเป็นผู้ประกันการคุ้มครองชนกลุ่มน้อยเหล่านี้31
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ได้มีการจัดตั้งองค์การสหประชาชาติ
ขึ้น ในวันที่ 26 มิถุนายน 1495 ประเทศต่างๆได้ร่วมลงนามในกฎบัตร
สหประชาชาติ ที่แสดงความมุ่งประสงค์ขององค์กรในข้อ 1 วรรค 2 ว่า
“เพื่อพัฒนาความสัมพัน์ฉันมิตรระหว่างประชาชาติทั้งหลาย โดยยึดการ
เคารพต่อหลักการแห่งสิทธิที่เท่าเทียมกัน และการกำาหนดเจตจำานงของ
ตนเองทั้งหลายเป็นมูลฐาน และจะดำาเนินมาตรการอื่นๆอันเหมาะสมเพื่อเป็น
กำาลังแก่สันติภาพสากล”
และใน วรรค 3 ว่า “เพื่อให้รวมถึงการร่วมมือระหว่างประเทศในอัน
ที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม หรือ
มนุษยธรรม และในการส่งเสริมและสนับสนุนการเคารพต่อสิทธิมนุษยชน
และต่ออิสรภาพมูลฐานสำาหรับทุกคนโดยไม่เลือกประวัติในเรื่องเชื้อชาติ
เพศ ภาษา หรือศาสนา”
และในข้อ 55 ว่า ...สหประชาชาติจะส่งเสริม “การเคารพโดยสากล
การปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพอันเป็นมูลฐานสำาหรับทุกคนโดย
ไม่เลือกประวัติในเรื่องเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา”32
การประกาศหลักการต่างๆเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่สำาคัญ คือ
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (THE UNIVERASL
DECLARATION OF HUMAN RUGHTS) โดยมีจุดมุ่งหมายที่ให้เป็น
“มาตรฐานร่วมกันเพื่อความสำาเร็จสำาหรับประชาชน และประชาชาติทั้งมวล
ด้วยจุดประสงค์ที่จะให้ปัจเจกบุคคลทุกผู้ทุกนามและองค์กรของสังคมทุก
หน่วย โดยการระลึกถึงเสมอๆถึงปฏิญญานี้, พยายามสั่งสอนและให้การ
ศึกษาเพื่อส่งเสริม

28
29
30
31
32

อ้างแล้ว,
อ้างแล้ว,
อ้างแล้ว,
อ้างแล้ว,
อ้างแล้ว,

หน้า
หน้า
หน้า
หน้า
หน้า

47.
48.
51-52.
52.
56.

การเคารพต่อสิทธิและเสรีภาพต่อสิทธิและเสรีภาพเหล่านี้ และด้วย
มาตรการที่เจริญไปข้างหน้า, ทั้งในและระหว่างประเทศ,เพื่อให้ได้มาซึ่ง
การยอมรับและการถือปฏิบัติต่อสิทธิเหล่านั้นอย่างสากลและได้ผล,ทั้งในหมู่
ประชาชนของรัฐสมาชิกเอง และในหมู่ประชาชนแห่งดินแดงที่อยู่ภายใต้
ดุลอาณาของรัฐสมาชิกดังกล่าว” สาระสำาคัญของปฏิญญาดังกล่าวคือ สิทธิ
มนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานสำาหรับชายหญิงทุกหนแห่งในโลกโดย
ไม่มีการเลือกประติบัติ ดดยปรากฎหลักปรัชญาและหลักการพื้นฐานแห่ง
สิทธิไว้ใน ข้อ 1 และข้อ 2 ของปฏิญญาสากลนี้ กล่าวคือ 33
ข้อ 1 กล่าวถึงปรัชญา ซึ่งปฎิญญาอิงอยู่ว่า “มนุษย์ทั้งหลายเกิดมา
อิสระเสรีและเท่าเทียมกันทั้งศักดิ์ศรีและสิทธิ ทุกคนได้รับการประสิทธิ
ประสาทเหตุผลและนโนธรรม และควรปฏิบัตต่อกันอย่างฉันพี่น้อง
ิ
ข้อ 2 วางแนว หลักการพื้นฐานแห่งความเท่าเทียมกันและการไม่
เลือกประติบัติในส่วนที่เกี่ยวกับการอุปโภคสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้น
ฐาน ได้กำาหนดห้ามการ “จำาแนกความแตกต่างในเรื่องใดๆเช่น เชื้อชาติ สี
ผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรือทางอื่นใด ชาติหรือ
สังคมอันเป็นที่มาเดิม ทรัพย์ กำาเนิด หรือสถานะอื่นใด”
(2) ความเชื่อ ในศัก ดิศ รีแ ละความเท่า เทีย มกัน ของมนุษ ย์ต ามหลัก
์
ศาสนาพุท ธ
ทางศาสนาพุทธ พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ในอัคคัญว่า วรรณะทั้งสี่อัน
ประกอบด้วย กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ และศูทรนั้นสามารถประพฤติได้ทั้ง
ในทางธรรมที่ดำาและขาว ดังนั้น วรรณหรือชนชั้นจึงไม่ใช่เครื่องวัดความ
ผิดถูกชั่วดีของบุคคล นอกจากนั้นได้ตรัสไว้ในอัพพัฏฐสูตรว่า ใครก็ตามที่
ยังถือชาติ ถือโคตร ถือตัว หรืออาวาหะ(การสมรส) คนเหล่านั้นย่อมอยู่ห่าง
ไกลจากความรู้และความประพฤติอันยอดเยี่ยม ต่อเมื่อละความถือชาติ ถือ
โคตร ถือตัว หรืออาวาหะได้ จึงจะททำาให้แจ้งได้ซึ่งความรู้และความ
ประพฤติอันเยี่ยม และในอัคคัญสูตรได้ตรัสไว้ว่า ทั้งพราหมณ์ แพศย์ ศูทร
ก็เกิดจากพวกนั้น มิใช่เกิดจากพวกอื่น เกิดจากคนที่เสมอกัน มิใช่เกิดจาก
คนที่ไม่เสมอกัน เกิดขึ้นโดยธรรมมิใช่เกิดขึ้นโดยอธรรมจากคำาตรัสของ
พระพุทธองค์ในพระสูตรต่างๆ แสดงให้เห็นว่า ตามหลักพระพุทธศาสนา
คุณค่าของบุคคลขึ้นอยู่กับความรู้(วิชา) และความประพฤติและเป็นผู้
ปราศจากอวิชชาแล้ว บุคคลนั้นย่อมเป็นผู้ที่ประเสริฐสุด
กล่าวคือในสมัยพุทธกาล คนอินเดียได้มีการแบ่งชนชั้นเป็น กษัตริย์
พราหมณ์ แพทย์ ศูทร คน ชนชั้นศูทรจะถูกจำากัดไม่ให้มีโอกาสพัฒนา
ความสามารถของตนเอง ไม่มีโอกาสที่จะมีงานดีๆทำา เพื่อให้ทุกคนชนชั้น
เท่าเทียมกัน พระพุทธเจ้าจึงใช้การบวชเป็นพระภิกษุสงฆ์ เป็นการแก้ปัญหา
ดังกล่าว คนทุกชนชั้นเมื่อบวชเป็นพระภิกษุสงฆ์ ย่อมเท่าเทียมกัน คน
ชนชั้นศูทรย่อมได้โอกาสเรียนหนังสือ พัฒนาความสามารถของตนได้อย่าง
ไร้ขอบเขตเท่าเทียมกับชนชั้นอื่น แม้แต่ในประเทศไทยคนจนผู้ยาอไร้ก็ใช้
การบวชเป็นพนะภิกษุสงฆ์เพื่อเปิดโอกาสเพื่อได้เรียนหนังสือและศึกออกมา
หางานดีๆทำา

33

อ้างแล้ว, หน้า 58-59
(3)ความเชื่อ ในศัก ดิศ รีแ ละความเท่า เทีย มกัน ของมนุษ ย์แ ละผลก
์
ระทบต่อ คนพิก าร
การที่คนพิการถูกสังคมเชื่อว่า เป็นกลุ่มชนหรือชนชั้นที่เป็นภาระของ
สังคม เป็นชนชั้นที่น่าเวทนาสงสาร คนพิการย่อมได้รับการดูแลจากสังคม
หรือรัฐบาลในรูปแบบของการสงเคราะห์ให้มีชีวิตอยู่ได้ไปวันๆ การเลือก
ปฏิบัติต่อคนพิการด้วยการออกกฎหมายมาจำากัดสิทธิไม่ให้คนพิการได้รับ
การศึกษา หรือมีงานทำาจึงเป็นเรื่องธรรมดา ทำาให้คนพิการขาดโอกาสที่จะ
ได้รับการพัฒนาความสามารถของตนได้เต็มตามศักยภาพ และขาดโอกาส
ที่จะมีงานทำา กิจกรรมทางสังไม่ว่าจะเป็นเรื่องการท่องเที่ยวกีฬา
สันทนาการ และการให้บริการต่าง ก็มักจะลืมนึกถึงคนพิการ ทำาให้คน
พิการขาดการเข้ามีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆของสังคม
ด้วยเหตุนี้สำาหรับคนพิการแล้ว หลักปรัชญาความเชื่อในศักดิ์ศรีและ
ความเท่าเทียมกันของมนุษย์จึงมีความสำาคัญมาก เพราะตามหลักปรัชญานี้
สังคม และรัฐบาล ต้องเปิดโอกาสให้คนพิการเข้าถึงบริการสาธารณะ ได้
เหมือนบุคคลทั่วไปไม่ว่าจะเป็นบริการทางการแพทย์ การศึกษา การขนส่ง
สาธารณะการจัดให้มีงานทำา และการเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆทาง
สังคม ส่วนเอกชนด้วยกันต้องไม่เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมเช่นกัน เช่น
ไม่จ้างแรงงานคนพิการเพราะเหตุที่เป็นคนพิการ นั้นจะกระทำาไม่ได้ คน
พิการจึงมีคติพจน์ว่า “ที่คนพิการต้องยุ่งยากลำาบากแสนเข็ญทุกวันนี้เพราะ
สิ่งแวดล้อมไม่เอื้อต่อคนพิการ เอื้อต่อทุกคน ความพิการไม่มีอะไรมากไป
กว่าความน่ารคาญเล็กๆน้อยๆเหมือนกรณีคนอ้วนเกินปหรือคนสูงเกินไป”
หลักปรัชญานี้จึงเปิดโอกาสให้คนพิการได้พัฒนาความสามารถของตนจน
เต็มตามศักยภาพ มีงานทำาเหมือนกับคนอืน ตลอดจนเปิดโอกาสให้คนพิการ
เข้ามีส่วนร่วมในการพัฒนาเศรษกิฐ สังคม และประเทศชาติ
(4) ความเชื่อ กับ บทบัญ ญัต ใ นรัฐ ธรรมนูญ ไทยปัจ จุบ ัน
ิ
หลักปรัชญานี้ได้นำามาบรรจุไว้ในรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 เช่นกัน
ดังจะเห็นได้จาก ม.4 กำาหนดให้ ศักดิ์ความเป็นมนุษย์ สิทธิ และเสรีภาพ
ของทุกคน ย่อยได้รับความคุ้มครอง, ม.26 การใช้อำานาจโดยรัฐต้องคำานึง
ถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนูษย์ สิทธิ และเสรีภาพ,ม.28 บุคคลย่อมอ้างศักดิ์ศรี
ความเป็นมนุษย์ หรือใช้สิทธิและเสรีภาพได้เท่าที่ไม่ละเมิดสิทธิของบุคคล
อื่น, ม.29 การจำากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลจะกระทำาไม่ได้ , ม.30
บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย ชายหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกันการเลือกปฏิบัติ
โดยไม่เป็นธรรมเพราะเหตุแห่งความแตกต่างในเรื่องต่างๆ จะกระทำาไม่ได้
มาตราการที่รัฐกำาหนดขึ้นเพื่อขจัดอุปสรรคหรือส่งเสริมให้บุคคลสามารถ
ใช้สิทธิและเสรีภาพได้เช่นเดียวกับบุคคลอื่นย่อมไม่ถือเป็นการเลือกปฏิบัติ
โดยไม่เป็นธรรม, ม.55 บุคคลที่พิการหรือทุพพลภาพ มีสิทธิได้รับสิ่ง
อำานวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะแความช่วยเหลืออื่นจากรัฐ ตามที่กฏ
หมายกำาหนด

เพื่อให้หลักปรัชญานี้มีผลใช้บังคับในทางปฏิบัติ จึงมีการนำาไป
บัญญัติไว้ในกฎหมายซึ่งสามารถแยกออกเป็น 2 หลักย่อยๆคือ
1. หลักการห้ามการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม
2. หลักการขจัดอุปสรรคหรือส่งเสริมให้บุคคลสามารถใช้สิทธิและ
เสรีภาพได้เช่นเดียวกับบุคคลอื่นๆ
2.2.2 หลัก การห้า มการเลือ กปฏิบ ัต โ ดยไม่เ ป็น ธรรม
ิ
การเลือกปฏิบัติที่มีผลทำาให้สิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของบุคคลไม่เท่า
เทียมกัน ไม่ว่านื่องจากสาเหตุใดก็ตามถือว่าเป็นการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็น
ธรรมจะกระทำาไม่ได้
การเลือกปฏิบัติอาจกระทำาได้ใน 3 ลักษณะ ด้วยการ (1) การแบ่งแยก
(Distinction) (2) กีดกัน (Exclusion) (3) จำากัด (Restriction) 34
การห้ามเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม ปรากฏในรัฐธรรมนูญ มาตรา
30 วรรค 3 “การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุความแตก
ต่างในเรื่องถิ่นกำาเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพ ทางกายหรือสูขภาพ
สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การ
ศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติของ
รัฐธรรมนูญ จะกระทำามิได้”
สำาหรับกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ที่เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม
เช่นกฏหมายระเบียบ ข้อบังคับ ที่จำากัดสิทธิไม่ให้คนพิการได้รับการศึกษา
ไม่ให้ทำางาน รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ได้กำาหนดมาตรการเยียวยาไว้ให้
ทั้งในกรณีก่อนกฏหมายมีผลใช้บังคับและหลังที่กฏหมายมีผลบังคับใช้แล้ว
สำาหรับกรณีก่อนกฏหมายมีผลบังคับ รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 มาตรา 262
กำาหนดไว้ชัดว่า ให้(1)ให้ ส.ส. ส.ว. ไม่น้อยกว่า หนึ่งในสิบ สำาหรับร่าง
พระราชบัญญัติทั่วไป (2) ให้ ส.ส. ส.ว. ไม่น้อยกว่ายี่สิบคนสำาหรับร่างพระ
ราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ (3) นายกรัฐมนตรี เห็นว่าร่างพระราช
บัญญัติ หรือร่างพระราชบัญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่ามีข้อความขัดแย้งกับ
รัฐธรรมนูญ ให้ส่งความเห็นต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยว่ากฏหมายดัง
กล่าวมีข้อความขัดแย้งต่อกฏหมายรัฐธรรมนูญหรือไม่ ส่วนในกรณีที่กฏ
หมายมีผลบังคับแล้วบุคคลใดเห็นว่ากฏหมายระเบียบข้อบังคับดังกล่าวมี
ถ้อยคำา หรือข้อความที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 30 วรรค 3 ก็ให้นำาเรื่อง
ไปร้องทุกข์ต่อผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา เมื่อผู้ตรวจการแผ่นดินของ
รัฐสภาเห็นว่า กฏหมาย ระเบียบข้อบังคับ มีถ้อยคำาหรือข้อความขัดต่อ
รัฐธรรมนูญ มาตรา 30 วรรค 3 ก็ให้ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาเสนอ
เรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยต่อไป ตามรัฐธรรมนูญมาตรา 198
ส่วนบุคคลที่เชื่อว่าตนได้รับความเสียหายจากกฏหมายระเบียบข้อบังคับที่
เลือกปฏิบัติต่อตนโดยตรง บุคคลดังกล่าวอาจใช้วิธีฟ้องต่อศาลยุติธรรม
แทนการร้องต่อผู้ตรวจการแผนดินของรัฐสภาก็ได้ ตามรัฐธรรมนูญมาตรา
264 ให้ศาลส่งความเห็นที่คู่กรณีหรือศาลเห็นเองว่าบทบัญญัติใดของ
กฎหมาย กฎ หรือข้อบังคับ ขัดแย้งต่อรัฐธรรมนูญ เพื่อศาลรัฐธรรมนูญจะ
ได้พิจารณาวินิจฉัย

ธีรนันท์ ขาวเผือก, “การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.
2540: ศึกษากรณีคนพิการ”, หน้า 28
34

คำาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญให้ใช้ได้ในคดีทั้งปวง แต่ไม่กระทบ
กระเทือนถึงคำาพิพากษาของศาลอันถึงที่สุดแล้ว
อย่างไรก็ตาม ถึงแม้กฏหมายจะใช้หลักปรัชญาความเชื่อใหม่แต่ผู้ใช้
กฎหมายยังยึดหมั่นอยู่กับหลักปรัชญาความเชื่อดั่งเดิม ผลของคำาวินิจฉัย
ของศาลรัฐธรรมนูญอาจไม่เป็นประโยชน์ต่อคนพิการก็ได้อย่างกรณีของ
นายศิริมิตร บุญมูล และนางสาวบูญจุติ กลับประสิทธื ที่พิการเนื่องจากโรค
โปลิโอ ได้สมัครสอบเป็นผู้ช่วยผู้ช่วยผู้พิพากษาแต่ถูกกรรมการตุลาการตัด
สิทธิไม่ให้มีสิทธิสอบโดยอ้างว่าขาดคุณสมบัติตาม พระราชบัญญัติระเบียบ
ข้าราชการฝ่ายตุลาการ พ.ศ. 2543 มาตรา 26(10) “...มีกายหรือจิตใจ
ไม่เหมาะสมที่จะเป็นข้าราชการตุลาการ” โดยขอให้ผู้ตรวจการแผ่นดินของ
รัฐสภา นำาเรื่องขึ้นสู่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า ข้อความดังกล่าวขัดต่อ
กฎหมายรัฐธรรมนูญ มาตรา 30 วรรค 3 หรือไม่ เมื่อผู้ตรวจการแผ่นดิน
ของรัฐสภา นำาเรื่องขึ้นสู่ศาลรัฐธรรมนูญ และได้มีคำาวินิจฉัยในวันที่ 30
เมษายน 2545 (คำาวินิจฉัยที่ 16/2545) ว่า บทบัญญัติดังกล่าวไม่ขัดต่อ
กฎหมายรัฐธรรมนูญ ด้วยเหตุผลว่า “บทบัญญัติของพระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 มาตรา 26(10)
เป็นไปตามความจำาเป็นและความเหมาะสมของฝ่ายตุลาการ จึงเห็นว่า
บทบัญญัติของพระราชบัญญัติของระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาล
ยุติธรรม พ.ศ.2543 มาตรา 26 (10) ดังกล่าว เป็นลักษณะตามข้อยกเว้น
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาราจักรไทย พ.ศ. 2540 มาตรา 29 ซึ่งไม่
กระทบกระเทือนถึงสาระสำาคัญแห่งสิทธิและเสรีภาพมีผลใช้บังคับเป็นการ
ทั่วไป และไม่มุ่งหมายให้ใช้บังคับแก่กรณีใดกรณีหนึ่งหรือบุคคลใดบุคคล
หนึ่งเป็นการเจาะจง และไม่เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมตาม มาตรา
30 แต่อย่างใด” 35 และคณะกรรมการตุลาการได้พิจารณาว่า นายศิริมิตร
บุญมูล และนางสาวบุญจุติ กลับประสิทธิ์ ไม่มีสิทธิสอบคัดเลือกเข้าเป็นผู้
ภาค 1 แนวนโยบายแห่งรัฐเกี่ยวกับคนพิการ
ภาค 1 แนวนโยบายแห่งรัฐเกี่ยวกับคนพิการ
ภาค 1 แนวนโยบายแห่งรัฐเกี่ยวกับคนพิการ
ภาค 1 แนวนโยบายแห่งรัฐเกี่ยวกับคนพิการ
ภาค 1 แนวนโยบายแห่งรัฐเกี่ยวกับคนพิการ
ภาค 1 แนวนโยบายแห่งรัฐเกี่ยวกับคนพิการ
ภาค 1 แนวนโยบายแห่งรัฐเกี่ยวกับคนพิการ
ภาค 1 แนวนโยบายแห่งรัฐเกี่ยวกับคนพิการ
ภาค 1 แนวนโยบายแห่งรัฐเกี่ยวกับคนพิการ

More Related Content

Viewers also liked

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
Watcharapon Donpakdee
 
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตรหนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
หนังสือสอบ เพื่อนครู
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
SlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
SlideShare
 

Viewers also liked (6)

เล่ม5 ชิวๆขำๆ
เล่ม5  ชิวๆขำๆเล่ม5  ชิวๆขำๆ
เล่ม5 ชิวๆขำๆ
 
เล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพ
เล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพเล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพ
เล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพ
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
 
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตรหนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 

More from Nanthapong Sornkaew

วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1 วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1 Nanthapong Sornkaew
 
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...Nanthapong Sornkaew
 
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญNanthapong Sornkaew
 
ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1Nanthapong Sornkaew
 
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครองkคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครองNanthapong Sornkaew
 
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545Nanthapong Sornkaew
 
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯNanthapong Sornkaew
 
อากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตกอากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตกNanthapong Sornkaew
 
คำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากงคำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากงNanthapong Sornkaew
 
ประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลNanthapong Sornkaew
 
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรมkจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
Nanthapong Sornkaew
 
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่Nanthapong Sornkaew
 

More from Nanthapong Sornkaew (20)

วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1 วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
 
Pantipontour
PantipontourPantipontour
Pantipontour
 
Bo tmuseum
Bo tmuseumBo tmuseum
Bo tmuseum
 
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
 
Politics1
Politics1Politics1
Politics1
 
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
 
10 12-2475
10 12-247510 12-2475
10 12-2475
 
ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1
 
Book inter germany
Book inter germanyBook inter germany
Book inter germany
 
บทความ+ศา..
บทความ+ศา..บทความ+ศา..
บทความ+ศา..
 
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครองkคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
 
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
 
Article t2
Article t2Article t2
Article t2
 
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
 
อากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตกอากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตก
 
คำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากงคำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากง
 
ประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาล
 
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรมkจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
 
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
 
V2011 4
V2011 4V2011 4
V2011 4
 

ภาค 1 แนวนโยบายแห่งรัฐเกี่ยวกับคนพิการ

  • 1. วิช าสัม มนากฏหมายและนโยบายของรัฐ เกี่ย วกับ คนพิก าร (น.279) โดย รองศาสตราจารย์.วิร ิย ะ นามศิร พ งษ์พ น ธุ์ ิ ั ภาค 1 แนวนโยบายแห่ง รัฐ เกี่ย วกับ คนพิก าร บทที่ 1 หลัก ปรัช ญาความเชือ และผลการทบ ่ 1.หลัก ปรัช ญาความเชื่อ ดัง เดิม กับ ผลกระทบ ่ คนไทยก็ไม่ได้แตกต่างไปจากคนอื่นแต่ไหนแต่ไรมาคนไทยมีความ เชื่อว่าคนพิการ ไม่มีความสามารถ ทำาอะไรไม่ได้ และเชื่อว่าความพิการ เป็นสัญญาลักษณ์ของสิ่งที่เลวร้าย หรือสิ่งที่ไม่ดี เป็นการลงโทษบุคคลที่ กระทำาบาป คนพิการเป็นคนที่น่าสงสาร การให้คนพิการทำางานหนักถือ เป็นการสร้างเวรกรรมเพราะเป็นการซำ้าเติมคนพิการให้ทุกข์ทรมานมากยิ่ง ขึ้น ความเชื่อเหล่านี้มีผลกระทบต่อคนพิการไปในทางลบอย่างมหาศาล เปรียบได้กับบาปกำาเกิดที่คนพิการทุกคนที่เกิดม่า ทุกยุก ทุกสมัย ต้องก้ม หน้าก้มตา รับผลร้ายที่สังคมหยิบยื่นให้ เพราะความเชื่อดังกล่าว บิดามารดาของเด็กพิการที่มีความเชื่อดั่งเดิมข้างต้น จะไม่คิดที่จะ กระตุ้นพัฒนาพัฒนาลูกของตนให้มีพัฒนาการให้เหมือนเด็กทั่วไป ไม่คิกที่ จะฝึกฝนให้เด็กพิการทำาสิ่งต่างๆไปตามยถากรรม เด้กตาบอดบางคนพ่อแม่ ได้แต่อุ้มเอาไว้ด้วยความสงสาร ทำาให้เด็กตาบอดนั้นแม้โต 4-5 ขวบแล้วก็ ยังเดินไม่ได้ เด็กพิการทางแขนขา ลำาตัว เล็กน้อย เมื่อถูกทิ้งไว้เฉยๆ ก็ ทำาให้มีความพิการมากยิ่งขึ้น ถ้าหาดเด็กพิการเหล่านี้ ได้รับการกระตุ้ นพัฒนาของกล้ามเนื้อ เด็กก็อาจจะเดินได้ แต่เมื่อไม่ได้รับการดูแลก็ทำาให้ กล้ามเนื้อนั้นไม่ได้พัฒนา มำาให้ไม่สามารถเดินได้ ครอบครัวที่เด็กพิการก็ กลัวว่า คนอื่นจะตำาหนิว่าเป็นครอบครัวของคนบาป ครอบครัวเหล่านั้นก็ จะซุกตัวเด็กเอาไว้แต่ในบ้าน หรือขายเด็กให้กับแก๊งขอขอทาน เช่น กรณี ของนายประหยัด ภูหนองโอง 1 หรือนำาไปทิ้งลงเหว อย่างในกรณี นาย จังสี่ แสนจัง 2 หรือนำาไปทิ้งเพื่อให้คนอื่นรับไปเลี้ยงดูอย่างกรณีของ นายพงศ์ศิลป์ ชัยศิลป์ 3 และไม่มี่ความคิดที่ให้ลูกเรียนหนังสือ ดังจะเห็น ได้จากในสมัยที่ มีสเจนนีวีฟ คอลฟิลด์ มาก่อตั้งโรงเรียนคนตาบอด ในปี พ.ศ. 2482 นั้น ไม่มีพ่อแม่เด็กตาบอดคนใดที่สนใจให้ลูกหลานของตนมา เรียนที่โรงเรียนสอนคนตาบอดเพราะคิดว่าเรียนไม่ได้ ท่านต้องให้วธีจ้าง ิ เด็กมาเรียน หรือเชิญชวนเด็กตาบอดที่ถูกทอดทิ้งอยู่ตามถนนมาเรียน หนังสือแทน นายประหยัด ภูหนองโอง บิดามารดา จะขายให้กับแก๊งขอทาน แต่พี่สาวขอเอา ไว้และหาที่เรียนหนังสือ ปัจจุบัน นายประหยัด ภูหนองโอง เป็นผู้ก่อตั้งมูลนิธิ ธรรมมิกชนเพื่อคนตาบอดในประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งมีโรงเรียน สอนคนตาบอด และศูนย์สงเคราะห์เด็กตาบอดพิการซำ้าซ้อน อยู่ในการดูแลถึง 6 แห่ง (ขอนแก่น ร้อยเอ็ด นครราชสีมา กรุงเทพฯ ลพบุรี ลำาปาง) 2 นายจังสี่ แสนจัง เป็นเด็กตาบอด พ่อแม่มีความคิดว่า ขนาดตนเองไม่พิการก็ยัง ยากลำาบาก จึงคิดต่อไปว่าลูกที่ตาบอดคงยากลำาบากกว่าตนหลายเท่า เพื่อไม่ให่ 1
  • 2. ลูกต้องต้องยากลำาบาก พ่อแม่จึงนำาไปผลักลงเหวทิ้ง แต่นายจังสี่ไม่ถึงแก่ความ ตาย และได้มี มิชชันนารี มาพบและนำาไปเลี้ยงดูต่อให้ได้รับการศึกษา และฝึก อาชีพ ปัจจุบัน นายจังสี่ เป็นเจ้าของร้านนวดแผนไทยที่จังหวัด ลำาพูน มีบ้านของ ตัวเองและยะงสามารถส่งเสียเลี้ยงดูพ่อแม่ของตนได้ 3 นายพงศ์ศิลป์ ชัยศิลป์ พ่อแม่นำามาทิ้งไว้ที่โรงเรียนสอนคคนตาบอด ปัจจุบัน นายพงศ์ศิลป์ ชัยศิลป์ เป็นครูสอนดนตรีที่โรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพ ผลที่ตามมาเด็กพิการจึงมีพัฒนาการไม่ว่าในว่าในทางสมอง ในทางราง กาย ที่ตำ่า หรือช้ากว่าเด็กทั่วไปอย่างมาก เพราะการเพิ่มของเซลล์สมอง และการเชื่อมโยงของโครงข่ายของระบบประสาทต่างๆ จะมีมากทีสุดใน ช่วง 1-7 ปี ดังนั้นโครงสร้างสมองและร่างกายของเด็กพิการ จึงตกเป็น รองของเด็กทั่วไปอย่างมากเนื่องจากความเชื่อดั่งเดิมดังกล่าวนั่นเอง ผู้บริหารสถานศึกษาและครูอาจารย์ที่มีความเชื่อดั่งเดิมข้างต้น จะ ปฏิเสธไม่รับคนพิการเข้าศึกษาหรือฝึกอาชีพแต่ไหนแต่ไรมาผู้บริหารและ ครูโรงเรียนต่างๆ มัก มีความเข้าใจว่า แม้คนปกติจำานวนมาก ก็ยังไม่มีที่ เรียนหรือฝึกอาชีพเลย คนพิการเรียนหนังสือไปก็หาประโยชน์มิได้ อีกทั้ง การสอนเด็กพิการยุ่งยากกว่าเด็กทั่วไป และตนเองไม่รู้เรื่องการสอนเด็ก พิการ ไม่มีความพร้อมที่จะสอนเด็กพิการได้ จึงไม่มีเหตุผลที่จะรับเด็ก พิการเข้าเรียน เหตุผลนี้ยังมีใช้อยู่จนถึงปัจจุบัน อีกทั้งมี พ.ร.บ. การ ประถมศึกษา พ.ศ. 2478 มาตรา 114 หรือในช่วงต่อมาก็มี พ.ร.บ. การ ประถมศึกษา พ.ศ. 2523 ในมาตรา 85 เมื่อมีข้อกำาหนดยกเว้นให้ พ่อแม่ ไม่มีความกรณีไม่ให้เด็กพิกการเรียนหนังหนังสือ ผู้บริหารโรงเรียนจึงมัก อ้างกฏหมายนี้ เกลี่ยกล่อมให้ผู้ปกครองเซ็นยินยอมที่จะไม่เอาเด็กพิการไป เรียน เพื่อผู้ปกครองจะไม่มีความผิด และผู้บริหารโรงเรียนจะไม่ถูกตำาหนิ ว่าไม่ยอมรับเด็กพิการเข้าเรียน ในสมัยที่นายวิริยะ นามศิริพงศ์พันธุ์และ เพื่อน จบมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในปี พ.ศ. 2513 โรงเรียนรัฐบาลต่างๆที่ไป ติดต่อก็ไม่ยอมรับ โดยอ้างว่าไม่พร้อมจะรับเด็กพิการมีแต่โรงเรียนอัศศัม ชันบางรักที่ยอมรับ แต่กำาหนดคะแนนว่าต้องสอบได้ 80 คะแนนขึ้นไป และมีโรงเรียนสตรีประเทืองวิทย์อีกแห่งหนึ่งที่ยอมรับสตรีตาบอดเข้าเรียน อีก 1 คน จึงมีผลให้คนตาบอดเรียนต่อในระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ได้ แค่เพียง 3 คน ในปี พ.ศ. 2515 คนตาบอดทั้ง 3 สามารถสอบผ่านข้อ เขียน เข้าเรียนต่อในระดับอุดมศึกษา คือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยศิลปากร(ทับแก้ว) ได้ แต่ผู้ บริหารวิทยาลัยศิลปากร(ทับแก้ว)ในขณะนั้น ได้ให้นางสาวประยงค์ โสตถิเศรษฐ์ สอบตกสัมภาษณ์ เพราะเกรงว่าจะไปเตะกระจกของอาคาร เรียนแตกเสียหายและจะเป็นอันตรายแก่คนตาบอดเอง ในปี พ.ศ. 2542 แม้รัฐบาลได้ประกาศให้เป็นปีการศึกษาสำาหรับคน พิการ และมีนโยบายว่า “คนพิการทุกคนที่อยาดเรียนต้องได้เรียน” แต่ โรงเรียนวัดโบสถ์ ซึ่งตั้งอยู่ที่ถนนสามเสนก็ขันป้ายประกาศไม่รับคนพิการ ทุกประเภท แม้ปัจจุบัน โรงเรียนของ ก.ท.ม. ยังประกาศไม่พร้อมที่จะรับ เด็กตาบอดเข้าเรียนร่วม เมื่อคนพิการไม่ได้รับโอกาสได้รับการศึกษา ก็ ย่อมไม่มีโอกาสในการพัฒนาความสามรถของตนให้เต็มตามศักยาภาพ
  • 3. คนพิการจำานวนมาก จึงไม่มีความสามารถในการทำางานต่างๆได้ ตกเป็น ภาระของครอบครัวและสังคมอย่างที่คนไทยเชื่อ เจ้าของกิจการและผู้บริหารหน่วยงานของรัฐที่มีความเชื่อดั่งเดิมดัง กล่าวจะปฏิเสธไม่จ้างแรงงานคนพิการเมื่อคนพิการไม่มีโอกาสได้รับการ ศึกษา ก็ย่อมไม่มีความสามารถที่จะทำางานได้ ส่วนคนพิการ มาตรา 11 นายอำาเภอมีอำานาจยกเว้นเด็กที่มีลักษนะดังต่อไปนี้ จากการเรียน อยู่ในโรงเรียนประถมศึกษา (1) เด็กที่มี่สวนบกพร่องทางกำาลังกาย,กำาลังความ คิดหรือเป็นโรค (2) เด็กที่อยู่ห่างจากโรงเรียนประถมศึกษาที่ให้เปล่าเกินสองพัน เมตร หรือที่ไม่สามารถจไปถึงโรงเรียนได้ด้วยเหตุหนึ่งที่ไม่มีทางจะหลีกเลี่ยงได้ 5 มาตรา 8 เมื่อผู้ปกครองร้องขอ คณะกรรมการการประถมศึกษาอำาเภอ และ คณะกรรมการการประถมศึกษากิ่งอำาเภอ มีอำานาจยกเว้นให้เด็กซึ่งมีลักษณ์ดัง ต่อไปนี้ ไม่ต้องเข้าเรียนในโรงเรียนประถมศึกษาได้ (1) มีความบกพร่องในทาง ร่างกายหรือจิตใจ 4 จำานวนน้อยที่มีโอกาสได้รับการศึกษามีความสามรถที่จะทำางานได้ แต่เมื่อ เจ้าของกิจการหรือผู้บริหารหน่วยงานราชการ รัฐวิสหกิจยังมีความเชื่อดัง เดิมอยู่ ก็จะปฏิเสธไม่รับคนพิการเข้าทำางาน และยิ่งไปกว่านั้นก้มีกฏหมาย เป็นจำานวนมากที่รองรับความเชื่อดั่งเดิมด้วยการกำาหนดให้คนพิการ ทุพพลภาพขาดคุณสมบัติที่จะประกอบอาชีพต่างๆได้ เช่น พระราชบัตญัติ ทนายความ พ.ศ. 25086, พระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 25117, พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 24978, พระ ราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายอัยการ พ.ศ. 25039,คนหูนวกเป็นใบ้ ห้ามสมัครรับเลือกตั้ง ดังปรากฏในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2517, พ.ศ. 2534 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 พระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. 2523 พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2497 ในส่วนของ รัฐวิสาหกิจ เช่น ระเบียบว่าด้วยเรื่องรับสมัคร บรรจุ และให้ออกของ พนักงานเจ้าหน้าที่ องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภันฑ์(ร.ส.พ.) พุทธศักราช 2495 (ฉบับประมวลแก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 30), ข้อบังคับว่าด้วยการแต่ง ตั้ง ถอดถอน เลื่อน และลดขนาดเงินเดือน และกำาหนดอัตราเงินเดือน พนักงานการท่าเรือแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2498, ข้อบังคับองค์การสุรา ว่าด้วย ระเบียบพนักงานสุราในสังกัดองค์การสุรา พ.ศ. 2507, ข้อบังคับ องค์การเภสัชกรรมว่าด้วย การบรรจุ การแต่งตั้ง การออกจากงาน ระเบียบวินัย การลงโทษและการร้องทุกข์ของพนักงาน พ.ศ. 2511, ระเบียบว่าด้วยการรับสมัครงาน ของโรงงานยาสูบ พ.ศ. 2513, ข้อบังคับ ว่าด้วยระเบียบพนักงานองค์การคลังสินค้า (ฉบับที่9) พ.ศ. 2516, ข้อ บังคับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคว่าด้วยระเบียบพนักงาน พ.ศ. 2517, ข้อ บังคับการปะปานครหลวง ฉบับที่ 28 ว่าด้วยการบรรจุ การแต่งตั้งและการ ถอดถอนพนักงาน พ.ศ. 2517 ระเบียบการธนาคารออมสิน ฉบับที่ 121
  • 4. ว่าด้วย การแต่งตั้งและการถอนจากตำาแหน่งพนักงาน ธนาคารออมสิน เป็นต้น ผลที่ติดตามมานอกจากจะไม่มีการจ้างคนพิการในภาครัฐแล้ว ลูกจ้างหรือข้าราชการหรือรัฐวิสาหกิจที่มาพิการภายหลังก็จะถูกให้ออก จากงาน หรือราชการ ที่เห็นได้ชัดคือทหารผ่านศึกที่พิการ ปัจจุบัน องค์การสงเคราะห์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ต้องจักสวัสดิการให้ ทหารที่พิการจำานวนถึง 3,348 คน 10 กรณีของ ที่ร้อยตรี สุทัศน์ ศูนย์กลาง พิการทางการมองเห็น เนื่องจากถูกทำาลายร่างาย และต้องออกจากราชการ ในปี พ.ศ. 2510 มาตาร 5 ผู้ขอจดทะเบียนและรับใบอณุญาติเป็นทนายความชั้นหนึ่งต้องมี คุณสมบัติ ดังต่อไปนี้.....(6) ไม่เป็นผูมีกายพิการหรือจิตบกพร่องอันเป็นเหตุให้ ้ ผู้หย่อนสมรรถภาพในการประกอบอาชีพทยานความ 7 มาตรา 8 แพทยืสภาประกอบด้วยสมาชิกสองประเภทคือ (1) สมาชิกสามัญ ได่ แก่คนที่คุณสมบัติดังต่อไปนี้...(ง)...ไม่เป็นผู้มีรางกายทุพพลภาพ... ่ 8 มาตรา 44 ผูสมัครเข้าเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ ...ต้องมีคุณสมบัติ ้ ดังนี้.....(4) )...ไม่เป็นผูมีร่างกายทุพพลภาพ... ้ 9 มาตรา 23 ผูสมัครสอบคัดเลือกเพื่อบรรจุเป็นข้าราชการอัยการในตำาแหน่ง ้ อัยการผู้ช่วย ต้อง...(11) ไม่...มีกายทุพพลภาพหรือเป็นโรค... 10 ที่มาองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ข้อมูล ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2545 6 เห็นได้ชัดว่าความเชื่อดั่งเดิมนี้ได้สร้างบาปกำาเนิดแก่คนพิการทำาให้ คนพิการไม่อาจพัฒนาความสามารถของตนให้เต็มตามศักยภาพจน สามารถพึ่งตนเองได้ ต้องตกเป็นภาระให้ครอบครัวหรือสังคมเลี้ยงดู และ เป็นการตอกยำ้าความเชื่อดังเดิมให้อยู่กับคนไทยอย่างถาวร จึงไม่เป็นเรื่อง ที่แปลกที่คนพิการจะถูกเก็บซ่อนไว้ในบ้าน หรือปล่อยให้ขอทานอยู่ตาม ท้องถนนเมื่อปรากฏว่าท้องที่ใดการขอทานมีรายได้ค่อนข้างดีก็จะเกิดแก๊ง ขอทานก๊งขอทานจะไปรวบรวมคนพิการเพื่อไปขอทานในจุดต่างๆ ที่สาม รถสร้างรายได้ การขอทานได้สร้างความรำาคาญแก่ประชาชนทั่วไป จงมี พ.ร.บ. ควบคุมขอทาน พ.ศ. 2484 ให้อำานาจเจ้าหน้าที่ของกรม ประชาสงเคราะห์จับกุมคนขอทานไปเลี้ยงดูที่สถานสงเคราะห์ได้11 บุคคลที่ อยู่ในสถานสงเคาระห์ถือเป็นบุคคลที่เป็นภาระจึงได้รับการดูแลอย่างขอไป ทีสำาหรับคนพิการขอทานของแก๊งขอทานจะได้การช่วยเหลือจากแก๊ง ขอทานโดยอ้างตนว่าเป็นผู้ปกครองเด็กพิการเพื่อให้ออกมาจากสถาน สงเคราะห์ และไปขอทานที่อื่น การขอทานตาม พ.ร.บ. ดังกล่าว กิน ความรวมถึงการเล่นดนตรีเพื่อแลกกับเงินในที่สาธารณะด้วย 12 ทำาให้คน ตาบอดที่เล่นดนตรีแลกกับเงินอย่างเช่น วณิพก ถูกจับในข้อหาขอทานและ ถูกนำาไปอยู่ในสถานสงเคราะห์ ซึ่งมีคนที่เป็นโรคจิตหรือคนบ้าอยู่ปะปน
  • 5. เป็นจำานวนมาก หรือเป็นคนส่วนใหญ่ในสถานสงเคราะห์ คนตาบอดที่ถูก จับในข้อหาขอทานอย่าง นายสำาราญ เสมาทอง ได้บอกเล่าว่า ตนต้องอยู่ ร่วมกับคนบ้า ที่ร้องเสียงโหยหวนทั้งคืน ทำาให้นอนไม่หลับ อยู่ที่นั่นเพียง 3 วันก้แทบจะเสียสติไปด้วย และเชื่อว่าคนดีหลายคนต้องลายเป็นโรคจิต หรือคนบ้าจากกการอยู่ในสถานสงเคราะห์นั้น 2.ปรัช ญาความเชือ ใหม่ก ับ ผบกระทบ ่ เพื่อแก้ปัญหาของคนพิการย่างเป็นระบบ ในอารยประเทศโดย เฉพาะกลุ่มประเทศตะวันตกนำาหลักปรัชญาความเชื่อใหม่ที่ก่อผลกระทบต่อ คนพิการในทางที่สร้างสรรค์เข้ามาใช้หลักปรัชญาความเชื่อใหม่ได้แก่ หลักความเชื่อในศักยภาพคนพิการ และ หลักความเชื่อและศักดิ์ศรีและ ความเท่าเทียมกันของมนุษย์ หลักปรัชญาความเชื่อใหม่นี้จะมีผลกระทบต่อ เส้นทางชีวิตคนพิการไปในทางที่สร้างสรรค์ช่วยให้คนพิการได้พัฒนา ความสามารถของตนได้เต็มตามศักยภาพ จนสามารถพึ่งตนเองได้ เป็น พลังให้กับสังคมได้และมีส่วนร่วมในการพัฒนาเศรษฐกิจและประเทศได้ 2.1 หลัก ความเชือ ในศัก ยภาพของคนพิก าร ่ 2.1.1 หลัก ปรัช ญาความเชื่อ ในศัก ยภาพกับ ผลกระทบ พ.ร.บ. ควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2484 มาตรา 7 เมือปรากฏจากการ ่ สอบสวนว่า ผู้ใดทำาการขอทาน และผู้นั้นเป็นคนชลาภาพ หรือเป็นคนวิกลจริต พิการ หรือเป็นคนมีโรค ซึงไม่สามารถ ประกอบอาชีพอย่างใดและไม่มีทางเลี้ยง ่ ชีพอย่างอื่น ทั้งไม่มีญาตมิตรอุปการะเลี้ยงดูก็ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งตัวไปยัง สถานสงเคราะห์ 12 พ.ร.บ. ควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2484 มาตรา 6 ห้ามมิให้บุคคลใด ทำาการขอทาน การขอทรัพย์สินของผู้อื่น โดยมิได้ทำาการงานอย่างใด หรือให้ ทรัพย์สินสิ่งใดตอบแทนและมิใช่ขอกันฐานญาตมิตรนั้น ให้ถือว่าเป็นการ ขอทาน การขับร้อง การดีดสีตีเป่า การแสดงการละเล่นต่างๆ หรือการกระทำา อย่างอืนในทำานองเดียวกันนั้น เมือมิได้มีข้อตกลงโดยตรง หรือ โดยปริยายที่ ่ ่ จะเรียกเก็บค่าฟังค่าดูแต่ขอรับสินทรัพย์ตาม แต่ผู้ฟังผู้ดูจะสมัครใจให้นั้น ไม่ให่ รับฟังเป็นข้อแก้ตัวว่าไม่ได้ทำาการขอทานตามบทบัญญัตินี้ 11 ปรัชญาความเชื่อของมนุษย์เป็นตัวกำาหนดพฤติกรรมของมนุษย์ มนุษย์ที่เชื่อว่าขยะเป็นสิ่งปฏิกูลที่น่ารังเกียจ มนุษย์ก็มีพฤติกรรมที่จะขจัด ให้ขยะนั้นพ้นจากตัวไป และนำาไปทิ้งที่ของคนอื่น ขยะจึงเป็นปัญหา ระหว่างบ้านกับบ้าน ชุมชนกับชุมชน เมืองกับเมืองมาโดยตลอด แต่มนุษย์ ที่เชื่อว่าขยะเป็นเมืองทอง มนุษย์กลุ่มหลังนี้ก็จะพยายามเอาขยะมาทำาให้ เกิดประโยชน์ ตั้งแต่มีการคัดแยกขยะขาย มีทอดผ้าป่าขยะรีไซเคิล เป็นต้น ดังนั้นจึงเห็นได้ชัดว่าขยะของกลุมคนแรกนั้นเป็นภาระ แต่ขยะ ของคนกลุ่มหลังเป็นเงินทอง ความแตกต่างของขยะเกิดจากความแตกต่าง ของหลักปรัชญาความเชื่องของคน
  • 6. ความพิการก็เช่นกัน ในสังคนที่เชื่อว่าคนพิการไม่มีความสามารถ หรือมีความสามรถจำากัดความพิการเป็นที่รวมของคนชั่วร้ายการให้คน พิการทำางานหนักเป็นการสร้างเวรกรรม ความเชื่อนี้มีผลกระทบต่อคน พิการอย่างมากดังที่กล่าวมาแล้ว ทำาให้คนพิการต้องตกเป็นคนพิการที่ไม่มี ความสามารถจริงๆต้องเป็นภาระของครอบครัวและสังคม ตรงกันข้าม ใน สังคมที่เชื่อง่าคนพิการมีศักยภาพเหมือนกับบุคคลอื่น พัมนาความสามารถ อย่างไร้ขอบเขต ทำางานได้ พึ่งตนเองได้ และเป็นพลังให้กับสังคม ความ เชื่อมีผลกระกระทบไปยังคนพิการในทางมที่สร้างสรรค์เป็นอย่างมาก กล่าวคือ พ่อแม่มีความเชื่อในศักยภาพของเด็กพิการจะสนใจเอาใจใส่ หาความรู้และทำากิจกรรมในการกระตุ้นพัฒนาลูกหลานที่พิการของตนให้มี การพัฒนาการเหมือนเด็กทั่วไปเท่าที่จะเป็นไปได้เมื่อถึงวัยเรียนก็เข้าเรียน ได้เหมือนเด็กทั่วไป ผู้บริหารโรงเรียนและครูที่มีความเชื่อในศักยภาพของ เด็กพิการก็ยินดีรัยเด็กพิการเข้าเรียนหนังสือและช่วยพัฒนาให้เด็กพิการได้ มีความรู้ความสามารถเหมือนเด็กทั่วไป แม้เด็กพิการต้องการเรียนหนังสือ ในสาขาที่ครูเองเชื่อว่าน่าจะเรียนไม่ได้ก็ส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กเรียนอย่าง เต็มที่ไม่ปิดโอกาส ทำาให้คนพิการพัฒนาความสามารถของตนได้เต็มตาม ศักยภาพ ทำาให้คนพิการสามารถช่วยเหลือตัวเองในชีวิตแระจำาวันทำางาน เลี่ยงชีพได้ นายจ้างทั้งภาครัฐและเอกชนที่เชื่อในสักยภาพของคนพิการก็ รับคนพิการเข้าทำางานตามความาสามรถของคนพิการ เมื่อเป็นเช่นนี้คน พิการย่อมพึ่งตนเองได้และมีส่วนร่วมในการพัฒนาเศรษฐกิจและประเทศ เช่นบุคคลทั่วไป ดังนั้นจะเห็นได้จากตัวอย่างคนพิการ ดังต่อไปนี้ Franklin Eleanor Roosevelt อดีตประธานาธิบดีของสหัฐอเมริกา พิการโปลิโอเมื่อ อายุได้ 35 ปี จนไม่สามารถเดินได้ หรือยืนได้ ต่อสู่ชีวิตจนได้รับเลือกตั้ง เป็นประธานาธิบดี 4 สมัย รับผิชอบบทบาทของสหัฐอเมริกาในภาวะ เศรษฐกิจตกตำ่า ในช่วงทศวรรษ 1930 และสงครามโลกครั้งที่ 2 อีกทั้ง สามารถบริหารประเทศอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นผู้นำาหนึ่งที่มีบทบาทต่อ สันติภาพของโลก 13 Stephen William Hawking เป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ชื่อเสียงก้อง โลกทางด้านฟิสิกส์ “เจ้าพ่อของจักวาล” พิการเป็น ALS (Amyotrophic Lateral Sclerosis or Lou Gehrig ’s disease) เป็นอัมภาพทั้งตัว ตั้งแต่ท่อนคอลงไป ส่ายได้แต่หัว ขยับนิ้วได้ พูดไม่ได้ จึงต้องสื่อสารผ่าน คอมพิวเตอร์ สำานังานคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ,จุลสารฟื้นฟู, ปีที่ 4 ฉบับที่ 8 ตุลาคม 2543-มกราคม 2544. 13
  • 7. เครื่อง Speech Synthesizer (เมื่อต้องการสื่อสารก็ใช้นิ้วเลือกคำา ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต้องการจะสื่อผลงานที่สร้างชื่อเสียงได้ดแก่ A Brief History of Time14 Lena Maria Klingvall เป็นนักร้องที่มีชื่อเสียง สวีเดน พิการตั้งแต่ กำาเนิด ไม่มีแขนทั้งสองข้าง มีขาข้างซ้ายยาวเพียงคร฿งหนึ่งของขาข้าง ขวา เคยเป็นนักกีฬาว่ายนำ้าทีมชาติลได้รับเหรียญรางวัลมากมายต่อมาได้ ยึดดารร้องเพลงเป็นอาชีพ มีผลงานหลายอัลบั้ม อาทิเช่น My life, Best Friend, Amazing Grace15 Dana Woft เป็นศิลปินวาดภาพสีนำ้า วันย 42 ปี พิการ Quadriplegic เนื่องจากกระดูกสันหลังบาดเจ็บจากอุบัติเหตุรถชนเมื่ออายุ 15 ขวบ ปัจจุบันนี้เป็นเจ้าของสมาคมศิลปินปากและเท้าแห่งชาติ (The Association of Mouth and Foot Painting Artists) 16 Alex Ndeezi ประธานสามาคมหูนวกแห่งอูกันดา (Chairman of Uganda National Association of The Deaf) ได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหูนวกคนแรกในทวีปแอฟริกา Sharon Ridgeway สตรีหูนวกอังกฤษคนแรกที่ได้รับปริญญาเอก ด้านจิตวิทยาทำางานเป็นนักวิจัยที่เมืองแมนเซสเตอร์ ประเทศอเมริกา และ เป็นสมาชิกสมาคมสุขภาพจิตในยุโรป 17 Helen Adams Keller หรือใครๆ เรียกเธอว่า “หญิงบอด มหัศจรรย์” พิการหูนวกตาบอด และเป็นใบ้ ติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นโดยใช้ การสัมผัสฝีปากและคอของคู่สนทนา และสะกดคำาในมือของผู้สมทนา แม้จะ พิการซำ้าซ้อนแต่ก็ได้เดินทางไปทั่วโลกในนามมูลนิธิเพื่อคนตาบอดแห่ง ชาติ (สหรัฐอเมริกา) ต่อสู้เพื่อสิทธิสตรีและสิทธิของคนที่ไม่อาจพึ่งตนเองได้ รณรงค์เรียกร้องเพื่อมนุษยธรรม หลายสิ่งหลายอย่างที่ทำาเกินกว่าที่ใครจะ คิดว่าบุคคลที่บกพร่องทางร่างกาย ถึง 3 อย่างจะสามารถ ทำาได้18 Erik Weihenmayer เป็นคนตาบอดแรกที่พิชิตยอดเขาเอเวอเรสต์ ซึ่งเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก ในระดับความสูง 29,029 ฟุต 19 ความเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ถือเป็นแก่นของศาสนาพุทธที่ใช้กับ บุคลลทัวไป ซึ่งต้องนำามาใช้กับคนพิการด้วยตามหลักความเชื่อของศาสนา ่ พุทธ เชื่อว่ามนุษย์พัฒนาความสามารถได้อย่างไร้ขอบเขต และการพัฒนา ความสามารถนั้นใช้หลักไตรสิขา คือพัฒนากาย พัฒนาจิต และพัฒนา ปัญญา ทั้งนี้เพื่อให้ทุกคนสามารถพึ่งตนเองได้ ตามหลักตนเป็นที่พึ่งแห่งตน (อัตตหิ อัตตโน นาโถ) หลักความเชื่อนี้ต้องนำามาใช้กับคนพิการ คนพิการ ที่เชื่อ 14 Nick Donaldson,”The Stephen Hawking Pages,”<http://www.psyclops.com/hawking/bio/main.html> ณ วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 15 เลน่า มาเรีย คลิงวัลล์,บันทึกจากปลายเท้า,แปลโดย อุลล่า ฟิวส์เตอร์ และสมใจ รักษาศรี ,(กรุงเทพมหานคร : นามมีบุคส์, 2542)
  • 8. Bangkok post ฉบับวันที่ 23 สิงหาคม 2544 _________,”Plenary Speakers: Sharon Ridgeway,” <http://www.slsymposium.inet.hr/ridgeway.htm>, ณ วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 18 Fiona Macdonald .Helen Keller. 19 http://www.nfb.org/erlk.htm 16 17 ในศักยภาพของตนมีคติพจน์ว่า “คนพิการทำาอะไรได้มากกว่าที่ใครคิด” ส่วนผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์และสมาชิกของสังคมที่เชื่อในศักยภาพของ คนพิการจะมีคติพจน์ว่า “คนพิการที่ต้องการทำาเรื่องที่ท้าทายแม้คิดว่าเขา ทำาไม่ได้ก้ต้องส่งเสริมให้เขาทำา” สองคติพจน์นี้จะช่วยให้คนพิการปลด ปล่อยความสามารถของตนออกมาเต็มศักยภาพของแต่ละบุคคล พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต) กล่าวว่า “...เรามักคิดเพียงว่าคนที่ ร่างกายพิกลพิการจะช่วยตัวเองไม่ได้หรือทำาอะไรได้น้อย เป็นภาระแก่คน อื่น เป็นเครื่องถ่วงสังคม.. แต่ความจริงปรากฏให้เห็นว่า คนพิการมี ศักยภาพที่พัฒนาให้กลายเป็นผู้สามารถสร้างสรรค์ได้ ในสังคมที่ฉลาด รู้จักให้โอกาสและสนับสนุน ก็ปรากฏว่าคนพิการสามารถฝึกฝนพัฒนาตน ให้ช่วยตัวเองได้ และทำาอะไรๆ ที่เป็นประโยชน์แก่สังคมได้ โดยเฉพาะคนที่ พิการด้านหนึ่ง อาจจะมีศักยภาพที่พัฒนาได้ดีพิเศษอีกด้านหนึ่ง ซึ่งทำาให้ คนพิการที่รู้จักฝึกฝนพัฒนาตนเอง สามารถทำาอะไรบางอย่างได้เก่งกว่า คนปกติทั่วไป บางทีถ้าสังคมรู้จักสนับสนุน อาจฝึกกลุ่มคนพิการให้ทำางาน พิเศษบางอย่างแก่สังคม ที่คนปกติทำาไม่ค่อยได้ เป็นกลุ่มผู้ชำานาญพิเศษ ด้านหนึ่ง 20 2.1.2 หลัก ปรัช ญาความเชื่อ ในศัก ยภาพของมนุษ ย์แ ละกฎหมายที่ รองรับ หลักปรัชญาความเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ได้รับการยอมรับเอาไป บรรจุไว้ในรัฐธรรมนูญ มาตราต่างๆ เช่น มาตรา 42 บุคคลย่อมมีเสรีภาพในทางวิชาการ การศึกษาอบรม การเรียนการสอน การวิจัย และการเผยแพร่ งานวิจัยตามหลักวิชาการ ย่อมไดรับความคุ้มครอง ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดต่อ หน้าที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน มาตรา 43 บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไม่ น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดย ไม่เก็บค่า ใช้จ่าย มาตรา 50 บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการประกอกกิจการหรือ ประกอบอาชีพ และการแข่งขันโดยเสรีภาพอย่างเป็นธรรม การจำากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทำามิได้เว้นแต่โดย อาศัย อำานาจตามบทบาทบัญญัติแห่งกฏหมายเฉพาะเพื่อประโยชน์ในการ รักษา ความมั่นคงของรัฐหรือเศรษฐกิจของประเทศ การคุ้มครอง ประชาชน ในด้านสาธารณูปโภค การรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีล
  • 9. ธรรม อันดีของประชาชน การจัดระเบียบการประกอบอาชีพ การคุ้มครอง ผู้บริโภค การผังเมือง การรักษาทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อม สวัสดิภาพของประชาชน หรือเพื่อป้องกันการผูกขาด หรือขจัดความไม่เป็น ธรรมในการแข่งขัน มาตรา 80 รัฐต้องคุ้มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน ส่งเสริมความ เสมอ ภาคของหญิงและชาย เสริมสร้างพัฒนาความเป็นปึกแผ่นของ ครอบครัว และความเข้มแข็งของชุมชน พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุต โต.ทศวรรษธรรมทัศน์พระธรรมปิฎก หมวด วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2542 กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา.หน้า 37 20 รัฐต้องสงเคราะห์คนชรา ผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพและผู้ด้อย โอกาสให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและพึ่งตนเองได้ มาตรา 81 รัฐต้องจัดการศึกษาอบรมแลสนับสนุนให้เอกชนจัดการอบรม ให้เกิดความรู้คู่คุณธรรมจัดให้มีกฏหมายเกี่ยวกับการ ศึกษาแห่งชาติ ปรับปรุงการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจและสังคม สร้างเสริมความรู้และปลูกฝังจิตสำานึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สนับสนุนการค้นคว้าวิจัยในศิลป วิทยาการต่างๆ เร่งรัดพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเพื่อการ พัฒนาประเทศ พัฒนาวิชาชีพครู และส่งเสริม ภูมิปัญญาท้องถิ่นศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ 2.2 หลัก ความเชือ ในศัก ดิค รีแ ละความเท่า เทีย มกัน ของมนุษ ย์ ่ ์ 2.2.1 ความเบื้อ งต้น (1) ความเชื่อ ในศัก ดิศ รีแ ละความเท่า เทีย มตามหลัก ศาสนาคริส ต์ ์ ศักดิ์ศรี ในทางศาสนาคริสต์ หมายถึง ความเมตตราของพระเจ้า อัน มีพื้นฐานมาจากหลักของศาสนาที่ว่า มนุษย์นั้นถูกสร้างขึ้นมาตามความ ประสงค์ของผู้เป็นเจ้า ดังนั้น ศักดิ์ศรี ในความหมายของคริสต์จึงตกแก่ บุคคลทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน ในด้านหนึ่งนั้น ศักดิ์ของมนุษย์เหล่านี้มิอาจ ถูกทำาลายหรือถูกพรากไปได้โดยบุคคลที่สามหรือบุคคลอื่นๆหากแต่ถูก ทำาลายได้โดยบาปของตนเอง ด้วยเหตุนี้ศักดิ์ของความเป็นมนุษย์ในความ หมายของคริสต์จึงเป็นเรื่องความสัมพัน์ระหว่างมนุษย์กับผู้เป็นเจ้า ดังจะพบได้จากข้อความต่อไปนี้ “มนุษย์ทุกคนเสมอเหมือนกันใน สายตาของพระผู้เป็นเจ้ามนุษย์ทั้งหลายต่างก็เป็นบุตรของพระผู้เป็นเจ้าด้วย กันทุกคน”, “ไม่มีทั้งยิวหรือกรีก ไม่มีทั้งทาส หรือเสรีชน ไม่มีทั้งชายหรือ
  • 10. หญิงเพราะสูเจ้าทั้งปวงเป็นหนึ่งในพระเยซูคริสต์”, “ไม่มีข้อแตกต่าง ระหว่างยิวและกรีก เพราะพระองค์เดียวกันเหนือคนทั้งปวง เป็นที่อุดม สมบูรณ์ของคนทั้งปวงที่เฝ้าพระองค์”21 ในยุคกลางแนวคิดในเรื่องกฎธรรมชาติได้แสดงออกมาในรูปความ เชื่อในทางศาสนาคริสต์โดยกฎหมายธรรมชาติเป็นกฎหมายที่สืบเนืองมา จากเจตน์จำานงของพระผู้เป็นเจ้า กฎหมายที่พระผู้เป็นเจ้าทรงบัญญติขึ้นมี ฐานะเหนือกฎหมายที่รัฐบัญญติขึ้น 22 ตามแนวความคิดของรุสโซ สังคมที่มีระเบียบในทางการเมืองจึงเป็น ผลของวิวัฒนาการของสังคมมนุษย์เพื่อช่วยให้มนุษย์ได้กลับมีเสรีภาพที่ เคยมีอยุ่ดั้งเดิมใน “สภาวะธรรมชาติ” และมนุษย์ยังคงความเป็นอิสระทั้งที่ มนุษย์ยอมสละสิทธิที่มีอยู่ทั้งสิ้นโดยปราศจากเงื่อนไขใดๆให้กับองค์อธปัตย์ เพราะว่าองค์อธิปตย์ก็คือประชาชน ธีรนันท์ ขาวเผือก, “การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540: ศึกษากรณีคนพิการ”(วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำาแหง,2542),หน้า 14-15 22 อ้างแล้ว, หน้า 16 21 ทั้งหมดนั่นเอง ดังนั้นประโยชน์ตรงกันข้ามหรือขัดแย้งกับผลประโยชน์ของ ประชาชนได้ประชาชนแต่ละคนต่างก็มีส่วนประกอบเป็นองค์อธิปัตย์ ดังนั้น ย่อมเป็นไปไม่ได้ที่องค์อธิปัตย์จะแสดงเจตนาเป็นอย่างอื่นนอกเหนือไปจาก เจตนาของสมาชิกของประชาคม เพราะการแสดงเจตนาขององค์อธิปัตย์จะ ชอบธรรมต่อเมื่อเป็น “เจตน์จำานงร่วม” ซึ่งเป็นเจตนาส่วนมากของสมาชิก เป็นเงื่อนไขสำาคัญยิ่งของสมาชิกประชาคม กฎหมายรับรองสิทธิเสรีภาพ ของประชาชนในประเทศต่างๆ 23 คำาสอนและแนวความคิดในศาสนาคริสต์ และแนวความคิดในเรื่อง กฎหมายธรรมชาติได้แพร่หลายไปในบรรดานักคิด นักการเมือง และ ประชาชนในประเทศอารยธรรมตะวันตก ทำาให้เกิดมีการต่อต้านการใช้ อำานาจเกิดขอบเขตของ “ผู้มีอำานาจการปกครอง” ประชาชนชาวอเมริกันได้ ประกาศเสรีภาพไม่ยอมอยู่ใต้อำานาจปกครองของอังกฤษ 24 วันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1776 ในคำาประกาศอิศภาพ(The Declaration of Independent) ซึ่งร่างโดย Thomas Jefferson “เรา ถือความจริงซึ่งได้แจ้งจักษ์โดยตัวของมันเองแล้วว่ามนุษย์เราเกิดมาย่อม เท่าเทียมกัน พระผู้เป็นเจ้าผู้สร้างมนุษย์ได้ทรงประทานสิทธิติดตัวบาง ประการอันไม่อาจพรากจากมนุษย์ไปได้ สิทธิเหล่านี้ คือ สิทธิในชีวิต สิทธิ ในเสรีภาพ และสิทธิในการแสวงหาความสุข และเพื่อที่จะปกป้องกันสิทธิดัง กล่าวนี้ มนุษย์จึงได้จัดตั้งรัฐบาลที่ได้รับอำานาจโดยชอบธรรม โดยความ ยินยอมของประชาชนผู้อยู่ใต้ปกครอง ดังนั้น เมื่อใดก็ตามที่รัฐบาลดำาเนิน
  • 11. การปกครองไปไนทางที่ทำาลายจุดมุ่งหมายดังกล่าว ก็เป็นสิทธิของ ประชาชนที่จะเปลียนหรือล้มเลิกรัฐบาลนั้นเสียก็ได้ และก่อตั้งรัฐบาลขึ้น ใหม่ให้ดำาเนินการตามหลักการเช่นว่าและให้มีอำานาจที่จะบันดาลความ ปลอดภัย และความผาสุขให้ได้มากที่สุด”25 หลักการของการรับรองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ปรากฎเป็นราย ลักษณ์อักษรครั้งแรกในรัฐธรรมนูญของอเมริกา รัฐธรรมนูญเกิดขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1789 เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับเรื่องสิทธินั้นแม้จะมีอยู้บ้างแต่ก็ยังไม่ บริบูรณ์ที่เดียว ต่อมาในปี 1791 จึงได้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ (AMENDMENT) ให้มีบทบัญญัติที่รับรองและคุ้มครองสิทธิมากขึ้น ประการหนึ่งคือ “ให้ความเสมอภาคของประชาชนอเมริกัน ซึ่งแตกต่างกัน ในเรื่องเชื้อชาติ ผิว”26 ผลของสงครามประกาศอิสรภาพ และรัฐธรรมนูญ ของประเทศ สหรัฐอเมริกา ประกอบกับแนวคิดทางปรัชญาทางการเมืองของนักคิดใน ขณะนั้น เช่น มองเตสกิเออ รุสโซ ทำาให้เกิดการปฏิวัติขึ้นในฝรั่งเคสใน ปีค.ส.1789 และมีการประกาศปฏิญาณว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และพลเมือง ซึ่งมีสาระสำาคัญพอสรุปได้ประการหนึ่งคือ “เน้นภึงความเป็นอิสระและความ มีสิทธิเท่าเทียมกันของมนุษย์”27 อ้างแล้ว, หน้า 18-19 อ้างแล้ว, หน้า 19 25 อ้างแล้ว, หน้า 20 26 นพนิธิ สุริยะ,สิทธิมนุษย์ชน, พิมพ์ครั้งที่ 1(กรุงเทพ: สำานักพิมพ์วิญญชน, 2537), หน้า 44-45 23 24 ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่า การประกาศอิสรภาพอเมริกัน ปี 1776-ปฏิญญาว่า ด้วยสิทธิของมนุษย์และพลเมือง ปี 1789 และบทบัญญัติว่าด้วย สิทธิ(อเมริกัน) ปี 1791 เป็นครั้งแรกทีมีการบัญญัติถึงหลักการที่มีการ ยอมรับว่าคือข้อกำาหนดแห่งกฎหมายว่าด้วยสิทธิมนุษย์ชนสมัยใหม่ 28 แต่การที่จะให้หลักการดังกล่าวมีผลจริงจัง สหรัฐอเมริกาและ ฝรั่งเศสได้ใช้วิธีทำาเป็นรัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรขึ้น รัฐธรรมนูญนี้มี ความมุ่งหมายให้บัญญัติหน้าที่ของสถาบันแห่งรัฐที่เกิดขึ้นใหม่และให้บรรจุ บัญชีระบุสิทธิขั้นพื้นฐานด้วย 29 และวิธีการดังก็ได้ถูกถ่ายทอด และนำาไป ใช้ในประเทศอื่นอีกมากมาย หลังจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสิ้นสุดลง ณ ที่ประชุมสันติภาพ ได้มี การตกลงถึงพันธกรณีของรัฐสมาชิกใดๆที่จะต้องคุ้มครองชนกลุ่มน้อย ซึ่ง
  • 12. อยู่ในอาณาเขตของตน ลักษณะชองความคุ้มครองนี้ได้ทำาในรูปของความ ตกลงระหว่างประเทศ 30 ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองสิทธิของชนกลุ่มน้อย ในสิทธิขั้นพื้น ฐานในชีวิต เสรีภาพ ศาสนา และเพื่อให้มีผลใช้บังคับได้อย่างจริงจัง จึงได้ จัดสันนิบาตชาติเป็นผู้ประกันการคุ้มครองชนกลุ่มน้อยเหล่านี้31 ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ได้มีการจัดตั้งองค์การสหประชาชาติ ขึ้น ในวันที่ 26 มิถุนายน 1495 ประเทศต่างๆได้ร่วมลงนามในกฎบัตร สหประชาชาติ ที่แสดงความมุ่งประสงค์ขององค์กรในข้อ 1 วรรค 2 ว่า “เพื่อพัฒนาความสัมพัน์ฉันมิตรระหว่างประชาชาติทั้งหลาย โดยยึดการ เคารพต่อหลักการแห่งสิทธิที่เท่าเทียมกัน และการกำาหนดเจตจำานงของ ตนเองทั้งหลายเป็นมูลฐาน และจะดำาเนินมาตรการอื่นๆอันเหมาะสมเพื่อเป็น กำาลังแก่สันติภาพสากล” และใน วรรค 3 ว่า “เพื่อให้รวมถึงการร่วมมือระหว่างประเทศในอัน ที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม หรือ มนุษยธรรม และในการส่งเสริมและสนับสนุนการเคารพต่อสิทธิมนุษยชน และต่ออิสรภาพมูลฐานสำาหรับทุกคนโดยไม่เลือกประวัติในเรื่องเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา” และในข้อ 55 ว่า ...สหประชาชาติจะส่งเสริม “การเคารพโดยสากล การปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพอันเป็นมูลฐานสำาหรับทุกคนโดย ไม่เลือกประวัติในเรื่องเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา”32 การประกาศหลักการต่างๆเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่สำาคัญ คือ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (THE UNIVERASL DECLARATION OF HUMAN RUGHTS) โดยมีจุดมุ่งหมายที่ให้เป็น “มาตรฐานร่วมกันเพื่อความสำาเร็จสำาหรับประชาชน และประชาชาติทั้งมวล ด้วยจุดประสงค์ที่จะให้ปัจเจกบุคคลทุกผู้ทุกนามและองค์กรของสังคมทุก หน่วย โดยการระลึกถึงเสมอๆถึงปฏิญญานี้, พยายามสั่งสอนและให้การ ศึกษาเพื่อส่งเสริม 28 29 30 31 32 อ้างแล้ว, อ้างแล้ว, อ้างแล้ว, อ้างแล้ว, อ้างแล้ว, หน้า หน้า หน้า หน้า หน้า 47. 48. 51-52. 52. 56. การเคารพต่อสิทธิและเสรีภาพต่อสิทธิและเสรีภาพเหล่านี้ และด้วย มาตรการที่เจริญไปข้างหน้า, ทั้งในและระหว่างประเทศ,เพื่อให้ได้มาซึ่ง การยอมรับและการถือปฏิบัติต่อสิทธิเหล่านั้นอย่างสากลและได้ผล,ทั้งในหมู่
  • 13. ประชาชนของรัฐสมาชิกเอง และในหมู่ประชาชนแห่งดินแดงที่อยู่ภายใต้ ดุลอาณาของรัฐสมาชิกดังกล่าว” สาระสำาคัญของปฏิญญาดังกล่าวคือ สิทธิ มนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานสำาหรับชายหญิงทุกหนแห่งในโลกโดย ไม่มีการเลือกประติบัติ ดดยปรากฎหลักปรัชญาและหลักการพื้นฐานแห่ง สิทธิไว้ใน ข้อ 1 และข้อ 2 ของปฏิญญาสากลนี้ กล่าวคือ 33 ข้อ 1 กล่าวถึงปรัชญา ซึ่งปฎิญญาอิงอยู่ว่า “มนุษย์ทั้งหลายเกิดมา อิสระเสรีและเท่าเทียมกันทั้งศักดิ์ศรีและสิทธิ ทุกคนได้รับการประสิทธิ ประสาทเหตุผลและนโนธรรม และควรปฏิบัตต่อกันอย่างฉันพี่น้อง ิ ข้อ 2 วางแนว หลักการพื้นฐานแห่งความเท่าเทียมกันและการไม่ เลือกประติบัติในส่วนที่เกี่ยวกับการอุปโภคสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้น ฐาน ได้กำาหนดห้ามการ “จำาแนกความแตกต่างในเรื่องใดๆเช่น เชื้อชาติ สี ผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรือทางอื่นใด ชาติหรือ สังคมอันเป็นที่มาเดิม ทรัพย์ กำาเนิด หรือสถานะอื่นใด” (2) ความเชื่อ ในศัก ดิศ รีแ ละความเท่า เทีย มกัน ของมนุษ ย์ต ามหลัก ์ ศาสนาพุท ธ ทางศาสนาพุทธ พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ในอัคคัญว่า วรรณะทั้งสี่อัน ประกอบด้วย กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ และศูทรนั้นสามารถประพฤติได้ทั้ง ในทางธรรมที่ดำาและขาว ดังนั้น วรรณหรือชนชั้นจึงไม่ใช่เครื่องวัดความ ผิดถูกชั่วดีของบุคคล นอกจากนั้นได้ตรัสไว้ในอัพพัฏฐสูตรว่า ใครก็ตามที่ ยังถือชาติ ถือโคตร ถือตัว หรืออาวาหะ(การสมรส) คนเหล่านั้นย่อมอยู่ห่าง ไกลจากความรู้และความประพฤติอันยอดเยี่ยม ต่อเมื่อละความถือชาติ ถือ โคตร ถือตัว หรืออาวาหะได้ จึงจะททำาให้แจ้งได้ซึ่งความรู้และความ ประพฤติอันเยี่ยม และในอัคคัญสูตรได้ตรัสไว้ว่า ทั้งพราหมณ์ แพศย์ ศูทร ก็เกิดจากพวกนั้น มิใช่เกิดจากพวกอื่น เกิดจากคนที่เสมอกัน มิใช่เกิดจาก คนที่ไม่เสมอกัน เกิดขึ้นโดยธรรมมิใช่เกิดขึ้นโดยอธรรมจากคำาตรัสของ พระพุทธองค์ในพระสูตรต่างๆ แสดงให้เห็นว่า ตามหลักพระพุทธศาสนา คุณค่าของบุคคลขึ้นอยู่กับความรู้(วิชา) และความประพฤติและเป็นผู้ ปราศจากอวิชชาแล้ว บุคคลนั้นย่อมเป็นผู้ที่ประเสริฐสุด กล่าวคือในสมัยพุทธกาล คนอินเดียได้มีการแบ่งชนชั้นเป็น กษัตริย์ พราหมณ์ แพทย์ ศูทร คน ชนชั้นศูทรจะถูกจำากัดไม่ให้มีโอกาสพัฒนา ความสามารถของตนเอง ไม่มีโอกาสที่จะมีงานดีๆทำา เพื่อให้ทุกคนชนชั้น เท่าเทียมกัน พระพุทธเจ้าจึงใช้การบวชเป็นพระภิกษุสงฆ์ เป็นการแก้ปัญหา ดังกล่าว คนทุกชนชั้นเมื่อบวชเป็นพระภิกษุสงฆ์ ย่อมเท่าเทียมกัน คน ชนชั้นศูทรย่อมได้โอกาสเรียนหนังสือ พัฒนาความสามารถของตนได้อย่าง ไร้ขอบเขตเท่าเทียมกับชนชั้นอื่น แม้แต่ในประเทศไทยคนจนผู้ยาอไร้ก็ใช้ การบวชเป็นพนะภิกษุสงฆ์เพื่อเปิดโอกาสเพื่อได้เรียนหนังสือและศึกออกมา หางานดีๆทำา 33 อ้างแล้ว, หน้า 58-59
  • 14. (3)ความเชื่อ ในศัก ดิศ รีแ ละความเท่า เทีย มกัน ของมนุษ ย์แ ละผลก ์ ระทบต่อ คนพิก าร การที่คนพิการถูกสังคมเชื่อว่า เป็นกลุ่มชนหรือชนชั้นที่เป็นภาระของ สังคม เป็นชนชั้นที่น่าเวทนาสงสาร คนพิการย่อมได้รับการดูแลจากสังคม หรือรัฐบาลในรูปแบบของการสงเคราะห์ให้มีชีวิตอยู่ได้ไปวันๆ การเลือก ปฏิบัติต่อคนพิการด้วยการออกกฎหมายมาจำากัดสิทธิไม่ให้คนพิการได้รับ การศึกษา หรือมีงานทำาจึงเป็นเรื่องธรรมดา ทำาให้คนพิการขาดโอกาสที่จะ ได้รับการพัฒนาความสามารถของตนได้เต็มตามศักยภาพ และขาดโอกาส ที่จะมีงานทำา กิจกรรมทางสังไม่ว่าจะเป็นเรื่องการท่องเที่ยวกีฬา สันทนาการ และการให้บริการต่าง ก็มักจะลืมนึกถึงคนพิการ ทำาให้คน พิการขาดการเข้ามีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆของสังคม ด้วยเหตุนี้สำาหรับคนพิการแล้ว หลักปรัชญาความเชื่อในศักดิ์ศรีและ ความเท่าเทียมกันของมนุษย์จึงมีความสำาคัญมาก เพราะตามหลักปรัชญานี้ สังคม และรัฐบาล ต้องเปิดโอกาสให้คนพิการเข้าถึงบริการสาธารณะ ได้ เหมือนบุคคลทั่วไปไม่ว่าจะเป็นบริการทางการแพทย์ การศึกษา การขนส่ง สาธารณะการจัดให้มีงานทำา และการเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆทาง สังคม ส่วนเอกชนด้วยกันต้องไม่เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมเช่นกัน เช่น ไม่จ้างแรงงานคนพิการเพราะเหตุที่เป็นคนพิการ นั้นจะกระทำาไม่ได้ คน พิการจึงมีคติพจน์ว่า “ที่คนพิการต้องยุ่งยากลำาบากแสนเข็ญทุกวันนี้เพราะ สิ่งแวดล้อมไม่เอื้อต่อคนพิการ เอื้อต่อทุกคน ความพิการไม่มีอะไรมากไป กว่าความน่ารคาญเล็กๆน้อยๆเหมือนกรณีคนอ้วนเกินปหรือคนสูงเกินไป” หลักปรัชญานี้จึงเปิดโอกาสให้คนพิการได้พัฒนาความสามารถของตนจน เต็มตามศักยภาพ มีงานทำาเหมือนกับคนอืน ตลอดจนเปิดโอกาสให้คนพิการ เข้ามีส่วนร่วมในการพัฒนาเศรษกิฐ สังคม และประเทศชาติ (4) ความเชื่อ กับ บทบัญ ญัต ใ นรัฐ ธรรมนูญ ไทยปัจ จุบ ัน ิ หลักปรัชญานี้ได้นำามาบรรจุไว้ในรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 เช่นกัน ดังจะเห็นได้จาก ม.4 กำาหนดให้ ศักดิ์ความเป็นมนุษย์ สิทธิ และเสรีภาพ ของทุกคน ย่อยได้รับความคุ้มครอง, ม.26 การใช้อำานาจโดยรัฐต้องคำานึง ถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนูษย์ สิทธิ และเสรีภาพ,ม.28 บุคคลย่อมอ้างศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์ หรือใช้สิทธิและเสรีภาพได้เท่าที่ไม่ละเมิดสิทธิของบุคคล อื่น, ม.29 การจำากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลจะกระทำาไม่ได้ , ม.30 บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย ชายหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกันการเลือกปฏิบัติ โดยไม่เป็นธรรมเพราะเหตุแห่งความแตกต่างในเรื่องต่างๆ จะกระทำาไม่ได้ มาตราการที่รัฐกำาหนดขึ้นเพื่อขจัดอุปสรรคหรือส่งเสริมให้บุคคลสามารถ ใช้สิทธิและเสรีภาพได้เช่นเดียวกับบุคคลอื่นย่อมไม่ถือเป็นการเลือกปฏิบัติ
  • 15. โดยไม่เป็นธรรม, ม.55 บุคคลที่พิการหรือทุพพลภาพ มีสิทธิได้รับสิ่ง อำานวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะแความช่วยเหลืออื่นจากรัฐ ตามที่กฏ หมายกำาหนด เพื่อให้หลักปรัชญานี้มีผลใช้บังคับในทางปฏิบัติ จึงมีการนำาไป บัญญัติไว้ในกฎหมายซึ่งสามารถแยกออกเป็น 2 หลักย่อยๆคือ 1. หลักการห้ามการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม 2. หลักการขจัดอุปสรรคหรือส่งเสริมให้บุคคลสามารถใช้สิทธิและ เสรีภาพได้เช่นเดียวกับบุคคลอื่นๆ 2.2.2 หลัก การห้า มการเลือ กปฏิบ ัต โ ดยไม่เ ป็น ธรรม ิ การเลือกปฏิบัติที่มีผลทำาให้สิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของบุคคลไม่เท่า เทียมกัน ไม่ว่านื่องจากสาเหตุใดก็ตามถือว่าเป็นการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็น ธรรมจะกระทำาไม่ได้ การเลือกปฏิบัติอาจกระทำาได้ใน 3 ลักษณะ ด้วยการ (1) การแบ่งแยก (Distinction) (2) กีดกัน (Exclusion) (3) จำากัด (Restriction) 34 การห้ามเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม ปรากฏในรัฐธรรมนูญ มาตรา 30 วรรค 3 “การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุความแตก ต่างในเรื่องถิ่นกำาเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพ ทางกายหรือสูขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การ ศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติของ รัฐธรรมนูญ จะกระทำามิได้” สำาหรับกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ที่เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม เช่นกฏหมายระเบียบ ข้อบังคับ ที่จำากัดสิทธิไม่ให้คนพิการได้รับการศึกษา ไม่ให้ทำางาน รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ได้กำาหนดมาตรการเยียวยาไว้ให้ ทั้งในกรณีก่อนกฏหมายมีผลใช้บังคับและหลังที่กฏหมายมีผลบังคับใช้แล้ว สำาหรับกรณีก่อนกฏหมายมีผลบังคับ รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 มาตรา 262 กำาหนดไว้ชัดว่า ให้(1)ให้ ส.ส. ส.ว. ไม่น้อยกว่า หนึ่งในสิบ สำาหรับร่าง พระราชบัญญัติทั่วไป (2) ให้ ส.ส. ส.ว. ไม่น้อยกว่ายี่สิบคนสำาหรับร่างพระ ราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ (3) นายกรัฐมนตรี เห็นว่าร่างพระราช บัญญัติ หรือร่างพระราชบัญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่ามีข้อความขัดแย้งกับ รัฐธรรมนูญ ให้ส่งความเห็นต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยว่ากฏหมายดัง กล่าวมีข้อความขัดแย้งต่อกฏหมายรัฐธรรมนูญหรือไม่ ส่วนในกรณีที่กฏ หมายมีผลบังคับแล้วบุคคลใดเห็นว่ากฏหมายระเบียบข้อบังคับดังกล่าวมี ถ้อยคำา หรือข้อความที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 30 วรรค 3 ก็ให้นำาเรื่อง
  • 16. ไปร้องทุกข์ต่อผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา เมื่อผู้ตรวจการแผ่นดินของ รัฐสภาเห็นว่า กฏหมาย ระเบียบข้อบังคับ มีถ้อยคำาหรือข้อความขัดต่อ รัฐธรรมนูญ มาตรา 30 วรรค 3 ก็ให้ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาเสนอ เรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยต่อไป ตามรัฐธรรมนูญมาตรา 198 ส่วนบุคคลที่เชื่อว่าตนได้รับความเสียหายจากกฏหมายระเบียบข้อบังคับที่ เลือกปฏิบัติต่อตนโดยตรง บุคคลดังกล่าวอาจใช้วิธีฟ้องต่อศาลยุติธรรม แทนการร้องต่อผู้ตรวจการแผนดินของรัฐสภาก็ได้ ตามรัฐธรรมนูญมาตรา 264 ให้ศาลส่งความเห็นที่คู่กรณีหรือศาลเห็นเองว่าบทบัญญัติใดของ กฎหมาย กฎ หรือข้อบังคับ ขัดแย้งต่อรัฐธรรมนูญ เพื่อศาลรัฐธรรมนูญจะ ได้พิจารณาวินิจฉัย ธีรนันท์ ขาวเผือก, “การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540: ศึกษากรณีคนพิการ”, หน้า 28 34 คำาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญให้ใช้ได้ในคดีทั้งปวง แต่ไม่กระทบ กระเทือนถึงคำาพิพากษาของศาลอันถึงที่สุดแล้ว อย่างไรก็ตาม ถึงแม้กฏหมายจะใช้หลักปรัชญาความเชื่อใหม่แต่ผู้ใช้ กฎหมายยังยึดหมั่นอยู่กับหลักปรัชญาความเชื่อดั่งเดิม ผลของคำาวินิจฉัย ของศาลรัฐธรรมนูญอาจไม่เป็นประโยชน์ต่อคนพิการก็ได้อย่างกรณีของ นายศิริมิตร บุญมูล และนางสาวบูญจุติ กลับประสิทธื ที่พิการเนื่องจากโรค โปลิโอ ได้สมัครสอบเป็นผู้ช่วยผู้ช่วยผู้พิพากษาแต่ถูกกรรมการตุลาการตัด สิทธิไม่ให้มีสิทธิสอบโดยอ้างว่าขาดคุณสมบัติตาม พระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการฝ่ายตุลาการ พ.ศ. 2543 มาตรา 26(10) “...มีกายหรือจิตใจ ไม่เหมาะสมที่จะเป็นข้าราชการตุลาการ” โดยขอให้ผู้ตรวจการแผ่นดินของ รัฐสภา นำาเรื่องขึ้นสู่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า ข้อความดังกล่าวขัดต่อ กฎหมายรัฐธรรมนูญ มาตรา 30 วรรค 3 หรือไม่ เมื่อผู้ตรวจการแผ่นดิน ของรัฐสภา นำาเรื่องขึ้นสู่ศาลรัฐธรรมนูญ และได้มีคำาวินิจฉัยในวันที่ 30 เมษายน 2545 (คำาวินิจฉัยที่ 16/2545) ว่า บทบัญญัติดังกล่าวไม่ขัดต่อ กฎหมายรัฐธรรมนูญ ด้วยเหตุผลว่า “บทบัญญัติของพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 มาตรา 26(10) เป็นไปตามความจำาเป็นและความเหมาะสมของฝ่ายตุลาการ จึงเห็นว่า บทบัญญัติของพระราชบัญญัติของระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาล ยุติธรรม พ.ศ.2543 มาตรา 26 (10) ดังกล่าว เป็นลักษณะตามข้อยกเว้น ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาราจักรไทย พ.ศ. 2540 มาตรา 29 ซึ่งไม่ กระทบกระเทือนถึงสาระสำาคัญแห่งสิทธิและเสรีภาพมีผลใช้บังคับเป็นการ ทั่วไป และไม่มุ่งหมายให้ใช้บังคับแก่กรณีใดกรณีหนึ่งหรือบุคคลใดบุคคล หนึ่งเป็นการเจาะจง และไม่เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมตาม มาตรา 30 แต่อย่างใด” 35 และคณะกรรมการตุลาการได้พิจารณาว่า นายศิริมิตร บุญมูล และนางสาวบุญจุติ กลับประสิทธิ์ ไม่มีสิทธิสอบคัดเลือกเข้าเป็นผู้