SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
29
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาฟสิกส เรื่องไฟฟาสถิต
ใบความรูที่ 4
สนามไฟฟาและเสนแรงไฟฟา
สนามไฟฟา (Electric field)
จากกฎของคูลอมบ จะเห็นวาเมื่อประจุไฟฟาอยูใกลกัน จะมีแรงระหวางประจุเกิดขึ้น ดังนั้นถาเรานําประจุ
อันหนึ่งซึ่งเรียกวา “ประจุทดสอบ” วางไวแลวนําประจุอื่นเขามาใกล จะมีแรงกระทําเกิดกับประจุนั้น คลายกับวาประจุ
ทดสอบแผอํานาจไฟฟาออกไปรอบ ๆ เรียกบริเวณที่อํานาจไฟฟาสงไปถึงวา “สนามไฟฟา”
นิยามของ สนามไฟฟา คือ แรงที่กระทําตอประจุทดสอบ +q 1 หนวย ถาตองการหาคาสนามไฟฟาที่
ตําแหนงใด ๆ ทําไดโดยนําประจุ +q ไปวางที่ตําแหนงนั้น เขียนไดเปน
F
E
q



2
KQq
E
qr


จะได 2
KQ
E
r


เมื่อ E

คือ สนามไฟฟา (N/C)
F

คือ แรงระหวางประจุ (N)
/Q q คือ ประจุไฟฟา (C)
r = ระยะระหวางประจุไฟฟาถึงประจุทดสอบ (m)
ทิศทางของสนามไฟฟา กําหนดใหเปนทิศของแรงที่กระทําตอประจุไฟฟาบวก ดังนั้น สนามไฟฟาจึงมีทิศพุง
ออกจากประจุบวกและพุงเขาสูประจุลบ
แรงที่กระทําตอประจุไฟฟาที่อยูในสนามไฟฟา
1. แรงที่กระทําตอประจุ q มีทิศเดียวกับสนามไฟฟา
2. แรงที่กระทําตอประจุ q มีทิศตรงกันขามกับสนามไฟฟา
ถาคาสนามไฟฟามีมากกวา 1 ตองหาสนามไฟฟาลัพธ โดยวิธีการรวมแบบเวกเตอร (เชนเดียวกับการหาแรงลัพธ
ในการหาแรงคูลอมบ)
คํานวณหาทิศทางของสนามไฟฟา คํานวณตามทิศของแรงลัพธ โดยใชสูตร
1
2
tan 


E
E
เสนแรงไฟฟา ( Line of electric field )
เสนแรงไฟฟาเปนเสนสมมติที่ฟาราเดยตั้งขึ้นเพื่อใชอธิบายเกี่ยวกับสนามไฟฟา เสนแรงไฟฟาทีทิศเดียวกับทิศของ
สนามไฟฟา คือ พุงออกจากประจุบวก พุงเขาสูประจุลบ
บริเวณที่มีความหนาแนนของเสนแรงไฟฟามาก ขนาดของสนามไฟฟาบริเวณนั้นมีคามาก อาจกลาวไดวาจํานวน
เสนแรงไฟฟาเปนตัวกําหนดขนาดของสนามไฟฟา
คุณสมบัติของเสนแรงไฟฟา
1. เสนแรงไฟฟาพุงออกจากประจุบวกและพุงเขาสูประจุลบ
2. เสนแรงไฟฟาแตละเสนไมตัดกัน
3. เสนแรงไฟฟาตั้งฉากกับผิววัตถุที่มีประจุเสมอ
30
4. เสนแรงไฟฟาไมพุงผานตัวนํา จะสิ้นสุดที่ผิวของตัวนําเทานั้น
5. เสนแรงไฟฟาจากประจุชนิดเดียวกันจะเบนออกจากกัน สวนเสนแรงไฟฟาจากประจุตางชนิดกันจะเสริมเปน
แนวเดียวกัน
จุดสะเทิน ( Neutral point ) คือ จุดที่สนามไฟฟาลัพธเปนศูนย เปนบริเวณที่ไมมีเสนแรงไฟฟาผาน
สนามไฟฟามี 2 ลักษณะ คือ
1. สนามไฟฟาไมสม่ําเสมอ เกิดจากจุดประจุ หรือสนามไฟฟาของวัตถุทรงกลม
จากจุดประจุ
สนามไฟฟามีความเขมบริเวณใกล ๆ กับจุดประจุมากกวาบริเวณที่หางออกไป
ตัวนําทรงกลม
ภายในทรงกลมไมมีสนามไฟฟา
มีเฉพาะที่ผิวของตัวนําเทานั้น เพราะ
วาเสนแรงไฟฟาไมพุงผานตัวนํา
2. สนามไฟฟาสม่ําเสมอ เกิดระหวางแผนตัวนําคูขนาน
ตัวอยางที่ 1 วางประจุ 1 ไมโครคูลอมบ ในสนามไฟฟาพบวามีแรงกระทํา 10 นิวตัน สนามไฟฟามีคาเทาใด
ตัวอยางที่ 2 ที่ตําแหนง A และ C มีประจุเปน 3.2  10-3
C และ –1.6 10-3
C ตามลําดับดังรูป เมื่อระยะ AB
= 4.8 m ,BC = 1.6 m จงหาขนาดและทิศทางของสนามไฟฟาที่ตําแหนง B
ตัวอยางที่ 3 ทรงกลมเล็ก ๆ 2 ลูก A มีประจุ +4  10-3
C และ B มีประจุ +1  10-3
C อยูหางกัน 10 cm จง
หาตําแหนงที่ความเขมของสนามไฟฟามีคาเปนศูนย (จุดสะเทิน)
+
+
+
+
+
+
+
E
A
B
C
X 0.1-X
A BP
31
ตัวอยางที 4 ทรงกลมรัศมี 20 เซนติเมตร และมีประจุไฟฟา -40 10-6
คุลอมบจงหา ความเขมของสนามไฟฟาที่
ก. ผิวทรงกลม
ข. ระยะ 80 cm. จากผิวทรงกลม
ค. ระยะ 10 cm. จากจุดศูนยกลางทรงกลม
แบบฝกหัด เรื่องสนามไฟฟาและเสนแรงไฟฟา
ทบทวน
1. เสนแรงไฟฟาและสนามไฟฟาคืออะไร
2. เสนแรงไฟฟา สัมพันธกับสนามไฟฟาอยางไร
3. สมการแสดงความสัมพันธระหวางประจุไฟฟา สนามไฟฟา และแรงกระทําตอประจุไฟฟาคืออะไร
4. จุดสะเทินหมายถึงอะไร
5. สนามไฟฟา ณ.ตําแหนงตาง ๆ ภายในตัวนําทรงกลมใด ๆ มีคาเปนเทาใด และสนามไฟฟาตําแหนงที่ติดกับ
ผิวตัวนํามีลักษณะอยางไร
ปญหา
1. อิเล็กตรอนเริ่มจากหยุดนิ่งในสนามไฟฟาคงที่ความเขม 104
N/C กําหนดใหอิเล็กตรอนมีประจุ 1.6
10-19
C มวลของอิเล็กตรอน 9.110-31
kg. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ดวยความเรงเทาใด
2. จงหาขนาดของสนามไฟฟาที่ทําใหอิเล็กตรอนมีแรงทางไฟฟาเทากับน้ําหนักของมันเอง กําหนดให
อิเล็กตรอนมีประจุ 1.6 10-19
C มวลของอิเล็กตรอน 9.110-31
kg.
3. จากรูปจุดประจุ A ขนาด -6  10-6
C และจุดประจุ B ขนาด 10 10-6
C วางหางกัน 4 cm จุด C
หางจากจุด B 5 cm และหางจากจุด A 3 cm สนามไฟฟาที่จุด C มีขนาดเทาใด

กํา

กํา
EB
A
B
C
EA

More Related Content

Viewers also liked

สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
Taweesak Poochai
 

Viewers also liked (8)

Physics2 1
Physics2 1Physics2 1
Physics2 1
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)
ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)
ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)
 
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิตหน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
 
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
 
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
 

4 สนามไฟฟ้าและเส้นแรงไฟฟ้า

  • 1. 29 เอกสารประกอบการสอนรายวิชาฟสิกส เรื่องไฟฟาสถิต ใบความรูที่ 4 สนามไฟฟาและเสนแรงไฟฟา สนามไฟฟา (Electric field) จากกฎของคูลอมบ จะเห็นวาเมื่อประจุไฟฟาอยูใกลกัน จะมีแรงระหวางประจุเกิดขึ้น ดังนั้นถาเรานําประจุ อันหนึ่งซึ่งเรียกวา “ประจุทดสอบ” วางไวแลวนําประจุอื่นเขามาใกล จะมีแรงกระทําเกิดกับประจุนั้น คลายกับวาประจุ ทดสอบแผอํานาจไฟฟาออกไปรอบ ๆ เรียกบริเวณที่อํานาจไฟฟาสงไปถึงวา “สนามไฟฟา” นิยามของ สนามไฟฟา คือ แรงที่กระทําตอประจุทดสอบ +q 1 หนวย ถาตองการหาคาสนามไฟฟาที่ ตําแหนงใด ๆ ทําไดโดยนําประจุ +q ไปวางที่ตําแหนงนั้น เขียนไดเปน F E q    2 KQq E qr   จะได 2 KQ E r   เมื่อ E  คือ สนามไฟฟา (N/C) F  คือ แรงระหวางประจุ (N) /Q q คือ ประจุไฟฟา (C) r = ระยะระหวางประจุไฟฟาถึงประจุทดสอบ (m) ทิศทางของสนามไฟฟา กําหนดใหเปนทิศของแรงที่กระทําตอประจุไฟฟาบวก ดังนั้น สนามไฟฟาจึงมีทิศพุง ออกจากประจุบวกและพุงเขาสูประจุลบ แรงที่กระทําตอประจุไฟฟาที่อยูในสนามไฟฟา 1. แรงที่กระทําตอประจุ q มีทิศเดียวกับสนามไฟฟา 2. แรงที่กระทําตอประจุ q มีทิศตรงกันขามกับสนามไฟฟา ถาคาสนามไฟฟามีมากกวา 1 ตองหาสนามไฟฟาลัพธ โดยวิธีการรวมแบบเวกเตอร (เชนเดียวกับการหาแรงลัพธ ในการหาแรงคูลอมบ) คํานวณหาทิศทางของสนามไฟฟา คํานวณตามทิศของแรงลัพธ โดยใชสูตร 1 2 tan    E E เสนแรงไฟฟา ( Line of electric field ) เสนแรงไฟฟาเปนเสนสมมติที่ฟาราเดยตั้งขึ้นเพื่อใชอธิบายเกี่ยวกับสนามไฟฟา เสนแรงไฟฟาทีทิศเดียวกับทิศของ สนามไฟฟา คือ พุงออกจากประจุบวก พุงเขาสูประจุลบ บริเวณที่มีความหนาแนนของเสนแรงไฟฟามาก ขนาดของสนามไฟฟาบริเวณนั้นมีคามาก อาจกลาวไดวาจํานวน เสนแรงไฟฟาเปนตัวกําหนดขนาดของสนามไฟฟา คุณสมบัติของเสนแรงไฟฟา 1. เสนแรงไฟฟาพุงออกจากประจุบวกและพุงเขาสูประจุลบ 2. เสนแรงไฟฟาแตละเสนไมตัดกัน 3. เสนแรงไฟฟาตั้งฉากกับผิววัตถุที่มีประจุเสมอ
  • 2. 30 4. เสนแรงไฟฟาไมพุงผานตัวนํา จะสิ้นสุดที่ผิวของตัวนําเทานั้น 5. เสนแรงไฟฟาจากประจุชนิดเดียวกันจะเบนออกจากกัน สวนเสนแรงไฟฟาจากประจุตางชนิดกันจะเสริมเปน แนวเดียวกัน จุดสะเทิน ( Neutral point ) คือ จุดที่สนามไฟฟาลัพธเปนศูนย เปนบริเวณที่ไมมีเสนแรงไฟฟาผาน สนามไฟฟามี 2 ลักษณะ คือ 1. สนามไฟฟาไมสม่ําเสมอ เกิดจากจุดประจุ หรือสนามไฟฟาของวัตถุทรงกลม จากจุดประจุ สนามไฟฟามีความเขมบริเวณใกล ๆ กับจุดประจุมากกวาบริเวณที่หางออกไป ตัวนําทรงกลม ภายในทรงกลมไมมีสนามไฟฟา มีเฉพาะที่ผิวของตัวนําเทานั้น เพราะ วาเสนแรงไฟฟาไมพุงผานตัวนํา 2. สนามไฟฟาสม่ําเสมอ เกิดระหวางแผนตัวนําคูขนาน ตัวอยางที่ 1 วางประจุ 1 ไมโครคูลอมบ ในสนามไฟฟาพบวามีแรงกระทํา 10 นิวตัน สนามไฟฟามีคาเทาใด ตัวอยางที่ 2 ที่ตําแหนง A และ C มีประจุเปน 3.2  10-3 C และ –1.6 10-3 C ตามลําดับดังรูป เมื่อระยะ AB = 4.8 m ,BC = 1.6 m จงหาขนาดและทิศทางของสนามไฟฟาที่ตําแหนง B ตัวอยางที่ 3 ทรงกลมเล็ก ๆ 2 ลูก A มีประจุ +4  10-3 C และ B มีประจุ +1  10-3 C อยูหางกัน 10 cm จง หาตําแหนงที่ความเขมของสนามไฟฟามีคาเปนศูนย (จุดสะเทิน) + + + + + + + E A B C X 0.1-X A BP
  • 3. 31 ตัวอยางที 4 ทรงกลมรัศมี 20 เซนติเมตร และมีประจุไฟฟา -40 10-6 คุลอมบจงหา ความเขมของสนามไฟฟาที่ ก. ผิวทรงกลม ข. ระยะ 80 cm. จากผิวทรงกลม ค. ระยะ 10 cm. จากจุดศูนยกลางทรงกลม แบบฝกหัด เรื่องสนามไฟฟาและเสนแรงไฟฟา ทบทวน 1. เสนแรงไฟฟาและสนามไฟฟาคืออะไร 2. เสนแรงไฟฟา สัมพันธกับสนามไฟฟาอยางไร 3. สมการแสดงความสัมพันธระหวางประจุไฟฟา สนามไฟฟา และแรงกระทําตอประจุไฟฟาคืออะไร 4. จุดสะเทินหมายถึงอะไร 5. สนามไฟฟา ณ.ตําแหนงตาง ๆ ภายในตัวนําทรงกลมใด ๆ มีคาเปนเทาใด และสนามไฟฟาตําแหนงที่ติดกับ ผิวตัวนํามีลักษณะอยางไร ปญหา 1. อิเล็กตรอนเริ่มจากหยุดนิ่งในสนามไฟฟาคงที่ความเขม 104 N/C กําหนดใหอิเล็กตรอนมีประจุ 1.6 10-19 C มวลของอิเล็กตรอน 9.110-31 kg. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ดวยความเรงเทาใด 2. จงหาขนาดของสนามไฟฟาที่ทําใหอิเล็กตรอนมีแรงทางไฟฟาเทากับน้ําหนักของมันเอง กําหนดให อิเล็กตรอนมีประจุ 1.6 10-19 C มวลของอิเล็กตรอน 9.110-31 kg. 3. จากรูปจุดประจุ A ขนาด -6  10-6 C และจุดประจุ B ขนาด 10 10-6 C วางหางกัน 4 cm จุด C หางจากจุด B 5 cm และหางจากจุด A 3 cm สนามไฟฟาที่จุด C มีขนาดเทาใด  กํา  กํา EB A B C EA