SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
บทที่1
บทนำ
ที่มำและควำมสำคัญ
เนื่องจากอาชีพเลี้ยงกุ้งเป็นอีกอาชีพหนึ่ งที่สามารถสร้างรายได้ให้กับคนลุ่มน้าทะเลสาบสงขลาได้
แ ล ะ ก็ ยั ง เ ป็ น อ า ชี พ ที่ ไ ม่ มี ค ว า ม ยุ่ ง ย า ก ล ง ทุ น ไ ม่ ม า ก เ ลี้ ย ง ง่ า ย
และยังทาให้คนลุ่มน้าทะเลสาบสงขลามีรายได้ดีและอาจจะสูงมากในบางรายที่เลี้ยงดี
ดั ง นั้ น ก ลุ่ ม ข อ ง ข้ า พ เ จ้ า จึ ง มี ค ว า ม ส น ใ จ ใ น อ า ชี พ เ ลี้ ย ง กุ้ ง
เพื่อให้ผู้ที่สนใจและผู้ที่ต้องการความรู้เกี่ยวกับวิธีการเลี้ยงกุ้งได้อ่านและนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้มา
กยิ่งขึ้น
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาวิธีการเพาะเลี้ยงกุ้ง
2. เพื่อศึกษาปัญหาในการเพาะเลี้ยงกุ้ง
3. เพื่อฝึกกระบวนการทารายงาน 5 บท
สมมุติฐำนของกำรศึกษำค้นคว้ำ
การศึกษาอาชีพเลี้ยงกุ้งน่าจะช่วยให้ผู้ที่สนใจนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้
ขอบเขตของกำรศึกษำ
การศึกษาได้แบ่งข้อมูลที่จะศึกษาค้นคว้าออกเป็น 3 ประเภท คือ การเพาะเลี้ยงกุ้ง ปัญหาในการเลี้ยงกุ้ง
ผลผลิตที่ได้จากการเลี้ยงกุ้ง
นิยำมศัพท์
1. กุ้ง หมายถึง ชื่อสัตว์น้าไม่มีกระดูกสันหลังในชั้น Crustacea อันดับ Decapoda มีหลายวงศ์
หายใจด้วยเหงือก ลาตัวยาว แบนหรือกลม แบ่งเป็นปล้องๆ เปลือกที่หุ้มท่อนหัวและ
อกก้ามและขาอยู่ที่ส่วนหัวและอก มี 10ขา มีทั้งในน้าจืดและน้าเค็ม]
2.อาชีพ หมายถึง การเลี้ยงชีวิต,การทามาหากิน
บทที่2
เอกสำรที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มของข้าพเจ้าได้ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนี้โดยแบ่งการศึกษาเป็น 3ประการ ดังนี้
หัวข้อย่อยที่ 1 สืบค้นเรื่อง “การเลี้ยงกุ้ง ”
หัวข้อย่อยที่ 2 สืบค้นเรื่อง “ปัญหาในการเลี้ยงกุ้ง ”
หัวข้อย่อยที่ 3 สืบค้นเรื่อง “ผลผลิตที่ได้จากการเลี้ยงกุ้ง ”
มีข้อมูลที่ได้ คือ
1. กำรเลี้ยงกุ้ง
ภำพที่ 1ฟำร์มเลี้ยงกุ้ง
กำรเลี้ยง
ปกติจะปล่อยลูกกุ้งขนาดลาตัวยาว ๑-๒ เซนติเมตร ซึ่งยังเป็นขนาดเล็ก
หากคนที่ไม่เคยสังเกตมาก่อนจะไม่รู้เลยว่าลูกกุ้งก้ามกรามต่างกับกุ้งฝอยอย่างไร
จึงมักมีข่าวอยู่เสมอว่าซื้อลูกกุ้งก้ามกรามไปปล่อยแล้วกลายเป็นกุ้งฝอย
ฉะนั้นจึงขอแนะวิธีสังเกตลูกกุ้งก้ามกรามกับกุ้งฝอยดังตารางข้างล่างนี้ถ้าเลี้ยงในกระชังไม้หรือที่ล้อมขัง ควรจะ
ปล่อยกุ้งที่มีขนาดใหญ่กว่าขนาดดังกล่าว คือ กุ้งจะต้องมีขนาดลาตัวยาวไม่น้อยกว่า ๒นิ้ว
กำรขนส่งลูกกุ้ง
ตามปกติจะบรรจุลงในถุงพลาสติกขนาด ๔๕x๗๕ เซนติเมตร ใส่น้าประมาณ ๓-๕ลิตร บรรจุลูกกุ้ง
๑,๕๐๐-๒,๐๐๐ ตัว (ขนาด ๑.๒-๒ เซนติเมตร) เดินทางในระยะไม่เกิน ๖ชั่วโมง
ถ้าจะต้องเดินทางไกลกว่านี้ หรือลูกกุ้งมีขนาดใหญ่จะต้องบรรจุลูกกุ้งน้อยกว่านี้ หรือลดอุณหภูมิให้อยู่ในระดับ
๒๐-๒๔ องศาเซลเซียส จะทาให้ลูกกุ้งมีโอกาสรอดมากขึ้น โดยใช้น้าแข็งใส่ข้างๆ ถุง
ข้อสาคัญในขณะลาเลียงอย่าให้ถุงกุ้งก้ามกรามถูกแดดหรือให้น้าอุ่นเป็นอันขาด
เพราะจะทาให้ลูกกุ้งใช้ออกซิเจนมากขึ้นและออกซิเจนในถุงหมดเร็ว
เมื่อถึงปลายทางลูกกุ้งจะอ่อนแอจมอยู่ก้นถุงและตายได้
ฉะนั้นเมื่อปล่อยลงบ่อหากไม่ได้ตรวจแล้วบางทีอาจเหลืออยู่ไม่กี่ตัว
อัตรำกำรปล่อยลูกกุ้ง
ก่อนปล่อยลูกกุ้งต้องสูบน้าเข้าบ่อไว้ก่อน
๑ วัน ถ้าเป็นบ่อใหม่ไม่ควรสูบน้าใส่บ่อนานเพราะจะทาให้แมลงปอมาไข่และเกิดตัวอ่อน
ซึ่งสามารถจับลูกกุ้งกินได้
ถ้าเป็นบ่อเก่าที่เลี้ยงอยู่แล้ว ควรใช้อวนมุ้งไนล่อนสีฟ้ากั้นเป็นคอกภายในบ่อไว้ส่วนหนึ่งสาหรับอนุบาลลูกกุ้งร
ะยะหนึ่ง ประมาณ ๑ เดือน
ในกรณีที่เลี้ยงกุ้งอย่างเดียวและมีน้าถ่ายเทดี ควรปล่อยกุ้งในอัตราส่วน ๑๕-๓๐ ตัวต่อตารางเมตร
เมื่อกุ้งมีอายุได้ประมาณ ๒-๓ เดือน จึงคัดกุ้งที่มีขนาดใกล้เคียงกันไปเลี้ยงในบ่อเดียวกัน ในอัตราส่วน ๕-๑๐
ตัวต่อตารางเมตร ซึ่งจะทาให้กุ้งในบ่อที่เลี้ยงหลังจากการคัดขนาดแล้ว มีอัตราการเจริญเติบโตที่ใกล้เคียงกัน
ถ้าน้าถ่ายเทไม่มากต้องลดจานวนลงเหลือ ๓-๕ตัวต่อตารางเมตร
จากการสารวจผู้เลี้ยงกุ้งในจังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดฉะเชิงเทรา ที่ปล่อยกุ้งในอัตราส่วน ๕-
๑๐ ตัวต่อตารางเมตร จะได้ผลิตผล ๑๕๐-๒๐๐ กิโลกรัมต่อไร่ ในระยะ ๗-๘ เดือน
ถ้าปล่อยกุ้งแน่นเกินไปกุ้งจะโตช้า
ในกรณีที่ใช้วิธีทยอยจับกุ้งโตออกตลอดปี ควรปล่อยกุ้งเป็นระยะทุก ๓-๔ เดือน
ในจานวนที่มากกว่ากุ้งที่จับออก ๓ เท่าเช่น ถ้าจับกุ้งใหญ่ขาย ๑,๐๐๐ ตัว ในระยะ ๔ เดือน
ก็ต้องปล่อยกุ้งเล็กลงไปแทนประมาณ ๓,๐๐๐ ตัว เป็นต้น
ในกรณีที่เลี้ยงรวมกับปลา อาจปล่อยกุ้งได้น้อย คือ ไม่เกิน ๕ ตัวต่อตารางเมตร ปลาที่เลี้ยงรวมกับกุ้งได้ คือ
ปลาที่กินพืช เช่น ปลาสลิดและปลาจาพวกปลาจีน ได้แก่ปลาลิ่น ปลาซ่ง และปลาเฉา ในอัตราไม่เกิน ๔๐
ตัวต่อไร่ สาหรับปลาจีนสามารถปล่อยเลี้ยงได้ ๒รุ่นในรอบปี
อย่างไรก็ดีมีข้อพิจารณาว่าถ้าต้องการเลี้ยงกุ้งเพื่อธุรกิจการค้าแล้วควรเลี้ยงกุ้งเพียงอย่างเดียว
ทั้งนี้เพราะการปล่อยปลาลงเลี้ยงรวมด้วยจะมีปัญหาตามมา ๒ ประการ คือ ปลาแย่งอาหารกุ้ง
ทาให้เสียค่าอาหารเพิ่มขึ้น
และปลาจะรบกวนในขณะใช้อวนลากกุ้ง นอกจากนี้ การเลี้ยงปลารวมกับกุ้งยังได้ผลิตผลต่ากว่าการเลี้ยงกุ้งอย่า
งเดียว
ในบางแห่งนิยมเลี้ยงปลากินยุงไว้ให้แพร่พันธุ์ในบ่อกุ้ง
ทั้งนี้เพราะปลากินยุงกินอยู่บนผิวน้าจึงใช้กาจัดตัวอ่อนของแมลงผิวน้าและแมลงปอ ซึ่งชอบกินลูกกุ้ง
ปลาชนิดนี้มีขนาดใหญ่ไม่เกิน ๒ นิ้ว กินลูกกุ้งไม่ได้ แต่กุ้งจับเป็นอาหารได้หรือถ้ามีมากๆ
ก็บดให้กุ้งกินเป็นอาหาร จึงควรเลี้ยงไว้ในบ่อกุ้ง
ภำพที่ 2กำรให้อำหำรกุ้ง
อำหำรและกำรให้อำหำร
ส่วนประกอบของอำหำร กุ้งเป็นสัตว์ที่กินอาหารไม่เลือก ทั้งซากสัตว์และเมล็ดพืช
กุ้งหากินในเวลากลางคืนตามพื้นก้นบ่อ ฉะนั้นอาหารที่ใช้เลี้ยงกุ้งในบ่อจึงได้แก่เนื้อปลาสด เนื้อหอย
และอาหารผสมบดและอัดเม็ดตากแห้ง และเนื่องจากกุ้งกินอาหารช้า อาหารผสมจึงควรจมอยู่ในน้าได้นาน
ไม่ละลายน้าเร็ว อย่างน้อยจะต้องคงรูปอยู่ได้นานไม่ต่ากว่า ๓ ชั่วโมง ส่วนผสมของอาหารควรมีโปรตีนร้อยละ
๒๐-๓๐ และมีอัตราส่วนผสมโดยน้าหนัก ดังนี้
ปัจจุบันนี้มีอาหารเม็ดสาเร็จรูปขายเป็นถุงมีปริมาณบรรจุถุงละ ๒๐-๒๕ กิโลกรัม ในราคากิโลกรัมละประมาณ
๑๐ บาท นับว่าสะดวกดี
กำรให้อำหำร สาหรับกุ้งเล็กที่มีขนาด ๑-๒ เซนติเมตร
ที่เลี้ยงในบ่อดิน เริ่มให้อาหารตั้งแต่วันแรกที่ปล่อยลูกกุ้งลงเลี้ยงประมาณ ๑/๒ กิโลลกรัมต่อจานวนกุ้ง ๑๐,๐๐๐
ตัวต่อวัน หว่านให้กินวันละ ๒ ครั้ง เช้าและเย็นและให้เพิ่มอีกประมาณร้อยละ ๓๐-๕๐
ของน้าหนักอาหารเดิมต่อทุก ๒ สัปดาห์ จนอายุประมาณ ๔ เดือน จึงให้เพิ่มในอัตราร้อยละ ๒๕-๓๐
ของน้าหนักอาหารเดิมต่อทุก ๓-๔ สัปดาห์ โดยลดจานวนครั้งเหลือเพียงครั้งเดียวในเวลาเย็น
ในการพิจารณาให้อาหารเรามีวิธีการพิจารณาดังนี้ ถ้าเป็นกุ้งเล็กต่ากว่า ๑๐๐
ตัวต่อกิโลกรัมให้อาหารประมาณร้อยละ ๑๐-๑๒ ของน้าหนักกุ้ง ถ้าเป็นกุ้งขนาด๕๐-๘๐
ตัวต่อกิโลกรัมให้อาหารประมาณร้อยละ ๕-๘ ของน้าหนักกุ้ง ถ้ากุ้งใหญ่กว่านี้ให้อาหารประมาณร้อยละ ๑-๓
ของน้าหนักกุ้ง ถ้าเป็นอาหารสดจะต้องให้มากกว่านี้ประมาณ ๓-๕
เท่า อาหารเม็ดแห้งต้องใช้ประมาณ ๓ กิโลกรัม จึงจะเทียบได้กับอัตราส่วนน้าหนักกุ้ง ๑ กิโลกรัม
ราคาอาหารเม็ดกิโลกรัมละประมาณ ๘-๑๐ บาท เพราะฉะนั้นค่าใช้จ่ายสาหรับอาหารที่ใช้เลี้ยงกุ้งประมาณ ๓๐-
๔๐ บาทต่อน้าหนักกุ้ง ๑ กิโลกรัม โดยมีอัตรารอดตายประมาณร้อยละ ๓๐-๔๐
ปัญหำในกำรเลี้ยงกุ้ง
ปัญหาสาคัญที่พบเสมอในการเลี้ยงกุ้ง ซึ่งไม่ใช่โรคและศัตรูแต่ทาให้เกิดความเสียหาย มีดังนี้
๑. การขาดแคลนออกซิเจนในบ่อ มักเป็นกับบ่อที่เลี้ยงกุ้งไว้หลังจากอายุ ๔ เดือนเป็นต้นไป
โดยเฉพาะในฤดูร้อนน้าน้อยและวันที่มีอากาศครึ้ม อบอ้าว อาการที่แสดงว่าขาดออกซิเจน คือ
ในตอนเช้ามืดกุ้งจะขึ้นมาปรากฏอยู่ที่ขอบบ่อมากผิดปกติ บางตัวอาจจะกระโดดขึ้นมาบนตลิ่ง
ซึ่งแสดงว่ามีออกซิเจนในน้าต่ากว่า ๑.๕ ส่วนในล้าน ต้องรีบแก้ไข มิฉะนั้น กุ้งอาจตายหมดบ่อ
การแก้ไขกระทาโดยสูบน้าเข้าทันทีพร้อมทั้งให้อากาศ หรือใช้เครื่องตีน้าเพิ่มออกซิเจนในเวลากลางคืน
ปริมาณออกซิเจนในบ่อควรให้มีไม่ต่ากว่า ๓ ส่วนในล้าน
๒. กุ้งไม่โตเนื่องจากกุ้งไม่ลอกคราบ จะปรากฏลักษณะคล้ายตะไคร่น้าจับที่เปลือกกุ้ง ทาให้กุ้งผอม
น้าหนักเบาสาเหตุเนื่องจากให้อาหารน้อยและอาหารมีคุณค่าไม่เพียงพอ หรือให้อาหารมากเกินไป
ซึ่งทาให้ดินและน้าในบ่อเกิดการเน่าเสีย วิธีป้องกันคือ ไม่ปล่อยกุ้งลงเลี้ยงจนแน่นบ่อ ต้องถ่ายน้าบ่อยๆ
หรือใส่โล่ติ๊นหรือกากเมล็ดชาในอัตราส่วนตามที่กล่าวมาแล้ว
นอกจากปัญหาดังกล่าวแล้วยังพบปัญหาอื่นอีก คือ กุ้งก้ามโตแต่ตัวเล็กที่เรียกว่า
"กุ้งจิ๊กโก๋" ปัญหานี้เกิดจากความไม่สมดุลของจานวนกุ้งในบ่อ กล่าวคือ มีกุ้งตัวผู้น้อยกว่ากุ้งตัวเมียหลายเท่า
ทาให้กุ้งตัวผู้เสียพลังงานไปกับการผสมพันธุ์ อันเป็นเหตุให้กุ้งตัวผู้แคระแกร็น ไม่สมส่วน
สามารถแก้ไขได้โดยการจับตัวเมียออกให้เหลือจานวนใกล้เคียงกับตัวผู้
โรคและศัตรู
การเลี้ยงกุ้งในบ่อไม่ค่อยมีปัญหาเกี่ยวกับโรคมากนัก เท่าที่พบเป็นโรคที่ไม่รุนแรง ได้แก่
๑.โรคเหงือกดา เกิดจากเชื้อบัคเตรีจับที่เหงือก มองเห็นเป็นสีดา ทาให้กุ้งหายใจไม่สะดวก
สาเหตุเกิดจากพื้นบ่อมีการหมักหมม น้ามีออกซิเจนต่า วิธีป้องกันและแก้ไข คือ
เปลี่ยนน้าแล้วย้ายกุ้งไปเลี้ยงในบ่อซึ่งเตรียมใหม่ให้ลอกคราบ เชื้อบัคเตรีที่จับอยู่ก็จะหลุดหายไป
๒.โรคเปลือกเน่า เกิดจากเชื้อบัคเตรีทาให้ขอบหรือปลายเหงือกมีสีดาและขาดหายไป
ถ้าเกิดที่ปลายขาจะทาให้ขากุด โรคนี้จะค่อยๆ ลุกลามไป ทาให้กุ้งเกิดการระคายเคือง
ไม่กินอาหารและตายในที่สุด สาเหตุเกิดจากการเลี้ยงกุ้งหนาแน่นและเปลี่ยนน้าไม่เพียงพอ
๓. ศัตรู ศัตรูของกุ้งที่เลี้ยงในบ่อมีหลายชนิด เช่นนกเป็ดน้า นกยาง กบ เต่า งูปลากินเนื้อทุกชนิด
โดยเฉพาะปลาช่อน แม้ขนาดเล็กก็สามารถกินลูกกุ้งได้ เมื่อจับได้จะพบลูกกุ้งอยู่ในท้องเสมอ
จึงเป็นปลาที่มีอันตรายและป้ องกันยากมากชนิดหนึ่ง เพราะสามารถกระโดดข้ามขอบบ่อได้และมีอยู่ทุกแห่ง
ส่วนปลาอื่นๆ ที่ไม่กินลูกกุ้งโดยตรงก็จะแย่งอาหาร
ทาให้เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น การป้องกันทาได้โดยใช้อวนมุ้งไนล่อนกั้นรอบบ่อและกรองน้าก่อนปล่อยเข้าบ่อกุ้ง เ
พื่อป้องกันไข่และลูกปลา สาหรับการกาจัดปลานั้นทาได้โดยสูบน้าออกให้เหลือประมาณ ๕๐ เซนติเมตร
แล้วจึงใช้กากเมล็ดชาป่น แช่น้าในอัตรา ๒๕-๓๐ กรัมต่อน้า ๑ ตัน หรือใช้โล่ติ๊นสดในอัตรา ๑ กิโลกรัมต่อน้า
๑๐๐ ตัน ทุบโล่ติ๊นแช่น้า ๑ คืนแล้วสาดให้ทั่วบ่อ ปลาจะตายหมดแต่กุ้งไม่ตาย
หลังจากนั้นจึงสูบน้าให้เข้าไปเท่าเดิม
ภำพที่ 3กุ้งตัวขนำดโตพอที่จะจำหน่ำยได้
ผลิตผล
กุ้งที่เลี้ยงควรจะใช้เวลาไม่น้อยกว่า ๗ เดือน ควรจับเมื่อตัวผู้มีน้าหนักไม่ต่ากว่า ๘๐ กรัม
และตัวเมียไม่ควรต่ากว่า ๕๐ กรัม
ปริมาณผลิตผลนั้นไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่างคือ การจัดการแหล่งน้าและอาหาร
ในต่างประเทศ เช่น ที่ฮาวายได้ผลิตผลสูงกว่า ๔๐๐ กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี
สาหรับในบ้านเราเท่าที่มีผู้เลี้ยงมาจะได้ผลิตผลประมาณ ๑๕๐-๒๕๐ กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี
กำรจับกุ้ง
ในการจับกุ้งนั้นเราควรพิจารณาปัจจัย ๒ประการ คือ ขนาดที่ตลาดต้องการ
และขนาดที่กุ้งเจริญเติบโตถึงจุดอิ่มตัว
ผู้เลี้ยงย่อมทราบดีว่ากุ้งโตไม่เท่ากัน ยิ่งเลี้ยงไปตัวผู้ยิ่งโตกว่าตัวเมียเมื่ออายุประมาณ ๘-๑๒
เดือน ตัวผู้จะโตกว่าตัวเมียประมาณ ๒ เท่าจากการสังเกตการเลี้ยงกุ้งก้ามกรามในบ่อพบว่า
ควรจับกุ้งเมื่อตัวผู้มีขนาด ๘-๑๐ ตัวต่อกิโลกรัมและตัวเมียมีขนาด ๑๕-๑๘ ตัวต่อกิโลกรัม
ซึ่งเป็นระยะที่กุ้งก้ามกรามในบ่อมีอัตราการเจริญเติบโตเร็วที่สุด ถ้าพ้นจากนี้ไปจะโตช้า
สาหรับการจับกุ้งนั้นทาได้ ๒ วิธี คือ จับเป็นครั้งคราวโดยใช้อวนไนล่อน และจับโดยการสูบน้าออกหมดบ่อ
ในการเลี้ยงกุ้งเพื่อเป็นธุรกิจนั้น ควรจับกุ้งโดยใช้อวนจะเหมาะกว่าวิธีอื่น ทั้งนี้เพราะกุ้งโตไม่เท่ากัน
การใช้อวนทาให้สามารถเลือกจับกุ้งที่โตออกขายก่อน กุ้งไม่บอบช้า ช่วยให้ได้ราคาดี
และประหยัดทั้งกาลังคนและอุปกรณ์ อย่างไรก็ตาม ไม่ควรจับกุ้งที่กาลังลอกคราบหรือเพิ่งลอกคราบใหม่ๆ
เปลือกยังนิ่ม เพราะจะเกิดบาดแผลง่ายทาให้เน่าเสียเร็ว และไม่ควรจับกุ้งขังไว้ค้างคืน
เพราะจะทาให้กุ้งได้รับความเสียหายเนื่องจากกุ้งลอกคราบ ประมาณร้อยละ ๕-๑๐
และส่วนมากจะถูกกุ้งตัวอื่นกิน เหลือบางส่วนเท่านั้น
อวนที่ใช้จับกุ้งก้ามกรามในบ่อควรใช้อวนไนล่อน ที่มีขนาดตากว้าง ๑.๒-๑.๕ นิ้ว เส้นอวนเบอร์ ๑๗
ยาวไม่น้อยกว่าความกว้างของบ่อ และลึกเป็น ๓ เท่าของความลึกของน้า ใช้ลากไปตามความยาวของบ่อ
วิธีนี้จะจับกุ้งขนาดน้าหนักไม่ต่ากว่าตัวละ ๕๐ กรัม
ส่วนกุ้งขนาดเล็กจะลอดไปได้ ทาให้สามารถคัดเอากุ้งที่มีขนาดที่ต้องการได้ในเวลารวดเร็ว และกุ้งไม่บอบช้า
ส่วนวิธีสูบน้าออกจนหมดบ่อแล้วจึงจับนั้น ควรทาเมื่อกุ้งเหลือน้อยและต้องการจะล้างบ่อ
เพราะเมื่อสูบน้าออกแล้วจะมีกุ้งขนาดเล็กอยู่จานวนหนึ่งซึ่งยังจาหน่ายไม่ได้ จาเป็นจะต้องเลี้ยงต่อไป
การจับโดยวิธีสูบน้าออกหมดนี้จะทาให้กุ้งบอบช้ามาก
การเลี้ยงกุ้งก้ามกรามในเชิงการค้านั้น มีปัญหาหลายประการ เช่น
ผลิตผลต่าเนื่องจากธรรมชาติของกุ้งชอบกินกุ้งด้วยกัน มีอัตราการเจริญเติบโตช้า
และมีปัญหาเกี่ยวกับแหล่งน้าที่ใช้เลี้ยง
บทที่3
วิธีดำเนินกำรศึกษำ
ข้าพเจ้าได้ออกแบบ วางแผน ในการเก็บข้อมูล รวบรวมข้อมูล ดังนี้
1. กาหนดจุดมุ่งหมาย /แหล่งที่มาของข้อมูล
2. เลือกวิธีเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้
2.1 การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสังเกต เช่น การสังเกตจากหนังสือ ใบความรู้ต่างๆที่ได้รับมา
2.2 การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสอบถาม
- โดยการสัมภาษณ์เป็นส่วนตัว เช่น การซักถามพูดคุยโต้ตอบกัน
- โดยการส่งแบบข้อมูลทางไปรษณีย์
- โดยการลงทะเบียน ซึ่งเป็นวิธีตามกฎหมายโดยการบันทึกข้อมูลลงในทะเบียน
3. นาเสนอข้อมูลที่ได้รวบรวม
บทที่ 4
ผลกำรศึกษำ
การเลี้ยงกุ้งก้ามกรามทาได้หลายวิธี เช่น เลี้ยงในกระชัง เลี้ยงในคอกเฝือก หรือที่ล้อมขังในร่องสวน
และในบ่อ แต่ถ้าจะเลี้ยงให้ได้ผลจริงจังแล้ว ควรเลี้ยงในบ่อดิน
ปัญหาที่สาคัญที่สุดในการเลี้ยงกุ้งก้ามกราม คือ น้า ดังนั้น ในการพิจารณาสถานที่ที่จะเลี้ยงกุ้ง
จึงต้องพิจารณาหาแหล่งน้าที่มีอยู่ใกล้ๆ เช่นแม่น้า ลาธาร
คลองที่มีน้าไหลผ่านตลอดปีและน้านั้นจะต้องมีคุณภาพดี มีค่าความเป็นกรด-ด่างระหว่าง ๗.๕-
๘.๕ ปลอดสารพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม และดินจะต้องสามารถเก็บกักน้าได้
ไม่ควรเป็นดินทรายหรือดินที่มีทรายเกินกว่าร้อยละ ๓๐ เพราะจะมีปัญหาในการเก็บกักน้าในฤดูแล้ง
ซึ่งถ้าจะแก้ไขจะต้องลงทุนสูง อีกประการหนึ่งที่จะต้องพิจารณาด้วย คือ ทางคมนาคม
ถ้าอยู่ใกล้ทางคมนาคมติดต่อสะดวก การขนส่งไม่ทาให้ลูกกุ้งบอบช้ามาก สามารถจับกุ้งส่งตลาดได้รวดเร็ว
กุ้งไม่เสื่อมคุณภาพและราคาไม่ตก ในบางแห่งอาจใช้น้าบาดาลเลี้ยงกุ้งก็ได้แต่ต้องลงทุนสูง
สาหรับการเลี้ยงในร่องสวนหรือในที่ล้อมขังที่มีน้าอยู่แล้วและไม่สามารถสูบน้าออกหมดได้
ก่อนปล่อยกุ้งต้องฆ่าปลาที่มีอยู่เดิมออกให้หมด มิฉะนั้นปลาเหล่านี้อาจแย่งอาหารหรือกินลูกกุ้งได้
โดยใช้รากโล่ติ๊นสดทุบแช่น้าไว้ ๑ คืน แล้วขยาให้ยางซึ่งมีสีขาวเหมือนน้านมออกให้มากที่สุด
แล้วสาดลงในน้าให้ทั่วในอัตราส่วนโล่ติ๊นสด ๑ กิโลกรัมต่อน้า ๑๐๐ ลูกบาศก์เมตร
หรือกากเมล็ดชาป่นในอัตรา ๒๕-๓๐ กรัมต่อน้า ๑ ลูกบาศก์เมตร หรือจะใช้โซเดียมไซยาไนด์ (Sodium
cyanide) ในอัตราส่วน ๑-๓ กรัมต่อน้า ๑ ตัน แต่การใช้โซเดียมไซยาไนด์ค่อนข้างเป็นอันตราย
ต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง หลังจากนั้นปลาใหญ่น้อยจะแสดงอาการสาลักน้า
ว่ายน้าผิดปกติขึ้นมาที่ผิวน้าหรือขอบๆ บ่อ ต้องรีบจับก่อนจะจมลงไปเน่าเสียหมด
สาหรับบ่อเก่าที่สูบน้าทิ้งจนแห้งโดยทั่วๆ ไปแล้วจะโรยปูนขาว ในอัตราไร่ละ ๑๕๐-๒๐๐ กิโลกรัม
ควรตรวจวัดความเป็นกรด-ด่าง
ของดินที่พื้นบ่อเสียก่อน แล้วจึงคานวณปริมาณปูนขาวที่จะใส่ ซึ่งเป็นวิธีที่ถูกต้องที่สุด แล้วปล่อยทิ้งไว้สัก ๗
วัน จึงปล่อยน้าเข้าและเลี้ยงกุ้งได้ทันที
ถ้าเป็นบ่อเก่าหรือร่องสวนที่มีอยู่เดิมให้ปรับแต่งคันบ่อให้สูงพ้นระดับน้าท่วม ถ้าก้นบ่อมีดินเลนต้องขุดลอกออ
ก แล้วตากบ่อและโรยปูนขาวดังที่กล่าวมาแล้ว
ถ้าเป็นที่ใหม่ยังไม่ได้ขุดบ่อจะต้องวางผังให้ถูกต้อง ประการแรกจะต้องตรวจสอบระดับดินว่าพื้นเรียบและน้าท่
วมหรือไม่ เพื่อจะได้กาหนดระดับขอบคันบ่อให้พ้นน้าไว้ การวางผังบ่อจะต้องให้ด้านยาวมากกว่าด้านกว้าง
และยาวไปตามทิศทางของลม คือจากเหนือไปใต้ ขนาดของบ่อไม่ควรจะเล็กหรือใหญ่เกินไป ควรมีขนาด ๑-๕
ไร่กว้าง ๒๕-๓๐ เมตร เพราะถ้าเล็กเกินไปจะเลี้ยงกุ้งได้น้อย ระดับความลึก ๘๐-๑๐๐ เซนติเมตร
ให้คันบ่อมีความลาด ๑:๒ หรือ ๑:๓ ถ้าไม่เป็นดินเหนียว ความกว้างบนคันบ่อไม่ควรต่ากว่า ๓ เมตร
พร้อมทั้งบดอัดคันบ่อให้แน่น เพื่อป้องกันน้ารั่วซึม และใช้ปลูกต้นไม้เป็นร่มเงาได้
ขอบบ่อควรปลูกหญ้าคลุมดินเพื่อป้ องกันคันดินขอบบ่อพัง ตรงท้ายบ่อควรปักไม้ไผ่หรือปลูกพืชลอยน้า เช่น
ผักบุ้ง หรือผักตบชวาไว้รอบๆ เพื่อลดการปะทะของคลื่นลมและเป็นที่หลบซ่อนของกุ้งด้วย
แต่ละบ่อจะต้องมีประตูน้าสาหรับระบายน้าออก และมีท่อส่งน้าเข้าบ่อทุกบ่อเป็นอิสระ
ท่อส่งน้าสาหรับบ่อขนาด ๑-๒ ไร่ควรมีเส้นผ่าศูนย์กลางไม่น้อยกว่า ๖ นิ้ว และประตูน้ามีขนาดกว้าง ๐.๘๐-
๑.๒๐ เมตร จะต้องทาร่องเพื่อใส่ตะแกรงไว้ป้องกันไม่ให้ลูกกุ้งออกและลูกปลาเข้าในขณะระบายน้าออก
นอกจากจะต้องถมคันบ่อด้านนอกสุดให้สูงเพื่อป้องกันน้าท่วมแล้ว ยังต้องใช้ตาข่ายไนล่อนสีฟ้าหรือเฝื
อกกั้นรอบบ่อทั้งนี้เพื่อป้องกันปลาหรือสัตว์เลื้อยคลานอื่นที่จะไปกินกุ้งในบ่อ
สาหรับด้านท้ายบ่อจะต้องขุดคูเพื่อระบายน้าออกจากบ่อด้วย
ถ้าใช้น้าจากธรรมชาติเลี้ยงกุ้งจะทุ่นค่าใช้จ่ายมาก
โดยเฉพาะถ้าใช้น้าธรรมชาติจากลาธารหรือคลองส่งน้าที่มีระดับสูงกว่าระดับบ่อ เช่น
การเลี้ยงกุ้งบางแห่งในจังหวัดภาคเหนือซึ่งได้น้าจากลาธารธรรมชาติทดไหลเข้าบ่อเองโดยไม่ต้องใช้เครื่องสูบ
น้าแต่ถ้าหาทาเลที่ดีดังกล่าวไม่ได้ก็จาเป็นต้องใช้เครื่องสูบน้าหรือกังหันลมโดยปกติบ่อขนาด ๑ ไร่ ถ้าอยู่ในที่โ
ล่งมีความชื้นต่า น้าจะระเหยวันละประมาณ ๒๐ ตัน ในกรณีที่น้าไม่รั่วซึม แต่บางแห่งที่เป็นดินทราย
น้าอาจซึมหายไปมากกว่านี้ ฉะนั้นปริมาณน้าที่ใช้ทั้งหมดสาหรับบ่อขนาด ๒ ไร่จานวน ๕ บ่อ ประมาณ ๒๐๐
ตันต่อวัน ดังนั้น จะต้องใช้เครื่องสูบน้าที่มีกาลังพอที่จะสูบน้าได้วันละไม่ต่ากว่า ๒๐๐ ตันต่อวัน
น้าที่ใช้เลี้ยงกุ้งจะต้องกรองเสียก่อน โดยใช้ถุงผ้ากรองไนล่อนหรือตะแกรงลวดไร้สนิม
ขนาดตาถี่ไม่น้อยกว่า ๖๐ ตาต่อนิ้ว กรองน้าดังกล่าว และต้องหมั่นทาความสะอาด มิฉะนั้น ตะแกรงจะอุดตัน
บทที่5
สรุปและอภิปรำยผลกำรศึกษำ
สรุปผลกำรศึกษำ
การทารายงานเรื่อง อาชีพเลี้ยงกุ้ง ผลปรากฏว่า ทาให้เราทราบวีธีการเลี้ยงกุ้ง ปัญหาการเลี้ยงกุ้ง
และผลตอบแทนการเลี้ยงกุ้งมากขึ้นกว่าเมื่อก่อน
ประโยชน์ที่ได้รับ
1. ช่วยให้เราทราบวิธีการเลี้ยงกุ้ง ปัญหาและผลตอบแทนที่ได้จากการเลี้ยงกุ้ง
2. สามารถศึกษาข้อมูลการเลี้ยงกุ้งได้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น
3. ทาให้คนหลายๆคนได้ทราบว่า “ การเลี้ยงกุ้ง ” มีวิธีการเลี้ยงอย่างไร
ข้อเสนอแนะ
1. การศึกษาเรื่อง “อาชีพเลี้ยงกุ้ง ”สามรถทาให้เราทราบถึงข้อมูลต่างๆที่ทาให้กุ้งตายในช่วง 4-6เดือน
ว่ามาจากสาเหตุใดบ้าง
2. ใ น การศึ กษาเราไม่อาจท ราบ ว่า ข้อมูลที่ ได้มาเป็ น ข้อเท็ จจริ ง ห รื อไม่ ดังนั้ น
จึงต้องสอบถามผู้รู้หรือผู้ที่สามารถหาคาปรึกษาได้
3. ในการศึกษาเราต้องตั้งใจและเข้าใจเนื้อหาที่สืบค้นมาได้อย่างแท้จริง เพื่อที่จะได้อธิบายให้ผู้อี่นได้
ภำคผนวก
ภำพที่ 4กำรเตรียมบ่อเลี้ยงกุ้ง
ภำพที่ 5กำรบรรจุลูกกุ้งลงในถุงพลำสติกเพื่อขนส่งไปปล่อยในบ่อเลี้ยง
ภำพที่ 6 กุ้งก้ำมกรำมขนำดใหญ่อำยุ ๔ - ๖ เดือน ตำยด้วยอำกำรต่ำง ๆเช่น ขำเดินมีสีน้ำตำลตัวแดง
ภำพที่ 7เครื่องเป่ำอำกำศเพื่อช่วยเพิ่มออกซิเจนในน้ำ
ภำพที่ 8กำรจับกุ้งเพื่อนำไปจำหน่ำย

More Related Content

Viewers also liked

Africa 2 nairobi-kenya-(catherine)
Africa 2 nairobi-kenya-(catherine)Africa 2 nairobi-kenya-(catherine)
Africa 2 nairobi-kenya-(catherine)Catherine Dewilde
 
Instrumentos de evaulacion
Instrumentos de evaulacionInstrumentos de evaulacion
Instrumentos de evaulacionEdgar68
 
Geotub panel - COFRAJ REFOLOSIBIL PENTRU COLOANE DREPTE
Geotub panel - COFRAJ REFOLOSIBIL PENTRU COLOANE DREPTEGeotub panel - COFRAJ REFOLOSIBIL PENTRU COLOANE DREPTE
Geotub panel - COFRAJ REFOLOSIBIL PENTRU COLOANE DREPTEREDA SRL
 
Outra vez, é natal
Outra vez, é natalOutra vez, é natal
Outra vez, é natalHelio Cruz
 
Approach to Responsive Web Design - Part 1
Approach to Responsive Web Design - Part 1Approach to Responsive Web Design - Part 1
Approach to Responsive Web Design - Part 1Hải Trần
 
祝端午節快樂
祝端午節快樂祝端午節快樂
祝端午節快樂Jaing Lai
 
各國的特色
各國的特色各國的特色
各國的特色Jaing Lai
 
Diagramas de-actividades
Diagramas de-actividadesDiagramas de-actividades
Diagramas de-actividadesJulio Parra
 
[Creategies] Os segredos para a expansão do seu escritório de advocacia.
[Creategies] Os segredos para a expansão do seu escritório de advocacia.[Creategies] Os segredos para a expansão do seu escritório de advocacia.
[Creategies] Os segredos para a expansão do seu escritório de advocacia.creategies
 
Siamo tutti colpevoli e chi chiude gli occhi lo è anche di più!!
Siamo tutti colpevoli e chi chiude gli occhi lo è anche di più!!Siamo tutti colpevoli e chi chiude gli occhi lo è anche di più!!
Siamo tutti colpevoli e chi chiude gli occhi lo è anche di più!!Rossella Beltempo
 
Herramientas de calculo matemático antiguo
Herramientas de calculo matemático antiguoHerramientas de calculo matemático antiguo
Herramientas de calculo matemático antiguoesteban-gomez
 
[Creategies] Advogado: impulsione os lucros do seu escritório.
[Creategies] Advogado: impulsione os lucros do seu escritório.[Creategies] Advogado: impulsione os lucros do seu escritório.
[Creategies] Advogado: impulsione os lucros do seu escritório.creategies
 
Art auguste rodin (catherine)
Art auguste rodin  (catherine)Art auguste rodin  (catherine)
Art auguste rodin (catherine)Catherine Dewilde
 

Viewers also liked (20)

Africa 2 nairobi-kenya-(catherine)
Africa 2 nairobi-kenya-(catherine)Africa 2 nairobi-kenya-(catherine)
Africa 2 nairobi-kenya-(catherine)
 
Instrumentos de evaulacion
Instrumentos de evaulacionInstrumentos de evaulacion
Instrumentos de evaulacion
 
Geotub panel - COFRAJ REFOLOSIBIL PENTRU COLOANE DREPTE
Geotub panel - COFRAJ REFOLOSIBIL PENTRU COLOANE DREPTEGeotub panel - COFRAJ REFOLOSIBIL PENTRU COLOANE DREPTE
Geotub panel - COFRAJ REFOLOSIBIL PENTRU COLOANE DREPTE
 
Outra vez, é natal
Outra vez, é natalOutra vez, é natal
Outra vez, é natal
 
Matemática
MatemáticaMatemática
Matemática
 
Floram
FloramFloram
Floram
 
Parabéns!!
Parabéns!!Parabéns!!
Parabéns!!
 
Approach to Responsive Web Design - Part 1
Approach to Responsive Web Design - Part 1Approach to Responsive Web Design - Part 1
Approach to Responsive Web Design - Part 1
 
祝端午節快樂
祝端午節快樂祝端午節快樂
祝端午節快樂
 
洋茶壺
洋茶壺洋茶壺
洋茶壺
 
各國的特色
各國的特色各國的特色
各國的特色
 
My memories
My memoriesMy memories
My memories
 
Diagramas de-actividades
Diagramas de-actividadesDiagramas de-actividades
Diagramas de-actividades
 
Gi u7 t2_aa1_oswaldo q m
Gi u7 t2_aa1_oswaldo q mGi u7 t2_aa1_oswaldo q m
Gi u7 t2_aa1_oswaldo q m
 
[Creategies] Os segredos para a expansão do seu escritório de advocacia.
[Creategies] Os segredos para a expansão do seu escritório de advocacia.[Creategies] Os segredos para a expansão do seu escritório de advocacia.
[Creategies] Os segredos para a expansão do seu escritório de advocacia.
 
Siamo tutti colpevoli e chi chiude gli occhi lo è anche di più!!
Siamo tutti colpevoli e chi chiude gli occhi lo è anche di più!!Siamo tutti colpevoli e chi chiude gli occhi lo è anche di più!!
Siamo tutti colpevoli e chi chiude gli occhi lo è anche di più!!
 
Herramientas de calculo matemático antiguo
Herramientas de calculo matemático antiguoHerramientas de calculo matemático antiguo
Herramientas de calculo matemático antiguo
 
[Creategies] Advogado: impulsione os lucros do seu escritório.
[Creategies] Advogado: impulsione os lucros do seu escritório.[Creategies] Advogado: impulsione os lucros do seu escritório.
[Creategies] Advogado: impulsione os lucros do seu escritório.
 
Art auguste rodin (catherine)
Art auguste rodin  (catherine)Art auguste rodin  (catherine)
Art auguste rodin (catherine)
 
Z4501149153
Z4501149153Z4501149153
Z4501149153
 

New เอกสาร microsoft รายงาoffice word

  • 1. บทที่1 บทนำ ที่มำและควำมสำคัญ เนื่องจากอาชีพเลี้ยงกุ้งเป็นอีกอาชีพหนึ่ งที่สามารถสร้างรายได้ให้กับคนลุ่มน้าทะเลสาบสงขลาได้ แ ล ะ ก็ ยั ง เ ป็ น อ า ชี พ ที่ ไ ม่ มี ค ว า ม ยุ่ ง ย า ก ล ง ทุ น ไ ม่ ม า ก เ ลี้ ย ง ง่ า ย และยังทาให้คนลุ่มน้าทะเลสาบสงขลามีรายได้ดีและอาจจะสูงมากในบางรายที่เลี้ยงดี ดั ง นั้ น ก ลุ่ ม ข อ ง ข้ า พ เ จ้ า จึ ง มี ค ว า ม ส น ใ จ ใ น อ า ชี พ เ ลี้ ย ง กุ้ ง เพื่อให้ผู้ที่สนใจและผู้ที่ต้องการความรู้เกี่ยวกับวิธีการเลี้ยงกุ้งได้อ่านและนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้มา กยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาวิธีการเพาะเลี้ยงกุ้ง 2. เพื่อศึกษาปัญหาในการเพาะเลี้ยงกุ้ง 3. เพื่อฝึกกระบวนการทารายงาน 5 บท สมมุติฐำนของกำรศึกษำค้นคว้ำ การศึกษาอาชีพเลี้ยงกุ้งน่าจะช่วยให้ผู้ที่สนใจนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ ขอบเขตของกำรศึกษำ การศึกษาได้แบ่งข้อมูลที่จะศึกษาค้นคว้าออกเป็น 3 ประเภท คือ การเพาะเลี้ยงกุ้ง ปัญหาในการเลี้ยงกุ้ง ผลผลิตที่ได้จากการเลี้ยงกุ้ง นิยำมศัพท์ 1. กุ้ง หมายถึง ชื่อสัตว์น้าไม่มีกระดูกสันหลังในชั้น Crustacea อันดับ Decapoda มีหลายวงศ์ หายใจด้วยเหงือก ลาตัวยาว แบนหรือกลม แบ่งเป็นปล้องๆ เปลือกที่หุ้มท่อนหัวและ อกก้ามและขาอยู่ที่ส่วนหัวและอก มี 10ขา มีทั้งในน้าจืดและน้าเค็ม] 2.อาชีพ หมายถึง การเลี้ยงชีวิต,การทามาหากิน
  • 2. บทที่2 เอกสำรที่เกี่ยวข้อง กลุ่มของข้าพเจ้าได้ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนี้โดยแบ่งการศึกษาเป็น 3ประการ ดังนี้ หัวข้อย่อยที่ 1 สืบค้นเรื่อง “การเลี้ยงกุ้ง ” หัวข้อย่อยที่ 2 สืบค้นเรื่อง “ปัญหาในการเลี้ยงกุ้ง ” หัวข้อย่อยที่ 3 สืบค้นเรื่อง “ผลผลิตที่ได้จากการเลี้ยงกุ้ง ” มีข้อมูลที่ได้ คือ 1. กำรเลี้ยงกุ้ง ภำพที่ 1ฟำร์มเลี้ยงกุ้ง กำรเลี้ยง ปกติจะปล่อยลูกกุ้งขนาดลาตัวยาว ๑-๒ เซนติเมตร ซึ่งยังเป็นขนาดเล็ก หากคนที่ไม่เคยสังเกตมาก่อนจะไม่รู้เลยว่าลูกกุ้งก้ามกรามต่างกับกุ้งฝอยอย่างไร จึงมักมีข่าวอยู่เสมอว่าซื้อลูกกุ้งก้ามกรามไปปล่อยแล้วกลายเป็นกุ้งฝอย
  • 3. ฉะนั้นจึงขอแนะวิธีสังเกตลูกกุ้งก้ามกรามกับกุ้งฝอยดังตารางข้างล่างนี้ถ้าเลี้ยงในกระชังไม้หรือที่ล้อมขัง ควรจะ ปล่อยกุ้งที่มีขนาดใหญ่กว่าขนาดดังกล่าว คือ กุ้งจะต้องมีขนาดลาตัวยาวไม่น้อยกว่า ๒นิ้ว กำรขนส่งลูกกุ้ง ตามปกติจะบรรจุลงในถุงพลาสติกขนาด ๔๕x๗๕ เซนติเมตร ใส่น้าประมาณ ๓-๕ลิตร บรรจุลูกกุ้ง ๑,๕๐๐-๒,๐๐๐ ตัว (ขนาด ๑.๒-๒ เซนติเมตร) เดินทางในระยะไม่เกิน ๖ชั่วโมง ถ้าจะต้องเดินทางไกลกว่านี้ หรือลูกกุ้งมีขนาดใหญ่จะต้องบรรจุลูกกุ้งน้อยกว่านี้ หรือลดอุณหภูมิให้อยู่ในระดับ ๒๐-๒๔ องศาเซลเซียส จะทาให้ลูกกุ้งมีโอกาสรอดมากขึ้น โดยใช้น้าแข็งใส่ข้างๆ ถุง ข้อสาคัญในขณะลาเลียงอย่าให้ถุงกุ้งก้ามกรามถูกแดดหรือให้น้าอุ่นเป็นอันขาด เพราะจะทาให้ลูกกุ้งใช้ออกซิเจนมากขึ้นและออกซิเจนในถุงหมดเร็ว เมื่อถึงปลายทางลูกกุ้งจะอ่อนแอจมอยู่ก้นถุงและตายได้ ฉะนั้นเมื่อปล่อยลงบ่อหากไม่ได้ตรวจแล้วบางทีอาจเหลืออยู่ไม่กี่ตัว อัตรำกำรปล่อยลูกกุ้ง ก่อนปล่อยลูกกุ้งต้องสูบน้าเข้าบ่อไว้ก่อน ๑ วัน ถ้าเป็นบ่อใหม่ไม่ควรสูบน้าใส่บ่อนานเพราะจะทาให้แมลงปอมาไข่และเกิดตัวอ่อน ซึ่งสามารถจับลูกกุ้งกินได้ ถ้าเป็นบ่อเก่าที่เลี้ยงอยู่แล้ว ควรใช้อวนมุ้งไนล่อนสีฟ้ากั้นเป็นคอกภายในบ่อไว้ส่วนหนึ่งสาหรับอนุบาลลูกกุ้งร ะยะหนึ่ง ประมาณ ๑ เดือน ในกรณีที่เลี้ยงกุ้งอย่างเดียวและมีน้าถ่ายเทดี ควรปล่อยกุ้งในอัตราส่วน ๑๕-๓๐ ตัวต่อตารางเมตร เมื่อกุ้งมีอายุได้ประมาณ ๒-๓ เดือน จึงคัดกุ้งที่มีขนาดใกล้เคียงกันไปเลี้ยงในบ่อเดียวกัน ในอัตราส่วน ๕-๑๐ ตัวต่อตารางเมตร ซึ่งจะทาให้กุ้งในบ่อที่เลี้ยงหลังจากการคัดขนาดแล้ว มีอัตราการเจริญเติบโตที่ใกล้เคียงกัน ถ้าน้าถ่ายเทไม่มากต้องลดจานวนลงเหลือ ๓-๕ตัวต่อตารางเมตร จากการสารวจผู้เลี้ยงกุ้งในจังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดฉะเชิงเทรา ที่ปล่อยกุ้งในอัตราส่วน ๕- ๑๐ ตัวต่อตารางเมตร จะได้ผลิตผล ๑๕๐-๒๐๐ กิโลกรัมต่อไร่ ในระยะ ๗-๘ เดือน ถ้าปล่อยกุ้งแน่นเกินไปกุ้งจะโตช้า
  • 4. ในกรณีที่ใช้วิธีทยอยจับกุ้งโตออกตลอดปี ควรปล่อยกุ้งเป็นระยะทุก ๓-๔ เดือน ในจานวนที่มากกว่ากุ้งที่จับออก ๓ เท่าเช่น ถ้าจับกุ้งใหญ่ขาย ๑,๐๐๐ ตัว ในระยะ ๔ เดือน ก็ต้องปล่อยกุ้งเล็กลงไปแทนประมาณ ๓,๐๐๐ ตัว เป็นต้น ในกรณีที่เลี้ยงรวมกับปลา อาจปล่อยกุ้งได้น้อย คือ ไม่เกิน ๕ ตัวต่อตารางเมตร ปลาที่เลี้ยงรวมกับกุ้งได้ คือ ปลาที่กินพืช เช่น ปลาสลิดและปลาจาพวกปลาจีน ได้แก่ปลาลิ่น ปลาซ่ง และปลาเฉา ในอัตราไม่เกิน ๔๐ ตัวต่อไร่ สาหรับปลาจีนสามารถปล่อยเลี้ยงได้ ๒รุ่นในรอบปี อย่างไรก็ดีมีข้อพิจารณาว่าถ้าต้องการเลี้ยงกุ้งเพื่อธุรกิจการค้าแล้วควรเลี้ยงกุ้งเพียงอย่างเดียว ทั้งนี้เพราะการปล่อยปลาลงเลี้ยงรวมด้วยจะมีปัญหาตามมา ๒ ประการ คือ ปลาแย่งอาหารกุ้ง ทาให้เสียค่าอาหารเพิ่มขึ้น และปลาจะรบกวนในขณะใช้อวนลากกุ้ง นอกจากนี้ การเลี้ยงปลารวมกับกุ้งยังได้ผลิตผลต่ากว่าการเลี้ยงกุ้งอย่า งเดียว ในบางแห่งนิยมเลี้ยงปลากินยุงไว้ให้แพร่พันธุ์ในบ่อกุ้ง ทั้งนี้เพราะปลากินยุงกินอยู่บนผิวน้าจึงใช้กาจัดตัวอ่อนของแมลงผิวน้าและแมลงปอ ซึ่งชอบกินลูกกุ้ง ปลาชนิดนี้มีขนาดใหญ่ไม่เกิน ๒ นิ้ว กินลูกกุ้งไม่ได้ แต่กุ้งจับเป็นอาหารได้หรือถ้ามีมากๆ ก็บดให้กุ้งกินเป็นอาหาร จึงควรเลี้ยงไว้ในบ่อกุ้ง ภำพที่ 2กำรให้อำหำรกุ้ง อำหำรและกำรให้อำหำร
  • 5. ส่วนประกอบของอำหำร กุ้งเป็นสัตว์ที่กินอาหารไม่เลือก ทั้งซากสัตว์และเมล็ดพืช กุ้งหากินในเวลากลางคืนตามพื้นก้นบ่อ ฉะนั้นอาหารที่ใช้เลี้ยงกุ้งในบ่อจึงได้แก่เนื้อปลาสด เนื้อหอย และอาหารผสมบดและอัดเม็ดตากแห้ง และเนื่องจากกุ้งกินอาหารช้า อาหารผสมจึงควรจมอยู่ในน้าได้นาน ไม่ละลายน้าเร็ว อย่างน้อยจะต้องคงรูปอยู่ได้นานไม่ต่ากว่า ๓ ชั่วโมง ส่วนผสมของอาหารควรมีโปรตีนร้อยละ ๒๐-๓๐ และมีอัตราส่วนผสมโดยน้าหนัก ดังนี้ ปัจจุบันนี้มีอาหารเม็ดสาเร็จรูปขายเป็นถุงมีปริมาณบรรจุถุงละ ๒๐-๒๕ กิโลกรัม ในราคากิโลกรัมละประมาณ ๑๐ บาท นับว่าสะดวกดี กำรให้อำหำร สาหรับกุ้งเล็กที่มีขนาด ๑-๒ เซนติเมตร ที่เลี้ยงในบ่อดิน เริ่มให้อาหารตั้งแต่วันแรกที่ปล่อยลูกกุ้งลงเลี้ยงประมาณ ๑/๒ กิโลลกรัมต่อจานวนกุ้ง ๑๐,๐๐๐ ตัวต่อวัน หว่านให้กินวันละ ๒ ครั้ง เช้าและเย็นและให้เพิ่มอีกประมาณร้อยละ ๓๐-๕๐ ของน้าหนักอาหารเดิมต่อทุก ๒ สัปดาห์ จนอายุประมาณ ๔ เดือน จึงให้เพิ่มในอัตราร้อยละ ๒๕-๓๐ ของน้าหนักอาหารเดิมต่อทุก ๓-๔ สัปดาห์ โดยลดจานวนครั้งเหลือเพียงครั้งเดียวในเวลาเย็น ในการพิจารณาให้อาหารเรามีวิธีการพิจารณาดังนี้ ถ้าเป็นกุ้งเล็กต่ากว่า ๑๐๐ ตัวต่อกิโลกรัมให้อาหารประมาณร้อยละ ๑๐-๑๒ ของน้าหนักกุ้ง ถ้าเป็นกุ้งขนาด๕๐-๘๐ ตัวต่อกิโลกรัมให้อาหารประมาณร้อยละ ๕-๘ ของน้าหนักกุ้ง ถ้ากุ้งใหญ่กว่านี้ให้อาหารประมาณร้อยละ ๑-๓ ของน้าหนักกุ้ง ถ้าเป็นอาหารสดจะต้องให้มากกว่านี้ประมาณ ๓-๕ เท่า อาหารเม็ดแห้งต้องใช้ประมาณ ๓ กิโลกรัม จึงจะเทียบได้กับอัตราส่วนน้าหนักกุ้ง ๑ กิโลกรัม ราคาอาหารเม็ดกิโลกรัมละประมาณ ๘-๑๐ บาท เพราะฉะนั้นค่าใช้จ่ายสาหรับอาหารที่ใช้เลี้ยงกุ้งประมาณ ๓๐- ๔๐ บาทต่อน้าหนักกุ้ง ๑ กิโลกรัม โดยมีอัตรารอดตายประมาณร้อยละ ๓๐-๔๐ ปัญหำในกำรเลี้ยงกุ้ง ปัญหาสาคัญที่พบเสมอในการเลี้ยงกุ้ง ซึ่งไม่ใช่โรคและศัตรูแต่ทาให้เกิดความเสียหาย มีดังนี้ ๑. การขาดแคลนออกซิเจนในบ่อ มักเป็นกับบ่อที่เลี้ยงกุ้งไว้หลังจากอายุ ๔ เดือนเป็นต้นไป โดยเฉพาะในฤดูร้อนน้าน้อยและวันที่มีอากาศครึ้ม อบอ้าว อาการที่แสดงว่าขาดออกซิเจน คือ ในตอนเช้ามืดกุ้งจะขึ้นมาปรากฏอยู่ที่ขอบบ่อมากผิดปกติ บางตัวอาจจะกระโดดขึ้นมาบนตลิ่ง ซึ่งแสดงว่ามีออกซิเจนในน้าต่ากว่า ๑.๕ ส่วนในล้าน ต้องรีบแก้ไข มิฉะนั้น กุ้งอาจตายหมดบ่อ การแก้ไขกระทาโดยสูบน้าเข้าทันทีพร้อมทั้งให้อากาศ หรือใช้เครื่องตีน้าเพิ่มออกซิเจนในเวลากลางคืน ปริมาณออกซิเจนในบ่อควรให้มีไม่ต่ากว่า ๓ ส่วนในล้าน
  • 6. ๒. กุ้งไม่โตเนื่องจากกุ้งไม่ลอกคราบ จะปรากฏลักษณะคล้ายตะไคร่น้าจับที่เปลือกกุ้ง ทาให้กุ้งผอม น้าหนักเบาสาเหตุเนื่องจากให้อาหารน้อยและอาหารมีคุณค่าไม่เพียงพอ หรือให้อาหารมากเกินไป ซึ่งทาให้ดินและน้าในบ่อเกิดการเน่าเสีย วิธีป้องกันคือ ไม่ปล่อยกุ้งลงเลี้ยงจนแน่นบ่อ ต้องถ่ายน้าบ่อยๆ หรือใส่โล่ติ๊นหรือกากเมล็ดชาในอัตราส่วนตามที่กล่าวมาแล้ว นอกจากปัญหาดังกล่าวแล้วยังพบปัญหาอื่นอีก คือ กุ้งก้ามโตแต่ตัวเล็กที่เรียกว่า "กุ้งจิ๊กโก๋" ปัญหานี้เกิดจากความไม่สมดุลของจานวนกุ้งในบ่อ กล่าวคือ มีกุ้งตัวผู้น้อยกว่ากุ้งตัวเมียหลายเท่า ทาให้กุ้งตัวผู้เสียพลังงานไปกับการผสมพันธุ์ อันเป็นเหตุให้กุ้งตัวผู้แคระแกร็น ไม่สมส่วน สามารถแก้ไขได้โดยการจับตัวเมียออกให้เหลือจานวนใกล้เคียงกับตัวผู้ โรคและศัตรู การเลี้ยงกุ้งในบ่อไม่ค่อยมีปัญหาเกี่ยวกับโรคมากนัก เท่าที่พบเป็นโรคที่ไม่รุนแรง ได้แก่ ๑.โรคเหงือกดา เกิดจากเชื้อบัคเตรีจับที่เหงือก มองเห็นเป็นสีดา ทาให้กุ้งหายใจไม่สะดวก สาเหตุเกิดจากพื้นบ่อมีการหมักหมม น้ามีออกซิเจนต่า วิธีป้องกันและแก้ไข คือ เปลี่ยนน้าแล้วย้ายกุ้งไปเลี้ยงในบ่อซึ่งเตรียมใหม่ให้ลอกคราบ เชื้อบัคเตรีที่จับอยู่ก็จะหลุดหายไป ๒.โรคเปลือกเน่า เกิดจากเชื้อบัคเตรีทาให้ขอบหรือปลายเหงือกมีสีดาและขาดหายไป ถ้าเกิดที่ปลายขาจะทาให้ขากุด โรคนี้จะค่อยๆ ลุกลามไป ทาให้กุ้งเกิดการระคายเคือง ไม่กินอาหารและตายในที่สุด สาเหตุเกิดจากการเลี้ยงกุ้งหนาแน่นและเปลี่ยนน้าไม่เพียงพอ ๓. ศัตรู ศัตรูของกุ้งที่เลี้ยงในบ่อมีหลายชนิด เช่นนกเป็ดน้า นกยาง กบ เต่า งูปลากินเนื้อทุกชนิด โดยเฉพาะปลาช่อน แม้ขนาดเล็กก็สามารถกินลูกกุ้งได้ เมื่อจับได้จะพบลูกกุ้งอยู่ในท้องเสมอ จึงเป็นปลาที่มีอันตรายและป้ องกันยากมากชนิดหนึ่ง เพราะสามารถกระโดดข้ามขอบบ่อได้และมีอยู่ทุกแห่ง ส่วนปลาอื่นๆ ที่ไม่กินลูกกุ้งโดยตรงก็จะแย่งอาหาร ทาให้เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น การป้องกันทาได้โดยใช้อวนมุ้งไนล่อนกั้นรอบบ่อและกรองน้าก่อนปล่อยเข้าบ่อกุ้ง เ พื่อป้องกันไข่และลูกปลา สาหรับการกาจัดปลานั้นทาได้โดยสูบน้าออกให้เหลือประมาณ ๕๐ เซนติเมตร แล้วจึงใช้กากเมล็ดชาป่น แช่น้าในอัตรา ๒๕-๓๐ กรัมต่อน้า ๑ ตัน หรือใช้โล่ติ๊นสดในอัตรา ๑ กิโลกรัมต่อน้า
  • 7. ๑๐๐ ตัน ทุบโล่ติ๊นแช่น้า ๑ คืนแล้วสาดให้ทั่วบ่อ ปลาจะตายหมดแต่กุ้งไม่ตาย หลังจากนั้นจึงสูบน้าให้เข้าไปเท่าเดิม ภำพที่ 3กุ้งตัวขนำดโตพอที่จะจำหน่ำยได้ ผลิตผล กุ้งที่เลี้ยงควรจะใช้เวลาไม่น้อยกว่า ๗ เดือน ควรจับเมื่อตัวผู้มีน้าหนักไม่ต่ากว่า ๘๐ กรัม และตัวเมียไม่ควรต่ากว่า ๕๐ กรัม ปริมาณผลิตผลนั้นไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่างคือ การจัดการแหล่งน้าและอาหาร ในต่างประเทศ เช่น ที่ฮาวายได้ผลิตผลสูงกว่า ๔๐๐ กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี สาหรับในบ้านเราเท่าที่มีผู้เลี้ยงมาจะได้ผลิตผลประมาณ ๑๕๐-๒๕๐ กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี กำรจับกุ้ง ในการจับกุ้งนั้นเราควรพิจารณาปัจจัย ๒ประการ คือ ขนาดที่ตลาดต้องการ และขนาดที่กุ้งเจริญเติบโตถึงจุดอิ่มตัว ผู้เลี้ยงย่อมทราบดีว่ากุ้งโตไม่เท่ากัน ยิ่งเลี้ยงไปตัวผู้ยิ่งโตกว่าตัวเมียเมื่ออายุประมาณ ๘-๑๒ เดือน ตัวผู้จะโตกว่าตัวเมียประมาณ ๒ เท่าจากการสังเกตการเลี้ยงกุ้งก้ามกรามในบ่อพบว่า ควรจับกุ้งเมื่อตัวผู้มีขนาด ๘-๑๐ ตัวต่อกิโลกรัมและตัวเมียมีขนาด ๑๕-๑๘ ตัวต่อกิโลกรัม ซึ่งเป็นระยะที่กุ้งก้ามกรามในบ่อมีอัตราการเจริญเติบโตเร็วที่สุด ถ้าพ้นจากนี้ไปจะโตช้า
  • 8. สาหรับการจับกุ้งนั้นทาได้ ๒ วิธี คือ จับเป็นครั้งคราวโดยใช้อวนไนล่อน และจับโดยการสูบน้าออกหมดบ่อ ในการเลี้ยงกุ้งเพื่อเป็นธุรกิจนั้น ควรจับกุ้งโดยใช้อวนจะเหมาะกว่าวิธีอื่น ทั้งนี้เพราะกุ้งโตไม่เท่ากัน การใช้อวนทาให้สามารถเลือกจับกุ้งที่โตออกขายก่อน กุ้งไม่บอบช้า ช่วยให้ได้ราคาดี และประหยัดทั้งกาลังคนและอุปกรณ์ อย่างไรก็ตาม ไม่ควรจับกุ้งที่กาลังลอกคราบหรือเพิ่งลอกคราบใหม่ๆ เปลือกยังนิ่ม เพราะจะเกิดบาดแผลง่ายทาให้เน่าเสียเร็ว และไม่ควรจับกุ้งขังไว้ค้างคืน เพราะจะทาให้กุ้งได้รับความเสียหายเนื่องจากกุ้งลอกคราบ ประมาณร้อยละ ๕-๑๐ และส่วนมากจะถูกกุ้งตัวอื่นกิน เหลือบางส่วนเท่านั้น อวนที่ใช้จับกุ้งก้ามกรามในบ่อควรใช้อวนไนล่อน ที่มีขนาดตากว้าง ๑.๒-๑.๕ นิ้ว เส้นอวนเบอร์ ๑๗ ยาวไม่น้อยกว่าความกว้างของบ่อ และลึกเป็น ๓ เท่าของความลึกของน้า ใช้ลากไปตามความยาวของบ่อ วิธีนี้จะจับกุ้งขนาดน้าหนักไม่ต่ากว่าตัวละ ๕๐ กรัม ส่วนกุ้งขนาดเล็กจะลอดไปได้ ทาให้สามารถคัดเอากุ้งที่มีขนาดที่ต้องการได้ในเวลารวดเร็ว และกุ้งไม่บอบช้า ส่วนวิธีสูบน้าออกจนหมดบ่อแล้วจึงจับนั้น ควรทาเมื่อกุ้งเหลือน้อยและต้องการจะล้างบ่อ เพราะเมื่อสูบน้าออกแล้วจะมีกุ้งขนาดเล็กอยู่จานวนหนึ่งซึ่งยังจาหน่ายไม่ได้ จาเป็นจะต้องเลี้ยงต่อไป การจับโดยวิธีสูบน้าออกหมดนี้จะทาให้กุ้งบอบช้ามาก การเลี้ยงกุ้งก้ามกรามในเชิงการค้านั้น มีปัญหาหลายประการ เช่น ผลิตผลต่าเนื่องจากธรรมชาติของกุ้งชอบกินกุ้งด้วยกัน มีอัตราการเจริญเติบโตช้า และมีปัญหาเกี่ยวกับแหล่งน้าที่ใช้เลี้ยง บทที่3 วิธีดำเนินกำรศึกษำ ข้าพเจ้าได้ออกแบบ วางแผน ในการเก็บข้อมูล รวบรวมข้อมูล ดังนี้ 1. กาหนดจุดมุ่งหมาย /แหล่งที่มาของข้อมูล 2. เลือกวิธีเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้ 2.1 การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสังเกต เช่น การสังเกตจากหนังสือ ใบความรู้ต่างๆที่ได้รับมา
  • 9. 2.2 การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสอบถาม - โดยการสัมภาษณ์เป็นส่วนตัว เช่น การซักถามพูดคุยโต้ตอบกัน - โดยการส่งแบบข้อมูลทางไปรษณีย์ - โดยการลงทะเบียน ซึ่งเป็นวิธีตามกฎหมายโดยการบันทึกข้อมูลลงในทะเบียน 3. นาเสนอข้อมูลที่ได้รวบรวม บทที่ 4 ผลกำรศึกษำ การเลี้ยงกุ้งก้ามกรามทาได้หลายวิธี เช่น เลี้ยงในกระชัง เลี้ยงในคอกเฝือก หรือที่ล้อมขังในร่องสวน และในบ่อ แต่ถ้าจะเลี้ยงให้ได้ผลจริงจังแล้ว ควรเลี้ยงในบ่อดิน ปัญหาที่สาคัญที่สุดในการเลี้ยงกุ้งก้ามกราม คือ น้า ดังนั้น ในการพิจารณาสถานที่ที่จะเลี้ยงกุ้ง จึงต้องพิจารณาหาแหล่งน้าที่มีอยู่ใกล้ๆ เช่นแม่น้า ลาธาร
  • 10. คลองที่มีน้าไหลผ่านตลอดปีและน้านั้นจะต้องมีคุณภาพดี มีค่าความเป็นกรด-ด่างระหว่าง ๗.๕- ๘.๕ ปลอดสารพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม และดินจะต้องสามารถเก็บกักน้าได้ ไม่ควรเป็นดินทรายหรือดินที่มีทรายเกินกว่าร้อยละ ๓๐ เพราะจะมีปัญหาในการเก็บกักน้าในฤดูแล้ง ซึ่งถ้าจะแก้ไขจะต้องลงทุนสูง อีกประการหนึ่งที่จะต้องพิจารณาด้วย คือ ทางคมนาคม ถ้าอยู่ใกล้ทางคมนาคมติดต่อสะดวก การขนส่งไม่ทาให้ลูกกุ้งบอบช้ามาก สามารถจับกุ้งส่งตลาดได้รวดเร็ว กุ้งไม่เสื่อมคุณภาพและราคาไม่ตก ในบางแห่งอาจใช้น้าบาดาลเลี้ยงกุ้งก็ได้แต่ต้องลงทุนสูง สาหรับการเลี้ยงในร่องสวนหรือในที่ล้อมขังที่มีน้าอยู่แล้วและไม่สามารถสูบน้าออกหมดได้ ก่อนปล่อยกุ้งต้องฆ่าปลาที่มีอยู่เดิมออกให้หมด มิฉะนั้นปลาเหล่านี้อาจแย่งอาหารหรือกินลูกกุ้งได้ โดยใช้รากโล่ติ๊นสดทุบแช่น้าไว้ ๑ คืน แล้วขยาให้ยางซึ่งมีสีขาวเหมือนน้านมออกให้มากที่สุด แล้วสาดลงในน้าให้ทั่วในอัตราส่วนโล่ติ๊นสด ๑ กิโลกรัมต่อน้า ๑๐๐ ลูกบาศก์เมตร หรือกากเมล็ดชาป่นในอัตรา ๒๕-๓๐ กรัมต่อน้า ๑ ลูกบาศก์เมตร หรือจะใช้โซเดียมไซยาไนด์ (Sodium cyanide) ในอัตราส่วน ๑-๓ กรัมต่อน้า ๑ ตัน แต่การใช้โซเดียมไซยาไนด์ค่อนข้างเป็นอันตราย ต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง หลังจากนั้นปลาใหญ่น้อยจะแสดงอาการสาลักน้า ว่ายน้าผิดปกติขึ้นมาที่ผิวน้าหรือขอบๆ บ่อ ต้องรีบจับก่อนจะจมลงไปเน่าเสียหมด สาหรับบ่อเก่าที่สูบน้าทิ้งจนแห้งโดยทั่วๆ ไปแล้วจะโรยปูนขาว ในอัตราไร่ละ ๑๕๐-๒๐๐ กิโลกรัม ควรตรวจวัดความเป็นกรด-ด่าง ของดินที่พื้นบ่อเสียก่อน แล้วจึงคานวณปริมาณปูนขาวที่จะใส่ ซึ่งเป็นวิธีที่ถูกต้องที่สุด แล้วปล่อยทิ้งไว้สัก ๗ วัน จึงปล่อยน้าเข้าและเลี้ยงกุ้งได้ทันที ถ้าเป็นบ่อเก่าหรือร่องสวนที่มีอยู่เดิมให้ปรับแต่งคันบ่อให้สูงพ้นระดับน้าท่วม ถ้าก้นบ่อมีดินเลนต้องขุดลอกออ ก แล้วตากบ่อและโรยปูนขาวดังที่กล่าวมาแล้ว ถ้าเป็นที่ใหม่ยังไม่ได้ขุดบ่อจะต้องวางผังให้ถูกต้อง ประการแรกจะต้องตรวจสอบระดับดินว่าพื้นเรียบและน้าท่ วมหรือไม่ เพื่อจะได้กาหนดระดับขอบคันบ่อให้พ้นน้าไว้ การวางผังบ่อจะต้องให้ด้านยาวมากกว่าด้านกว้าง และยาวไปตามทิศทางของลม คือจากเหนือไปใต้ ขนาดของบ่อไม่ควรจะเล็กหรือใหญ่เกินไป ควรมีขนาด ๑-๕ ไร่กว้าง ๒๕-๓๐ เมตร เพราะถ้าเล็กเกินไปจะเลี้ยงกุ้งได้น้อย ระดับความลึก ๘๐-๑๐๐ เซนติเมตร
  • 11. ให้คันบ่อมีความลาด ๑:๒ หรือ ๑:๓ ถ้าไม่เป็นดินเหนียว ความกว้างบนคันบ่อไม่ควรต่ากว่า ๓ เมตร พร้อมทั้งบดอัดคันบ่อให้แน่น เพื่อป้องกันน้ารั่วซึม และใช้ปลูกต้นไม้เป็นร่มเงาได้ ขอบบ่อควรปลูกหญ้าคลุมดินเพื่อป้ องกันคันดินขอบบ่อพัง ตรงท้ายบ่อควรปักไม้ไผ่หรือปลูกพืชลอยน้า เช่น ผักบุ้ง หรือผักตบชวาไว้รอบๆ เพื่อลดการปะทะของคลื่นลมและเป็นที่หลบซ่อนของกุ้งด้วย แต่ละบ่อจะต้องมีประตูน้าสาหรับระบายน้าออก และมีท่อส่งน้าเข้าบ่อทุกบ่อเป็นอิสระ ท่อส่งน้าสาหรับบ่อขนาด ๑-๒ ไร่ควรมีเส้นผ่าศูนย์กลางไม่น้อยกว่า ๖ นิ้ว และประตูน้ามีขนาดกว้าง ๐.๘๐- ๑.๒๐ เมตร จะต้องทาร่องเพื่อใส่ตะแกรงไว้ป้องกันไม่ให้ลูกกุ้งออกและลูกปลาเข้าในขณะระบายน้าออก นอกจากจะต้องถมคันบ่อด้านนอกสุดให้สูงเพื่อป้องกันน้าท่วมแล้ว ยังต้องใช้ตาข่ายไนล่อนสีฟ้าหรือเฝื อกกั้นรอบบ่อทั้งนี้เพื่อป้องกันปลาหรือสัตว์เลื้อยคลานอื่นที่จะไปกินกุ้งในบ่อ สาหรับด้านท้ายบ่อจะต้องขุดคูเพื่อระบายน้าออกจากบ่อด้วย ถ้าใช้น้าจากธรรมชาติเลี้ยงกุ้งจะทุ่นค่าใช้จ่ายมาก โดยเฉพาะถ้าใช้น้าธรรมชาติจากลาธารหรือคลองส่งน้าที่มีระดับสูงกว่าระดับบ่อ เช่น การเลี้ยงกุ้งบางแห่งในจังหวัดภาคเหนือซึ่งได้น้าจากลาธารธรรมชาติทดไหลเข้าบ่อเองโดยไม่ต้องใช้เครื่องสูบ น้าแต่ถ้าหาทาเลที่ดีดังกล่าวไม่ได้ก็จาเป็นต้องใช้เครื่องสูบน้าหรือกังหันลมโดยปกติบ่อขนาด ๑ ไร่ ถ้าอยู่ในที่โ ล่งมีความชื้นต่า น้าจะระเหยวันละประมาณ ๒๐ ตัน ในกรณีที่น้าไม่รั่วซึม แต่บางแห่งที่เป็นดินทราย น้าอาจซึมหายไปมากกว่านี้ ฉะนั้นปริมาณน้าที่ใช้ทั้งหมดสาหรับบ่อขนาด ๒ ไร่จานวน ๕ บ่อ ประมาณ ๒๐๐ ตันต่อวัน ดังนั้น จะต้องใช้เครื่องสูบน้าที่มีกาลังพอที่จะสูบน้าได้วันละไม่ต่ากว่า ๒๐๐ ตันต่อวัน น้าที่ใช้เลี้ยงกุ้งจะต้องกรองเสียก่อน โดยใช้ถุงผ้ากรองไนล่อนหรือตะแกรงลวดไร้สนิม ขนาดตาถี่ไม่น้อยกว่า ๖๐ ตาต่อนิ้ว กรองน้าดังกล่าว และต้องหมั่นทาความสะอาด มิฉะนั้น ตะแกรงจะอุดตัน
  • 12. บทที่5 สรุปและอภิปรำยผลกำรศึกษำ สรุปผลกำรศึกษำ การทารายงานเรื่อง อาชีพเลี้ยงกุ้ง ผลปรากฏว่า ทาให้เราทราบวีธีการเลี้ยงกุ้ง ปัญหาการเลี้ยงกุ้ง และผลตอบแทนการเลี้ยงกุ้งมากขึ้นกว่าเมื่อก่อน ประโยชน์ที่ได้รับ 1. ช่วยให้เราทราบวิธีการเลี้ยงกุ้ง ปัญหาและผลตอบแทนที่ได้จากการเลี้ยงกุ้ง 2. สามารถศึกษาข้อมูลการเลี้ยงกุ้งได้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น 3. ทาให้คนหลายๆคนได้ทราบว่า “ การเลี้ยงกุ้ง ” มีวิธีการเลี้ยงอย่างไร ข้อเสนอแนะ 1. การศึกษาเรื่อง “อาชีพเลี้ยงกุ้ง ”สามรถทาให้เราทราบถึงข้อมูลต่างๆที่ทาให้กุ้งตายในช่วง 4-6เดือน ว่ามาจากสาเหตุใดบ้าง 2. ใ น การศึ กษาเราไม่อาจท ราบ ว่า ข้อมูลที่ ได้มาเป็ น ข้อเท็ จจริ ง ห รื อไม่ ดังนั้ น จึงต้องสอบถามผู้รู้หรือผู้ที่สามารถหาคาปรึกษาได้ 3. ในการศึกษาเราต้องตั้งใจและเข้าใจเนื้อหาที่สืบค้นมาได้อย่างแท้จริง เพื่อที่จะได้อธิบายให้ผู้อี่นได้
  • 15. ภำพที่ 6 กุ้งก้ำมกรำมขนำดใหญ่อำยุ ๔ - ๖ เดือน ตำยด้วยอำกำรต่ำง ๆเช่น ขำเดินมีสีน้ำตำลตัวแดง ภำพที่ 7เครื่องเป่ำอำกำศเพื่อช่วยเพิ่มออกซิเจนในน้ำ