SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
การละเล่นพื้นบ้านของไทยมีอะไรบ้าง เอ...แล้วเด็ก ๆ สมัยนี้เคยได้เล่นการละเล่นของ
เด็กไทยแบบนี้กันบ้างไหมเอ่ย
ยุคนี้เด็ก ๆ เข้าถึงเทคโนโลยีสื่อสารได้ง่ายขึ้น ลองดูสิคะ ไม่ว่ามองไปทางไหน ก็จะ
เห็นเด็กตัวเล็กตัวน้อยเล่นเกมในไอแพด แชทไลน์ เมนต์เฟซบุ๊กกันคล่องปร๋อ ใช้เวลาอยู่
หน้าจอสี่เหลี่ยมเกือบทั้งวันทั้งคืน ต่างจากสมัยก่อนที่เด็ก ๆ มักจะชักชวนเพื่อน ๆ ออกมา
เล่นการละเล่นพื้นบ้าน ร้องราทาเพลงกันสนุกสนาน ก็น่าคิดเหมือนกันนะคะว่า เด็กสมัยนี้ยัง
รู้จักและรู้วิธีเล่นการละเล่นพื้นบ้านของไทยมากน้อยแค่ไหน ส่วนคนที่อายุ 25 ปีอัป น่าจะยัง
พอจดจาการละเล่นพื้นบ้านเหล่านี้ได้บ้างล่ะน่า
วันนี้กระปุกดอทคอมดอทคอมจะชวนกันมาย้อนอดีตไปในวัย
เด็ก ขอรื้อฟื้นควา วันนี้กระปุกดอทคอมจะชวนกันมาย้อนอดีตไป
ในวัยเด็ก ขอรื้อฟื้นความสนุกสนานกับ 10 การละเล่นพื้นบ้าน ที่
หลายคนอาจจะหลงลืมไปแล้ว มสนุกสนานกับ 10 การละเล่น
พื้นบ้าน ที่หลายคนอาจจะหลงลืมไปแล้ว หลงลืมไปแล้ว
เล่นซ่อนหา หรือ โป้ งแปะ
"เล่นซ่อนหา" หรือ "โป้ งแปะ" เป็นหนึ่งในการละเล่น
พื้นบ้านที่มีมาช้านาน และยังได้รับความนิยมอยู่ทุกยุคทุก
สมัย เพราะกติกาง่าย แถมสนุก และต้องมีการกาหนด
อาณาเขต เพื่อไม่ให้กว้างจนเกินไป จนถึงวันนี้ก็ยังมีเด็ก ๆ
จับกลุ่มกันเล่นซ่อนหาให้เห็นกันอยู่
หมากเก็บ
การละเล่นยอดฮิตสาหรับเด็กผู้หญิง
นั่นเอง ปกติจะใช้ผู้เล่น 2-4 คน และใช้
ก้อนกรวดกลม ๆ 5 ก้อนเป็นอุปกรณ์
กติกาก็คือ ต้องมีการเสี่ยงทายว่าใครจะได้เล่นก่อน โดยใช้วิธี
"ขึ้นร้าน" คือแบมือถือหมากทั้ง 5 เม็ดไว้ แล้วโยนหมาก ก่อนจะ
หงายมือรับ แล้วพลิกมือกลับรับหมากอีกที ใครมีหมากอยู่บนมือ
มากที่สุด คนนั้นจะได้เป็นผู้เล่นก่อน
รีรีข้าวสาร
เชื่อเลยว่า ชีวิตในวัยเด็กของคนส่วนใหญ่ผ่านการละเล่น "รีรี
ข้าวสาร" มาแล้ว และยังร้องบทร้องคุ้นหูที่ว่า "รีรีข้าวสาร สอง
ทะนานข้าวเปลือก เด็กน้อยตาเหลือก เลือกท้องใบลาน คดข้าวใส่
จาน คอยพานคนข้างหลังไว" ได้ด้วย
กติกา "รีรีข้าวสาร" ก็คือ ต้องมีผู้เล่น 2 คนหันกัน และเอามือ
ประสานกันไว้เป็นรูปซุ้ม ส่วนผู้เล่นคนอื่น ๆ จะกี่คนก็ได้จะยืนเกาะ
เอวกันไว้ตามลาดับ หัวแถวจะพาขบวนลอดซุ้มพร้อมร้องเพลง "รี
รีข้าวสาร" จนเมื่อถึงประโยคที่ว่า "คอยพานคนข้างหลังไว้" ผู้ที่
ประสานมือเป็นซุ้มจะลดมือลงกันไม่ให้คนสุดท้ายผ่านเข้าหน้าเข้า
หาไป เรียกว่า "คัดคน" และเล่นอย่างนี้ไปเรื่อย ๆ จนคนหมด
 ประโยชน์ของการเล่นรีรีข้าวสาร ก็คือ ช่วยให้
จิตใจร่าเริงแจ่มใส รู้จักมีไหวพริบ ใช้กลยุทธ์ให้
ตัวเองเอาตัวรอดจากการถูกคล้องไว้ได้
รวมทั้งฝึกให้เด็กทางานเป็นกลุ่มได้ด้วย
มอญซ่อนผ้า
 การละเล่นแสนสนุกที่ทาให้ผู้เล่นได้ลุ้นไปด้วย โดยใช้
อุปกรณ์เพียงแค่ผ้าผืนเดียวเท่านั้น แล้วให้ผู้เล่นเสี่ยง
ทาย ใครแพ้คนนั้นต้องเป็น "มอญ" ส่วนคนอื่น ๆ มา
นั่งล้อมวง คนที่เป็น "มอญ" จะต้องถือผ้าไว้ในมือแล้ว
เดินวนอยู่นอกวง จากนั้นคนนั่งในวงจะร้องเพลงว่า
"มอญซ่อนผ้า ตุ๊กตาอยู่ข้างหลัง ไว้โน่นไว้นี่ ฉันจะตีก้น
เธอ"
 ระหว่างเพลงร้องอยู่ คนที่เป็น "มอญ" จะแอบ
ทิ้งผ้าไว้ข้างหลังผู้เล่นคนใดคนหนึ่ง แต่เมื่อทิ้งผ้าแล้ว จะ
แกล้งทาเป็นยังไม่ทิ้ง โดยเดินวนไปอีก 1 รอบ หากผู้ที่
ถูกทิ้งผ้าไม่รู้ตัว "มอญ" จะหยิบผ้ามาตีหลังผู้เล่นคนนั้น
แล้วต้องกลายเป็น "มอญ" แทน แต่หากผู้เล่นรู้ตัวว่ามี
ผ้าอยู่ข้างหลัง ก็จะหยิบผ้ามาวิ่งไล่ตี "มอญ" รอบวง
"มอญ" ต้องรีบกลับมานั่งแทนที่ผู้เล่นคนนั้น แล้วผู้ที่วิ่ง
ไล่ต้องเปลี่ยนเป็น "มอญ" แทน
เดินกะลา
ดูจะเป็นการละเล่นพื้นบ้านที่หาดูได้ไม่บ่อยนัก แต่หาก
เป็นสมัยก่อนจะเห็นเด็ก ๆ เดินกะลา กันทั่วไป โดยผู้
เล่นจะต้องนากะลามะพร้าว 2 อันมาทาความสะอาดแล้ว
เจาะรูตรงกลาง ร้อยเชือกให้แน่น เพื่อป้ องกันไม่ให้เชือก
หลุดเวลาเดิน เวลาเดินให้ใช้นิ้วหัวแม่เท้ากับนิ้วชี้คีบ
เชือกเอาไว้แล้วเดิน หากมีเด็ก ๆ หลายคนอาจจัดแข่ง
เดินกะลา ได้ด้วยการกาหนดเส้นชัยไว้ใครเดินถึงก่อนก็
เป็นผู้ชนะไป
 ประโยชน์ของการเดินกะลา ก็คือช่วยฝึกการ
ทรงตัว ความสมดุลของร่างกาย เพราะต้อง
ระวังไม่ให้ตกกะลา ช่วงแรก ๆ อาจจะรู้สึกเจ็บ
เท้า แต่ถ้าฝึกบ่อย ๆ จะชินและหายเจ็บไปเอง
แถมยังทาให้ร่างกายแข็งแรง เพลิดเพลินอีก
ด้วย
กาฟักไข่
 เป็นอีกหนึ่งการละเล่นที่เคยได้ยินชื่อ แต่หลายคนไม่ทราบกติกา โดยวิธีการเล่นก็คือ
ใช้อะไรก็ได้ลักษณะกลม ๆ เท่าจานวนคนเล่น ยกเว้นผู้ที่เป็นกา 1 คน มาสมมติว่าเป็น
"ไข่" แล้วเขียนวงกลมลงบนพื้น 2 วง วงแรกเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4 ฟุต และอีก
วงหนึ่งอยู่ข้างในวงแรก ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 ฟุต วาง "ไข่" ทั้งหมดไว้ในวงกลม
เล็ก ให้คนใดคนหนึ่งเป็นกา ยืนในวงกลมวงใหญ่ หรือนั่งคร่อมวงกลมเล็ก นอกนั้นทุก
คนยืนรอบนอกวงกลมวงใหญ่ คอยแย่งไข่ คนเป็นกามีหน้าที่ป้ องกันไข่ ไม่ให้ถูกแย่งไป

+
 กติกาของกาฟักไข่ ก็คือคนข้างนอกต้องแย่งไข่มาให้ได้
โดยใช้แขนหรือมือเอื้อมเข้าไป แต่ห้ามนาตัวเข้าไปใน
วงกลม และต้องระวังไม่ให้อีกาถูกมือหรือแขนได้ด้วย
หากแย่งไข่ออกมาได้หมดแล้ว ให้ปิดตากา แล้วนาไข่
ทั้งหมดไปซ่อน เพื่อให้กาตามหาไข่ หากพบไข่ที่ผู้เล่นคน
ใดนาไปซ่อน ผู้นั้นจะต้องเปลี่ยนมาเป็นกาแทน
 งูกินหาง
 "แม่งูเอ๋ยกินน้าบ่อไหน..." ประโยคคุ้น
ๆ ของการเล่นงูกินหางที่ยังติดตรึงใน
ความทรงจาของใครหลาย ๆ คน และ
เป็นที่นิยมของเด็กในทุกเทศกาล ทุก
โอกาสอีกด้วย
 วิธีการเล่นงูกินหาง เริ่มจากเสี่ยงทาย ใครแพ้ต้องไปเป็น "พ่องู" ส่วนผู้ชนะที่มีร่างกายแข็งแรง ตัวใหญ่จะเป็น "แม่งู" ไว้คอย
ปกป้ องเพื่อน ๆ คนอื่นที่เป็น "ลูกงู" จากนั้น "ลูกงู" จะเกาะเอวแม่งูและต่อแถวกันไว้ยืนเผชิญหน้ากับ "พ่องู" จากนั้นจะเข้าสู่
บทร้อง โดยพ่องูจะถามว่า
 พ่องู : "แม่งูเอ๋ยกินน้าบ่อไหน"
 แม่งู : "กินน้าบ่อโสกโยกไปโยกมา" (พร้อมแสดงอาการส่ายตัวไปมา)
 พ่องู : "แม่งูเอ๋ยกินน้าบ่อไหน"
 แม่งู : "กินน้าบ่อหินบินไปบินมา" (พร้อมแสดงอาการบินไปบินมา)
 พ่องู : "แม่งูเอ๋ยกินน้าบ่อไหน"
 แม่งู : "กินน้าบ่อทรายย้ายไปย้ายมา" (พร้อมแสดงอาการส่ายตัวไปมา)
 จากนั้นพ่องูจะพูดว่า "กินหัวกินหางกินกลางตลอดตัว" แล้ววิ่งไล่จับลูกงูที่กอดเอวอยู่ ส่วนแม่งูก็ต้องป้ องกันไม่ให้
พ่องูจับลูกงูไปได้ เมื่อลูกงูคนไหนถูกจับ จะออกจากแถวมายืนอยู่ด้านนอก เพื่อรอเล่นรอบต่อไป หากพ่องูแย่งลูกได้หมด จะ
ถือว่าจบเกมแล้วเริ่มเล่นใหม่ โดยพ่องูจะกลับไปเป็นแม่งูต่อในรอบต่อไป
 ประโยชน์ของการเล่นงูกินหางก็คือ ทาให้ผู้
เล่นเกิดความสามัคคี ทางานเป็นกลุ่ม รู้จัก
ช่วยเหลือกัน และรู้จักการต่อสู้เพื่อเอาตัวรอด
เมื่อภัยมาถึงตัว นอกจากนี้ยังฝึกร่างกายให้
แข็งแรง และจิตใจเบิกบานสนุกสนานไปด้วย
ม้าก้านกล้วย
 เป็นอีกหนึ่งการละเล่นที่แสดงถึงความมีภูมิ
ปัญญาของคนไทยทีเดียว เพราะในสมัยก่อนแทบทุก
บ้านจะปลูกต้นกล้วยไว้ทั้งนั้น ดังนั้น ต้นกล้วยจึงนามา
ประยุกต์เป็นของเล่นให้เด็ก ๆ ได้อย่างดีทีเดียว
โดยเฉพาะ ม้าก้านกล้วย ดูเหมือนจะถูกอกถูกใจเด็กชาย
วัยซนมากที่สุด เพราะเด็ก ๆ จะนาก้านกล้วยมาขี่เป็นม้า
เพื่อแข่งขันกัน หรือทาเป็นดาบรบกันก็ได้
 วิธีทาม้าก้านกล้วยก็ไม่ยาก เลือกตัดใบกล้วยออกมาแล้วเอา
มีดเลาะใบกล้วยออก แต่เหลือไว้ที่ปลายเล็กน้อยให้เป็นหางม้า
เอามีดฝานแฉลบด้านข้างก้านกล้วยตรงโคนบาง ๆ เพื่อทา
เป็นหูม้า แล้วหักก้านกล้วยตรงโคนหูม้าออก จากนั้นก็นา
แขนงไม้ไผ่มาเสี้ยมปลายให้แหลม ความยาวประมาณคืบกว่า
ๆ เสียบหัวม้าที่พับเอาไว้จนทะลุไปถึงก้าน เพื่อให้เป็นสาย
บังเหียนผูกปากกับคอม้านั่นเอง เสร็จแล้วก็นาเชือกกล้วยมา
ผูกด้านหัวม้าและหางม้า ทาเป็นสายสะพายบ่า แค่นี้ก็ได้ม้า
ก้านกล้วยไปสนุกกับเพื่อน ๆ แล้ว
ทอยเส้น
 หากย้อนไปสักปี พ.ศ. 2510-2530 ทอยเส้นจะเป็นที่
นิยมของเด็ก ๆ อย่างมาก โดยอุปกรณ์การเล่นจะใช้ตัว
ตุ๊กตุ่นพลาสติกหรือยาง ขนาดความสูง 4-5 เซนติเมตร
(ที่แถมมากับขนมอบกรอบซึ่งฮิตมากในยุคนั้น) มาใช้
ทอย และต้องมีพื้นถนนที่มีเส้นรอยต่อระหว่างบล็อก
ระยะห่างประมาณ 3-5 เมตร หรือใช้การขีดลากเส้น 2
เส้นแทนก็ได้
 วิธีการเล่นทอยเส้นคือต้องเสี่ยงหาคนทอยก่อน โดยใช้วิธีเป่ายิงฉุบ โอน้อยออก
ฯลฯ แล้วแต่จะเลือก หรือจะทอยเปล่า เพื่อดูว่าใครใกล้-ไกลเส้นมากกว่า คนที่
ไกลเส้นที่สุดจะต้องเริ่มทอยก่อน เพราะจะเสียเปรียบที่สุด ส่วนคนที่ทอยทีหลังจะ
ได้เปรียบ เพราะเลือกหาทางหนีทีไล่ได้ดีกว่า
 เมื่อกาหนดลาดับผู้เล่นแล้ว ให้ผู้เล่นยืนจรดเท้าอยู่เส้นแรก ห้ามล้า
เส้นออกไป แล้วใช้แขนเหวี่ยงตุ๊กตุ่นในมือออกไป ให้ตก หรือทับเส้นที่สอง เมื่อ
ทอยครบทุกคน ให้เปรียบเทียบ ตุ๊กตุ่นของใครใกล้เส้นที่สุดเป็นผู้ชนะ จากนั้น ผู้
ชนะจะยืนที่ตาแหน่งตุ๊กตุ่นของตัวเอง แล้วใช้ตุ๊กตุ่นของตัวเองเอื้อม หรือปาไปให้
โดนตัวอื่นที่อยู่ห่างเส้นในลาดับถัดไป เพื่อจะได้กิน (ครอบครอง) ตุ๊กตุ่นตัวนั้นไว้
หากกินได้ ผู้เล่นคนอื่นจะถูกลงโทษตามตกลง เช่น ดีดมะกอก ฯลฯ เมื่อจบรอบ
แรก ก็หันหลังกลับ ยืนจรดเส้นที่สอง แล้วทอยกลับไปให้ใกล้เส้นแรกมากที่สุด
ด้วยกติกาเช่นเดิม โดยดูแล้วมีลักษณะคล้ายการเล่นทอยเหรียญ หรือ Pitch
and Toss ของต่างประเทศ
 ว่าวไทย
 เชื่อว่าหลายคน คงเคยมีประสบการณ์การเล่นว่าวในช่วงปิดเทอมที่
ท้องสนามหลวงมาแล้ว แม้ว่าตอนนี้ภาพนั้นจะค่อย ๆ จางหายไปแล้ว
ก็ตาม โดย "การเล่นว่าวไทย" นั้น เริ่มมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย
เรื่อยมา ตามที่ปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และถือเป็นสิ่งที่บ่ง
บอกถึงภูมิปัญญาพื้นบ้านและวัฒนธรรมของไทยได้อย่างดี เพราะแต่
ละท้องถิ่นจะคิดประดิษฐ์ว่าวแตกต่างกันไป "ว่าวไทย" จึงกลายเป็น
มรดกตกทอดของแต่ละชุมชนและมีลักษณะเฉพาะตัวที่โดดเด่น
ยังมีอีกหลายการละเล่นที่เด็กไทยสมัยก่อนนิยม
นามาเล่นกัน เช่น ขี่ม้าส่งเมือง, ตี่จับ, โมราเรียกชื่อ,
ลิงชิงหลัก, ตั้งเต, โพงพาง, ชักเย่อ, กระต่ายขาเดียว,
กระโดดยาง ฯลฯ ซึ่งทั้งหมดล้วนเป็นภูมิปัญญาของ
คนไทย ที่สร้างสรรค์มรดกตกทอดทางวัฒนธรรม
ให้กับลูก ๆ หลาน ๆ ได้อย่างดีทีเดียว

More Related Content

Featured

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

ด.ช. ภูริปีญญา โสริเวณ แก้0 (1)

  • 1.
  • 2. การละเล่นพื้นบ้านของไทยมีอะไรบ้าง เอ...แล้วเด็ก ๆ สมัยนี้เคยได้เล่นการละเล่นของ เด็กไทยแบบนี้กันบ้างไหมเอ่ย ยุคนี้เด็ก ๆ เข้าถึงเทคโนโลยีสื่อสารได้ง่ายขึ้น ลองดูสิคะ ไม่ว่ามองไปทางไหน ก็จะ เห็นเด็กตัวเล็กตัวน้อยเล่นเกมในไอแพด แชทไลน์ เมนต์เฟซบุ๊กกันคล่องปร๋อ ใช้เวลาอยู่ หน้าจอสี่เหลี่ยมเกือบทั้งวันทั้งคืน ต่างจากสมัยก่อนที่เด็ก ๆ มักจะชักชวนเพื่อน ๆ ออกมา เล่นการละเล่นพื้นบ้าน ร้องราทาเพลงกันสนุกสนาน ก็น่าคิดเหมือนกันนะคะว่า เด็กสมัยนี้ยัง รู้จักและรู้วิธีเล่นการละเล่นพื้นบ้านของไทยมากน้อยแค่ไหน ส่วนคนที่อายุ 25 ปีอัป น่าจะยัง พอจดจาการละเล่นพื้นบ้านเหล่านี้ได้บ้างล่ะน่า
  • 3. วันนี้กระปุกดอทคอมดอทคอมจะชวนกันมาย้อนอดีตไปในวัย เด็ก ขอรื้อฟื้นควา วันนี้กระปุกดอทคอมจะชวนกันมาย้อนอดีตไป ในวัยเด็ก ขอรื้อฟื้นความสนุกสนานกับ 10 การละเล่นพื้นบ้าน ที่ หลายคนอาจจะหลงลืมไปแล้ว มสนุกสนานกับ 10 การละเล่น พื้นบ้าน ที่หลายคนอาจจะหลงลืมไปแล้ว หลงลืมไปแล้ว
  • 5. "เล่นซ่อนหา" หรือ "โป้ งแปะ" เป็นหนึ่งในการละเล่น พื้นบ้านที่มีมาช้านาน และยังได้รับความนิยมอยู่ทุกยุคทุก สมัย เพราะกติกาง่าย แถมสนุก และต้องมีการกาหนด อาณาเขต เพื่อไม่ให้กว้างจนเกินไป จนถึงวันนี้ก็ยังมีเด็ก ๆ จับกลุ่มกันเล่นซ่อนหาให้เห็นกันอยู่
  • 7. การละเล่นยอดฮิตสาหรับเด็กผู้หญิง นั่นเอง ปกติจะใช้ผู้เล่น 2-4 คน และใช้ ก้อนกรวดกลม ๆ 5 ก้อนเป็นอุปกรณ์
  • 8. กติกาก็คือ ต้องมีการเสี่ยงทายว่าใครจะได้เล่นก่อน โดยใช้วิธี "ขึ้นร้าน" คือแบมือถือหมากทั้ง 5 เม็ดไว้ แล้วโยนหมาก ก่อนจะ หงายมือรับ แล้วพลิกมือกลับรับหมากอีกที ใครมีหมากอยู่บนมือ มากที่สุด คนนั้นจะได้เป็นผู้เล่นก่อน
  • 10. เชื่อเลยว่า ชีวิตในวัยเด็กของคนส่วนใหญ่ผ่านการละเล่น "รีรี ข้าวสาร" มาแล้ว และยังร้องบทร้องคุ้นหูที่ว่า "รีรีข้าวสาร สอง ทะนานข้าวเปลือก เด็กน้อยตาเหลือก เลือกท้องใบลาน คดข้าวใส่ จาน คอยพานคนข้างหลังไว" ได้ด้วย
  • 11. กติกา "รีรีข้าวสาร" ก็คือ ต้องมีผู้เล่น 2 คนหันกัน และเอามือ ประสานกันไว้เป็นรูปซุ้ม ส่วนผู้เล่นคนอื่น ๆ จะกี่คนก็ได้จะยืนเกาะ เอวกันไว้ตามลาดับ หัวแถวจะพาขบวนลอดซุ้มพร้อมร้องเพลง "รี รีข้าวสาร" จนเมื่อถึงประโยคที่ว่า "คอยพานคนข้างหลังไว้" ผู้ที่ ประสานมือเป็นซุ้มจะลดมือลงกันไม่ให้คนสุดท้ายผ่านเข้าหน้าเข้า หาไป เรียกว่า "คัดคน" และเล่นอย่างนี้ไปเรื่อย ๆ จนคนหมด
  • 12.  ประโยชน์ของการเล่นรีรีข้าวสาร ก็คือ ช่วยให้ จิตใจร่าเริงแจ่มใส รู้จักมีไหวพริบ ใช้กลยุทธ์ให้ ตัวเองเอาตัวรอดจากการถูกคล้องไว้ได้ รวมทั้งฝึกให้เด็กทางานเป็นกลุ่มได้ด้วย
  • 14.  การละเล่นแสนสนุกที่ทาให้ผู้เล่นได้ลุ้นไปด้วย โดยใช้ อุปกรณ์เพียงแค่ผ้าผืนเดียวเท่านั้น แล้วให้ผู้เล่นเสี่ยง ทาย ใครแพ้คนนั้นต้องเป็น "มอญ" ส่วนคนอื่น ๆ มา นั่งล้อมวง คนที่เป็น "มอญ" จะต้องถือผ้าไว้ในมือแล้ว เดินวนอยู่นอกวง จากนั้นคนนั่งในวงจะร้องเพลงว่า "มอญซ่อนผ้า ตุ๊กตาอยู่ข้างหลัง ไว้โน่นไว้นี่ ฉันจะตีก้น เธอ"
  • 15.  ระหว่างเพลงร้องอยู่ คนที่เป็น "มอญ" จะแอบ ทิ้งผ้าไว้ข้างหลังผู้เล่นคนใดคนหนึ่ง แต่เมื่อทิ้งผ้าแล้ว จะ แกล้งทาเป็นยังไม่ทิ้ง โดยเดินวนไปอีก 1 รอบ หากผู้ที่ ถูกทิ้งผ้าไม่รู้ตัว "มอญ" จะหยิบผ้ามาตีหลังผู้เล่นคนนั้น แล้วต้องกลายเป็น "มอญ" แทน แต่หากผู้เล่นรู้ตัวว่ามี ผ้าอยู่ข้างหลัง ก็จะหยิบผ้ามาวิ่งไล่ตี "มอญ" รอบวง "มอญ" ต้องรีบกลับมานั่งแทนที่ผู้เล่นคนนั้น แล้วผู้ที่วิ่ง ไล่ต้องเปลี่ยนเป็น "มอญ" แทน
  • 17. ดูจะเป็นการละเล่นพื้นบ้านที่หาดูได้ไม่บ่อยนัก แต่หาก เป็นสมัยก่อนจะเห็นเด็ก ๆ เดินกะลา กันทั่วไป โดยผู้ เล่นจะต้องนากะลามะพร้าว 2 อันมาทาความสะอาดแล้ว เจาะรูตรงกลาง ร้อยเชือกให้แน่น เพื่อป้ องกันไม่ให้เชือก หลุดเวลาเดิน เวลาเดินให้ใช้นิ้วหัวแม่เท้ากับนิ้วชี้คีบ เชือกเอาไว้แล้วเดิน หากมีเด็ก ๆ หลายคนอาจจัดแข่ง เดินกะลา ได้ด้วยการกาหนดเส้นชัยไว้ใครเดินถึงก่อนก็ เป็นผู้ชนะไป
  • 18.  ประโยชน์ของการเดินกะลา ก็คือช่วยฝึกการ ทรงตัว ความสมดุลของร่างกาย เพราะต้อง ระวังไม่ให้ตกกะลา ช่วงแรก ๆ อาจจะรู้สึกเจ็บ เท้า แต่ถ้าฝึกบ่อย ๆ จะชินและหายเจ็บไปเอง แถมยังทาให้ร่างกายแข็งแรง เพลิดเพลินอีก ด้วย
  • 20.  เป็นอีกหนึ่งการละเล่นที่เคยได้ยินชื่อ แต่หลายคนไม่ทราบกติกา โดยวิธีการเล่นก็คือ ใช้อะไรก็ได้ลักษณะกลม ๆ เท่าจานวนคนเล่น ยกเว้นผู้ที่เป็นกา 1 คน มาสมมติว่าเป็น "ไข่" แล้วเขียนวงกลมลงบนพื้น 2 วง วงแรกเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4 ฟุต และอีก วงหนึ่งอยู่ข้างในวงแรก ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 ฟุต วาง "ไข่" ทั้งหมดไว้ในวงกลม เล็ก ให้คนใดคนหนึ่งเป็นกา ยืนในวงกลมวงใหญ่ หรือนั่งคร่อมวงกลมเล็ก นอกนั้นทุก คนยืนรอบนอกวงกลมวงใหญ่ คอยแย่งไข่ คนเป็นกามีหน้าที่ป้ องกันไข่ ไม่ให้ถูกแย่งไป  +
  • 21.  กติกาของกาฟักไข่ ก็คือคนข้างนอกต้องแย่งไข่มาให้ได้ โดยใช้แขนหรือมือเอื้อมเข้าไป แต่ห้ามนาตัวเข้าไปใน วงกลม และต้องระวังไม่ให้อีกาถูกมือหรือแขนได้ด้วย หากแย่งไข่ออกมาได้หมดแล้ว ให้ปิดตากา แล้วนาไข่ ทั้งหมดไปซ่อน เพื่อให้กาตามหาไข่ หากพบไข่ที่ผู้เล่นคน ใดนาไปซ่อน ผู้นั้นจะต้องเปลี่ยนมาเป็นกาแทน
  • 23.  "แม่งูเอ๋ยกินน้าบ่อไหน..." ประโยคคุ้น ๆ ของการเล่นงูกินหางที่ยังติดตรึงใน ความทรงจาของใครหลาย ๆ คน และ เป็นที่นิยมของเด็กในทุกเทศกาล ทุก โอกาสอีกด้วย
  • 24.  วิธีการเล่นงูกินหาง เริ่มจากเสี่ยงทาย ใครแพ้ต้องไปเป็น "พ่องู" ส่วนผู้ชนะที่มีร่างกายแข็งแรง ตัวใหญ่จะเป็น "แม่งู" ไว้คอย ปกป้ องเพื่อน ๆ คนอื่นที่เป็น "ลูกงู" จากนั้น "ลูกงู" จะเกาะเอวแม่งูและต่อแถวกันไว้ยืนเผชิญหน้ากับ "พ่องู" จากนั้นจะเข้าสู่ บทร้อง โดยพ่องูจะถามว่า  พ่องู : "แม่งูเอ๋ยกินน้าบ่อไหน"  แม่งู : "กินน้าบ่อโสกโยกไปโยกมา" (พร้อมแสดงอาการส่ายตัวไปมา)  พ่องู : "แม่งูเอ๋ยกินน้าบ่อไหน"  แม่งู : "กินน้าบ่อหินบินไปบินมา" (พร้อมแสดงอาการบินไปบินมา)  พ่องู : "แม่งูเอ๋ยกินน้าบ่อไหน"  แม่งู : "กินน้าบ่อทรายย้ายไปย้ายมา" (พร้อมแสดงอาการส่ายตัวไปมา)  จากนั้นพ่องูจะพูดว่า "กินหัวกินหางกินกลางตลอดตัว" แล้ววิ่งไล่จับลูกงูที่กอดเอวอยู่ ส่วนแม่งูก็ต้องป้ องกันไม่ให้ พ่องูจับลูกงูไปได้ เมื่อลูกงูคนไหนถูกจับ จะออกจากแถวมายืนอยู่ด้านนอก เพื่อรอเล่นรอบต่อไป หากพ่องูแย่งลูกได้หมด จะ ถือว่าจบเกมแล้วเริ่มเล่นใหม่ โดยพ่องูจะกลับไปเป็นแม่งูต่อในรอบต่อไป
  • 25.  ประโยชน์ของการเล่นงูกินหางก็คือ ทาให้ผู้ เล่นเกิดความสามัคคี ทางานเป็นกลุ่ม รู้จัก ช่วยเหลือกัน และรู้จักการต่อสู้เพื่อเอาตัวรอด เมื่อภัยมาถึงตัว นอกจากนี้ยังฝึกร่างกายให้ แข็งแรง และจิตใจเบิกบานสนุกสนานไปด้วย
  • 27.  เป็นอีกหนึ่งการละเล่นที่แสดงถึงความมีภูมิ ปัญญาของคนไทยทีเดียว เพราะในสมัยก่อนแทบทุก บ้านจะปลูกต้นกล้วยไว้ทั้งนั้น ดังนั้น ต้นกล้วยจึงนามา ประยุกต์เป็นของเล่นให้เด็ก ๆ ได้อย่างดีทีเดียว โดยเฉพาะ ม้าก้านกล้วย ดูเหมือนจะถูกอกถูกใจเด็กชาย วัยซนมากที่สุด เพราะเด็ก ๆ จะนาก้านกล้วยมาขี่เป็นม้า เพื่อแข่งขันกัน หรือทาเป็นดาบรบกันก็ได้
  • 28.  วิธีทาม้าก้านกล้วยก็ไม่ยาก เลือกตัดใบกล้วยออกมาแล้วเอา มีดเลาะใบกล้วยออก แต่เหลือไว้ที่ปลายเล็กน้อยให้เป็นหางม้า เอามีดฝานแฉลบด้านข้างก้านกล้วยตรงโคนบาง ๆ เพื่อทา เป็นหูม้า แล้วหักก้านกล้วยตรงโคนหูม้าออก จากนั้นก็นา แขนงไม้ไผ่มาเสี้ยมปลายให้แหลม ความยาวประมาณคืบกว่า ๆ เสียบหัวม้าที่พับเอาไว้จนทะลุไปถึงก้าน เพื่อให้เป็นสาย บังเหียนผูกปากกับคอม้านั่นเอง เสร็จแล้วก็นาเชือกกล้วยมา ผูกด้านหัวม้าและหางม้า ทาเป็นสายสะพายบ่า แค่นี้ก็ได้ม้า ก้านกล้วยไปสนุกกับเพื่อน ๆ แล้ว
  • 30.  หากย้อนไปสักปี พ.ศ. 2510-2530 ทอยเส้นจะเป็นที่ นิยมของเด็ก ๆ อย่างมาก โดยอุปกรณ์การเล่นจะใช้ตัว ตุ๊กตุ่นพลาสติกหรือยาง ขนาดความสูง 4-5 เซนติเมตร (ที่แถมมากับขนมอบกรอบซึ่งฮิตมากในยุคนั้น) มาใช้ ทอย และต้องมีพื้นถนนที่มีเส้นรอยต่อระหว่างบล็อก ระยะห่างประมาณ 3-5 เมตร หรือใช้การขีดลากเส้น 2 เส้นแทนก็ได้
  • 31.  วิธีการเล่นทอยเส้นคือต้องเสี่ยงหาคนทอยก่อน โดยใช้วิธีเป่ายิงฉุบ โอน้อยออก ฯลฯ แล้วแต่จะเลือก หรือจะทอยเปล่า เพื่อดูว่าใครใกล้-ไกลเส้นมากกว่า คนที่ ไกลเส้นที่สุดจะต้องเริ่มทอยก่อน เพราะจะเสียเปรียบที่สุด ส่วนคนที่ทอยทีหลังจะ ได้เปรียบ เพราะเลือกหาทางหนีทีไล่ได้ดีกว่า  เมื่อกาหนดลาดับผู้เล่นแล้ว ให้ผู้เล่นยืนจรดเท้าอยู่เส้นแรก ห้ามล้า เส้นออกไป แล้วใช้แขนเหวี่ยงตุ๊กตุ่นในมือออกไป ให้ตก หรือทับเส้นที่สอง เมื่อ ทอยครบทุกคน ให้เปรียบเทียบ ตุ๊กตุ่นของใครใกล้เส้นที่สุดเป็นผู้ชนะ จากนั้น ผู้ ชนะจะยืนที่ตาแหน่งตุ๊กตุ่นของตัวเอง แล้วใช้ตุ๊กตุ่นของตัวเองเอื้อม หรือปาไปให้ โดนตัวอื่นที่อยู่ห่างเส้นในลาดับถัดไป เพื่อจะได้กิน (ครอบครอง) ตุ๊กตุ่นตัวนั้นไว้ หากกินได้ ผู้เล่นคนอื่นจะถูกลงโทษตามตกลง เช่น ดีดมะกอก ฯลฯ เมื่อจบรอบ แรก ก็หันหลังกลับ ยืนจรดเส้นที่สอง แล้วทอยกลับไปให้ใกล้เส้นแรกมากที่สุด ด้วยกติกาเช่นเดิม โดยดูแล้วมีลักษณะคล้ายการเล่นทอยเหรียญ หรือ Pitch and Toss ของต่างประเทศ
  • 33.  เชื่อว่าหลายคน คงเคยมีประสบการณ์การเล่นว่าวในช่วงปิดเทอมที่ ท้องสนามหลวงมาแล้ว แม้ว่าตอนนี้ภาพนั้นจะค่อย ๆ จางหายไปแล้ว ก็ตาม โดย "การเล่นว่าวไทย" นั้น เริ่มมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย เรื่อยมา ตามที่ปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และถือเป็นสิ่งที่บ่ง บอกถึงภูมิปัญญาพื้นบ้านและวัฒนธรรมของไทยได้อย่างดี เพราะแต่ ละท้องถิ่นจะคิดประดิษฐ์ว่าวแตกต่างกันไป "ว่าวไทย" จึงกลายเป็น มรดกตกทอดของแต่ละชุมชนและมีลักษณะเฉพาะตัวที่โดดเด่น
  • 34. ยังมีอีกหลายการละเล่นที่เด็กไทยสมัยก่อนนิยม นามาเล่นกัน เช่น ขี่ม้าส่งเมือง, ตี่จับ, โมราเรียกชื่อ, ลิงชิงหลัก, ตั้งเต, โพงพาง, ชักเย่อ, กระต่ายขาเดียว, กระโดดยาง ฯลฯ ซึ่งทั้งหมดล้วนเป็นภูมิปัญญาของ คนไทย ที่สร้างสรรค์มรดกตกทอดทางวัฒนธรรม ให้กับลูก ๆ หลาน ๆ ได้อย่างดีทีเดียว