SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
Knowledge Management
(KM)
การจัดสัมมนาภายในโรงพยาบาลฯ
การจัดสัมมนาภายนอกโรงพยาบาลฯ
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปปฏิบัติงานภายในประเทศ
การลาศึกษาต่อภายในประเทศ
การลาศึกษาต่อหรือลาอบรมต่อต่างประเทศ
การไปปฏิบัติงานหรือนาเสนอผลงานต่างประเทศ
ประเภทการใช้เงิน
1. เงินสารองจ่าย ของหน่วยงาน
หมายถึง : เงินของหน่วยงานที่มีอยู่เอง และนามาสารองจ่าย
ไปก่อน เนื่องจากมีความจาเป็นและเร่งด่วน โดยจะนาหลักฐานการ
ใช้จ่ายมาดาเนินการเบิกคืนหน่วยงานภายหลัง
2. เงินยืมรองจ่าย
หมายถึง : เงินยืมที่จ่ายให้แก่ผู้ยืมเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการ
ปฏิบัติงานของสภากาชาดไทยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
2.1 เงินยืมรองจ่ายประจา(ใบยืมสีฟ้ า) คือ เงินที่
จ่ายให้ยืมเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายหมุนเวียนประจาสานักงานภายใน
ระยะเวลา 1 ปีงบประมาณ
2.2 เงินยืมรองจ่ายชั่วคราว(ใบยืมสีเหลือง) คือ เงิน
ที่จ่ายให้ยืมเป็นครั้งคราวเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายตามโครงการหรืองาน
หรือกิจกรรม ที่ได้รับอนุมัติแล้ว
ประเภทใบยืมเงินรองจ่าย
เงินรองจ่ายประจา เงินรองจ่ายชั่วคราว
เงินรองจ่าย(จากคลัง)
กาหนดใช้หนี้
- ภายใน 1 ปีงบประมาณที่ได้รับเงินยืม
เงินที่จ่ายให้ยืมเพื่อเป็นค่าใช้จ่าย
หมุนเวียนประจาสานัก ภายใน
ระยะเวลา 1 ปีงบประมาณ
กาหนดการใช้หนี้
1. การยืมเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
• ภายใน 15 วัน นับจากวันกลับมาถึง
2. การยืมเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดประชุมอบรม
หรือสัมมนา
• ภายใน 30 วันนับแต่วันเสร็จสิ้น
การจัดประชุม จัดฝึกอบรม หรือสัมมนา
3. การยืมเพื่อปฏิบัติงานนอกเหนือจากข้อ 1 และข้อ 2
• ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับเงินยืม
- การใช้หนี้คืนใบสาคัญจ่าย
และ/หรือ เงินเหลือจ่าย (ถ้ามี)
- เงินที่จ่ายให้ยืมเป็นครั้งคราว
เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายตามโครงการหรือ
กิจกรรมที่ได้รับอนุมัติ
- โครงการหรืองานเฉพาะกิจ เช่น
อบรม สัมมนา
- เพื่อการบริหารหรือการดาเนินการ
เช่น การยืมเงินผู้ป่วย งานซ่อมแซม
กรณีฉุกเฉิน ค่าใช้จ่ายที่ต้องจ่าย
ตามกาหนด เช่น ค่าไฟฟ้ า น้าประปา
โทรศัพท์ ค่าInternet ค่าใช้จ่าย
ในการออกของกรณีซื้อของจาก
ต่างประเทศ ฯลฯ
- การใช้หนี้คืนใบสาคัญจ่าย
และ/หรือ เงินเหลือจ่าย (ถ้ามี)
ขั้นตอนการยืมเงินรองจ่าย หน่วยงาน
รองผอ.ฯ ฝ่ายการคลัง
ฝ่ายบัญชีและงบประมาณ
ตรวจสอบ
เอกสาร
การยืมเงิน
บันทึกหักงบประมาณใบยืม
ผช.ผอ.ฯ ด้านการเงินและงบประมาณ
ฝ่ายบัญชีและงบประมาณ
ส่งสานักงานการคลัง
ส่งคืนหน่วยงาน
ฝ่ายบัญชีและงบประมาณบันทึกเอกสารส่ง
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
เสนอขออนุมัติยืมเงินรองจ่าย
จัดทาใบยืมตามแบบฟอร์มสภากาชาดไทย
พร้อมแนบสาเนาโครงการที่ได้รับอนุมัติ
แก้ไขเรียบร้อยแล้ว
Enter you text
โครงการพัฒนาบุคลากร (HR)
โครงการพัฒนาคุณภาพ (HA)
โครงการเพิ่มศักยภาพ
(หน่วยนโยบายและแผน)
การเบิกค่าใช้จ่ายทั่วไป
โครงการ
อนุมัติ
ดาเนินการจัดซื้อ
ตามระเบียบพัสดุ
ข้อ17 ทวิ : การซื้อหรือการจ้างครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาไม่เกิน 10,000
บาท ไม่ต้องทาใบขอดาเนินการซื้อ/จ้าง(PR) ตามข้อ 17 และ(PA)
ตามข้อ 46 โดยให้ทาบันทึกรายงานเสนอผู้มีอานาจ
***ให้ทาบันทึกข้อความขออนุมัติซื้อ/จ้าง กรณีวงเงินไม่เกิน 10,000
บาทเสนอต่อ ผู้ช่วยผู้อานวยการโรงพยาบาลฯด้านงานจัดซื้อและบริหาร
พัสดุ โดยต้องระบุว่าหน่วยงานจะเป็นผู้ดาเนินการจัดซ้อ/จ้างเอง
ข้อ46 : การสั่งซื้อหรือสั่งจ้างที่มีราคาเกิน 10,000 บาททุกกรณี
ให้ทาใบขออนุมัติซื้อ/จ้าง (PA) โดยแนบใบขอดาเนินการซื้อ/จ้าง
(PR) ตามข้อ 17 และใบเสนอราคา
***กรณีการสั่งซื้อหรือจ้างเกินอานาจของหัวหน้าหน่วยงานให้ส่งเรื่อง
ให้สานักงานการคลังเพื่อนาเสนอต่อผู้มีอานาจอนุมัติต่อไป
สามารถจัดซื้อ/จ้าง
ตามแต่ละวิธีได้
เก็บหลักฐานทางการเงินไว้เพื่อ
รวบรวมการเบิกจ่ายต่อไป
custer บัญชี รองผู้อานวยการฯ ฝ่ายการคลังหน่วยงาน
ตามระเบียบข้อ 54 การซื้อหรือการจ้างให้ทาสัญญาเป็นหนังสือตามตัวอย่างท้ายระเบียบนี้ เว้นแต่ในกรณี
ดังต่อไปนี้ จะทาข้อตกลงเป็นหนังสือไว้ต่อกัน หรือทาใบสั่งซื้อ หรือใบสั่งจ้าง แล้วแต่กรณี โดยให้อยู่
ในดุลพินิจของผู้ซ้อหรือผู้ว่าจ้าง
(1) การซื้อหรือการจ้างที่ไม่เกิน 100,000 บาท
(2) การซื้อหรือการจ้างที่เกิน 100,000 บาท แต่ไม่เกิน 400,000 บาท และผู้รับจ้างสามารถ ส่งมอบพัสดุได้
ครบถ้วนภายใน 5 วันทาการ ของสภากาชาดไทย นับตั้งแต่วันถัดจากวันตกลงซื้อขายหรือจ้าง
(3) การซื้อหรือการจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษ
(4) การซื้อโดยวิธีพิเศษตามข้อ 13 (1) (2) (3) (4) และ (8)
(5) การจ้างโดยวิธีพิเศษตามข้อ 14 (1) (2) (3) และ (4)
ทั้งนี้การซื้อหรือการจ้างตาม (1) (2) (4) และ (5) จะต้องส่งของให้ครบถ้วนในคราวเดียว
ในกรณีการซื้อหรือการจ้างโดยวิธีตกลงราคาหรือวิธีกรณีพิเศษซึ่งเป็นเงินสดมีราคาไม่เกิน
10,000 บาท หรือในกรณีการซื้อหรือการจ้าง ซึ่งใช้วิธีดาเนินการตามข้อ 22 วรรคสอง(เรียกว่ากรณีจาเป็น
และเร่งด่วนโดยไม่ได้คาดหมายไว้ก่อนและไม่อาจดาเนินการตามปกติได้) จะไม่ทาข้อตกลงเป็นหนังสือ
ใบสั่งซื้อ ใบสั่งจ้าง ก็ได้
ตามระเบียบข้อ 17 ก่อนดาเนินการซื้อจ้างทุกกรณี ให้เจ้าหน้าที่พัสดุ
จัดทาใบขอดาเนินการซื้อ/จ้าง (PR) เสนอหัวหน้าหน่วยงานตามรายการ
ดังต่อไปนี้
(1) เหตุผลและความจาเป็นที่ต้องซื้อหรือจ้าง
(2) ราคาพัสดุหรือราคาค่าจ้างในท้องตลาดในขณะนั้นที่สืบทราบหรือ
ประมาณได้ และถ้าเคยซื้อหรือจ้างมาก่อน ก็แสดงราคาซื้อหรือจ้างครั้ง
หลังสุดที่เคยซื้อหรือจ้างด้วย
(3) วงเงินที่จะซื้อหรือจ้าง ให้ระบุวงเงินงบประมาณที่จะซื้อหรือจ้างในครั้ง
นั้นทั้งหมด ถ้าไม่มีวงเงินงบประมาณให้ระบุวงเงินที่ประมาณว่าจะซื้อ
หรือจ้างในครั้งนั้น
(4) กาหนดเวลาที่ต้องการใช้พัสดุนั้น หรือให้งานนั้นแล้วเสร็จ
(5) วิธีที่จะซื้อหรือจ้าง และเหตุผลที่ต้องซื้อหรือจ้างโดยวิธีนั้น
(6) ข้อเสนออื่นๆ เช่น การขออนุมัติแต่งตั้งกรรมการต่างๆ ที่จาเป็นใน
การซื้อหรือจ้าง การออกประกาศสอบราคา หรือประกาศประกวดราคา
1. ใบเสร็จรับเงิน หรือบิลเงินสดที่สมบูรณ์
กรณีที่ซื้อของจากบริษัทฯ ที่มีภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือ VAT 7% หน่วยงานจะต้องสารวจดูด้วยว่า เมื่อได้
ใบเสร็จรับเงินมาแล้วมีใบกากับภาษีมาด้วยหรือไม่
1. กรณีบิลใบเสร็จรับเงินไม่สมบูรณ์
2. กรณีซื้อจากร้านค้าย่อยทั่วไปจึงไม่มีใบเสร็จรับเงินออกให้
3. ใบสาคัญรับเงิน
2. ใบรับรองการจ่ายเงิน
ใช้สาหรับการเป็ นหลักฐานในการรับเงินสาหรับบุคคลธรรมดา และต้องแนบสาเนาบัตรประจาตัวประชาชนด้วย
ทุกครั้ง
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง
1. ใบเสร็จรับเงิน หรือบิลเงินสดที่สมบูรณ์
7. เลขที่เอกสาร (เล่มที่/เลขที่)
2. ใบรับรองการจ่ายเงิน
กรณี ใบเสร็จรับเงินไม่สมบูรณ์ กรณี ไม่มีใบเสร็จรับเงิน
ตัวอย่าง
ใบเสร็จรับเงินไม่สมบูรณ์
3. ใบสาคัญรับเงิน
พร้อมแนบสาเนาบัตรประจาตัวประชาชน/บัตร
ข้าราชการ ด้วยทุกครั้ง
1. ตรวจสอบชื่อ-สกุล ตามหลักฐาน
และให้ตรงกับรายชื่อวิทยากรที่เสนอ
ไว้ในโครงการ
2. ตรวจสอบ ว/ด/ป และเวลาที่บรรยาย
หัวข้อการบรรยาย ให้ตรงกับจานวนเงิน
ที่ขอเบิกตามอัตรา
ค่าตอบแทนที่กาหนดไว้หรือไม่
3. ต้องแนบกาหนดการทุกครั้งที่มีการเบิก
ค่าตอบแทนวิทยากร
หลักการตรวจสอบ
ถ้ามีการจัดอบรมสัมมนา โดยมีวิทยากรมาบรรยาย
หมายเหตุ : - ถ้าวิทยากรเป็นเจ้าหน้าที่ภายในสานักงานที่มีการจัดอบรมไม่สามารถเบิกค่าตอบแทนวิทยากรได้
- ถ้ากรณีวิทยากรที่ได้รับค่าตอบแทนแล้ว จะไม่สามารถเบิกเงินค่าอาหารและที่พักได้
กลุ่มวิทยากร อัตรา/ไม่เกิน/ชั่วโมง
1. ข้าราชการ/พนักงานหรือลูกจ้างรัฐวิสาหกิจ/บุคลากรสภากาชาดไทยจากสานักงานอื่น
2. วิทยากรนอกสภากาชาดไทย ที่มิได้สังกัดในข้อ 1 เช่น บริษัทเอกชน
800.- บาท
1,500.- บาท
ค่าอาหาร
ที่ใช้สาหรับการจัดประชุม อบรม สัมมนาโครงการต่างๆ ไม่
ต้องปฏิบัติตามระเบียบพัสดุฯ
ให้ทาเป็นบันทึกข้อความขออนุมัติจัดอาหาร หรือซื้ออาหาร...
เสนอต่อผู้มีอานาจอนุมัติ ก่อนดาเนินการจัดซื้อ ยกเว้นการซื้อ
ของมาจัดเอง
**การทาบันทึกเรื่องขอจัดอาหารหรือซื้ออาหาร ขอหน่วยงานทาแยกขึ้นมา
ต่างหากจากการขอซื้อเรื่องอื่นๆ **
***เบิกเงินค่าอาหาร ขอให้ทุกหน่วยงานแนบรายชื่อ/ใบลงทะเบียนของ
ผู้เข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา มาด้วยทุกครั้ง ***
เอกสารทุกฉบับที่จ่ายเงินแล้ว
ที่จะต้องนามาทาเรื่องการเบิกจ่าย จะต้องมี
1. จะต้องประทับตรา จ่ายเงินแล้ว และลงนามกากับ
2. การซื้อ/การจ้าง ต้องมีคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/การจ้าง
(รายชื่อจะต้องตรงกับคาสั่ง รพ.ฯ)
ใช้ข้อความดังนี้
ถ้าเป็นการซื้อ @ คณะกรรมการตรวจรับของถูกต้องเรียบร้อยแล้ว
ถ้าเป็นการจ้าง @ คณะกรรมการตรวจรับงานจ้างถูกต้องเรียบร้อยแล้ว
ขั้นตอนการใช้หนี้เงินยืมรองจ่าย
ขั้นตอน ฝ่าย/หน่วยงาน
รองผู้อานวยการฯ
ฝ่ายการคลัง
ฝ่ายบัญชีและงบประมาณ
สานักงานการคลัง
หน่วยใบสาคัญจ่าย
หน่วยเงินงบประมาณ/
หน่วยเงินนอกงบประมาณ
ขั้นตอนการเบิกเงินรองจ่าย
หมายเหตุ
ห้ามดาเนินการซื้อหรือจ้างก่อนได้รับอนุมัติ
โครงการ และได้รับเงินยืมจากสานักงานการคลัง
เพื่อดาเนินการ
เบิกจ่ายเงินต่อไป
ตามระเบียบ
สภากาชาดไทย
- พร้อมจัดพิมพ์รายงาน
- บันทึกข้อมูลใส่แผ่นดิสก์
ตามระเบียบ
สภากาชาดไทย
ทาบันทึกข้อความ ขอสรุปค่าใช้จ่ายและ
ใช้หนี้เงินยืมรองจ่าย
พร้อมแนบสิ่งที่ส่งมาด้วย
1. ตัวเรื่องอนุมัติโครงการ พร้อมรายละเอียด
โครงการฯ
2. สำเนำใบยืม
3. เงินสดคงเหลือ (ถ้ำมี)
4. หลักฐานการจ่ายเงิน (ใบเสร็จรับเงิน,
ใบสาคัญรับเงิน หรือใบรับรองการจ่ายเงิน
5. ใบขออนุมัติจัดซื้อ/จัดจ้าง
[แบบพิมพ์ 2530(PR), 2531(PA)]
6. ใบสั่งซื้อ/ใบสั่งจ้าง
7. สาเนาใบภาษีหัก ณ ที่จ่าย
และใบนาเงินส่งคลัง (ใช้ในกรณีที่เป็นการจ้าง)
8. คาสั่งกรรมการตรวจรับพัสดุ/การจ้าง
นาส่งที่ฝ่ายบัญชี
และงบประมาณ
เพื่อทาการแก้ไข
บันทึกตัด
งบประมาณ
ออกหน้างบ
ใบสาคัญ
ตรวจสอบ
เอกสาร
ตรวจสอบอนุมัติ
ไม่ถูกต้อง
แก้ไขเรียบร้อยแล้ว
ถูกต้อง
ขั้นตอนการเบิกเงินสารองจ่าย (ของหน่วยงาน)
ขั้นตอน ฝ่าย/หน่วยงาน
รองผู้อานวยการฯ
ฝ่ายการคลัง
ฝ่ายบัญชีและงบประมาณ
สานักงานการคลัง
หน่วยใบสาคัญจ่าย
หน่วยเงินงบประมาณ/
หน่วยเงินนอกงบประมาณ
ขั้นตอนการเบิกเงินรองจ่าย
หมายเหตุ
ห้ามดาเนินการซื้อหรือจ้างก่อนได้รับอนุมัติ
โครงการ
เพื่อดาเนินการ
เบิกจ่ายเงินต่อไป
ตามระเบียบ
สภากาชาดไทย
- พร้อมจัดพิมพ์รายงาน
- บันทึกข้อมูลใส่แผ่นดิสก์
ตามระเบียบ
สภากาชาดไทย
ทาบันทึกข้อความ ขออนุมัติเบิกเงินสารอง
จ่าย พร้อมทั้งระบุชื่อบัญชี เลขที่บัญชี ของ
หน่วยงานนั้นๆ ที่ได้เปิ ดบัญชีไว้
พร้อมแนบสิ่งที่ส่งมาด้วย
1. ตัวเรื่องอนุมัติโครงการ พร้อมรายละเอียด
โครงการฯ
2. หลักฐานการจ่ายเงิน (ใบเสร็จรับเงิน,
ใบสาคัญรับเงิน หรือใบรับรองการจ่ายเงิน
3. ใบขออนุมัติจัดซื้อ/จัดจ้าง
[แบบพิมพ์ 2530(PR), 2531(PA)]
4. ใบสั่งซื้อ/ใบสั่งจ้าง
5. สาเนาใบภาษีหัก ณ ที่จ่าย
และใบนาเงินส่งคลัง (ใช้ในกรณีที่เป็นการจ้าง)
6. คาสั่งกรรมการตรวจรับพัสดุ/การจ้าง
บันทึกตัด
งบประมาณ
ออกหน้างบ
ใบสาคัญ
ตรวจสอบ
และจ่ายเงิน
คืนหน่วยงาน
ตามที่ระบุมา
หน้าบันทึก
ข้อความว่าให้
จ่ายเข้า
ชื่อบัญชีอะไร
เลขที่บัญชี
ตรวจสอบอนุมัติ
ไม่ถูกต้อง
แก้ไขเรียบร้อยแล้ว
ถูกต้อง
เพื่อทาการแก้ไข
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย คือ ภาษีที่ทางกฏหมายกาหนดให้หักไว้ล่วงหน้าจากเงินได้ที่ได้รับ และสามารถนาไปขอเครดิต
เพื่อหักจากยอดภาษีที่ต้องจ่ายจริงในทุกๆ ปี โดยที่ทางผู้จ่ายเงินได้จะมีหลักฐานที่เรียกว่าหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย
ให้ไว้เป็นหลักฐาน
1 % ค่าขนส่ง (ไม่รวมถึงการจ่ายค่าโดยสารสาหรับการขนส่งสาธารณะ)
1 % ค่าเบี้ยประกันภัย
2 % ค่าโฆษณา
3% ค่าจ้างทาของ และค่าบริการ
5% ค่าเช่า
ทาไมต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย
เงื่อนไขการหักภาษี ณ ที่จ่าย
1.ต้องเป็นการจ่ายเงินตั้งแต่ 1,000 บาทขึ้นไป การจ่ายเงินได้พึงประเมินที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย ต้องมีจานวนตามสัญญา
รายหนึ่งๆ มีจานวนเงินตั้งแต่ 1,000 บาทขึ้นไป แม้การจ่ายนั้นจะได้แบ่งจ่ายครั้งหนึ่งๆ ไม่ถึง 1,000 บาทก็ตาม คาว่า “1,000
บาท” เป็นเงินได้ที่จ่ายยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม
2.การหักภาษี ณ ที่จ่ายต้องยึดเกณฑ์เงินสด เมื่อ ไหร่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายที่มักจะมีข้อโต้แย้งกันเป็นประจา การหักภาษี ณ
ที่จ่าย จะยึดเกณฑ์เงินสด หมายความว่า จ่ายเงินวันใดต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายในวันนั้น ซึ่ง แบ่งออกเป็น
2.1 การจ่ายเงินสด หากจ่ายเงินสดวันใดต้องหักภาษี ณ วันที่จ่าย
2.2 การจ่ายเป็นเช็คหรือตั๋วเงิน หาก การจ่ายเงินเป็นเช็คหรือตั๋วเงินจะต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายตามวันที่ที่ปรากฏสั่งจ่ายบนเช็คหรือ
ตั๋วเงิน โดยไม่สนใจว่าผู้รับเงินจะมารับเช็คหรือตั๋วเงินหรือไม่ก็ตาม
3.การออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย เมื่อมีการหักภาษี ณ ที่จ่ายจากผู้รับเงิน หน้าที่ของผู้จ่ายเงินมีหน้าที่ต้องออก
หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายเป็นหลักฐานให้กับผู้รับเงิน โดยออกให้ทันทีที่มีการหักภาษี ณ ที่จ่าย ยกเว้นเงินได้พึงประเมิน
ตามมาตรา 40(1)และ (2) ผู้จ่ายเงินต้องออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายภายในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ ของปีถัดไป
4.การนาส่งภาษีหัก ณ ที่จ่าย ผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย นาส่งภาษีที่ตนมีหน้าที่ต้องหักตามแบบที่อธิบดีกาหนด ณ สานักงาน
สรรพากรพื้นที่สาขาในเขตท้องที่นั้นภายใน 7 วันนับแต่วันสิ้นเดือนของเดือนที่จ่ายเงินได้พึงประเมิน ไม่ว่าจะหักภาษีไว้แล้วหรือไม่
การออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย
• เมื่อมีการหักภาษี ณ ที่จ่าย จากผู้รับเงิน หน้าที่ของผู้จ่ายเงินมีหน้าที่ต้องออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย เป็น
หลักฐานให้กับผู้รับเงิน โดยออกให้ทันทีที่มีการหักภาษี ณ ที่จ่าย จานวน 3 ฉบับ (สามารถขอเป็นฟอร์มหรือ File ได้ที่ฝ่าย
บัญชีฯ)
- ฉบับที่ 1 (ต้นฉบับ) สาหรับผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย (ใช้แนบพร้อมกับแบบแสดงรายการภาษี)
- ฉบับที่ 2 (สาเนา) สาหรับผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย (เก็บไว้เป็นหลักฐาน)
- ฉบับที่ 3 (สาเนา) สาหรับผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย (เก็บไว้เป็นเอกสารหลักฐานในการหัก)
• เมื่อหักภาษี ณ ที่จ่าย เรียบร้อยแล้ว จะต้องนาเงินภาษีส่งที่ฝ่ายการเงิน (อาคารจอดรถหลังที่ 3 ชั้น 12) พร้อมกับจะต้องกรอก
เอกสารใบนาเงินส่งสานักงานการคลัง (ตามแบบพิมพ์หมายเลข 2214/2547) ภายในวันที่ 26 ของเดือน (ทั้งนี้สามารถโทร
สอบถามที่ฝ่ายการเงินได้ที่เบอร์ 4402 และขอตารางวันกาหนดส่งภาษีของแต่ละเดือนได้)
• เอกสารประกอบการนาเงินส่งภาษี ณ ที่จ่าย (ที่ฝ่ายการเงิน)
- สาเนาใบสาคัญรับเงิน หรือใบเสร็จรับเงิน (3 ชุด)
- สาเนาใบภาษีหัก ณ ที่จ่าย (3 ชุด)
ตัวอย่าง
หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่
จ่าย
ตัวอย่าง
ใบนาเงินส่ง
สานักงานการคลัง
ประเด็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปปฏิบัติงาน - ภายในประเทศ
เอกสารประกอบการเบิกจ่าย ประกอบด้วย
1. ตัวเรื่อง(บันทึก)ที่ได้รับอนุมัติให้เดินทางไปปฏิบัติงาน (ถ้าผู้เบิกค่าใช้จ่ายเป็นบุคคลภายนอก
ไม่ใช่เจ้าหน้าที่หรือลูกจ้างของสภากาชาดไทย ในตัวเรื่องบันทึก จะต้องได้รับอนุมัติให้เบิกค่าใช้จ่าย
จากผู้มีอานาจ ตามระเบียบสภากาชาดไทย ข้อ 9 และ 10 ก่อน)
2. คาสั่งให้เดินทางไปปฏิบัติงาน (ต้องได้รับอนุมัติก่อนการเดินทาง)
3. ใบรายงานการเดินทางไปฏิบัติงาน
4. ใบเสร็จรับเงิน เช่น ค่าพาหนะ ค่าที่พัก ค่าลงทะเบียน ค่าอาหาร ฯลฯ
5. ใบรับรองการจ่ายเงิน และ/หรือ ใบรับรองการจ่ายเงินค่าพาหนะที่ได้ไปในกิจการต่างๆ
6. ใบสาคัญรับเงินค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าวิทยากร
7. หลักฐานการจ่ายเงินอื่นๆ
8. สาใบยืมเงินรองจ่าย (กรณีถ้ามีการยืมเงินรองจ่าย)
ประเด็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปปฏิบัติงาน - ภายในประเทศ
ค่าใช้จ่ายที่สามารถเบิกจ่ายได้ ตามระเบียบสภากาชาดไทย ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไป
ปฏิบัติงาน พ.ศ. 2544 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 20 ได้แก่
1) ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง (ตามอัตราที่สภากาชาดไทยกาหนด)
2) ค่าเช่าที่พัก (ตามอัตราที่สภากาชาดไทยกาหนด)
***ใบเสร็จรับเงินค่าเช่าที่พักจะต้องมีFolio แนบด้วยทุกครั้ง พร้อมตรวจสอบรายชื่อ วันที่เข้าพักให้
เรียบร้อย***
3) ค่าพาหนะ รวมถึงค่าเช่ายานพาหนะ เชื้อเพลิงหรือพลังงานสาหรับยานพาหนะ ค่าระวางบรรทุก
ค่าจ้างคนหาบหาม และอื่นๆ ทานองเดียวกัน
4) ค่าใช้จ่ายอื่นที่จาเป็นต้องจ่าย เนื่องในการเดินทางไปฏิบัติงาน
อัตราค่าเบี้ยเลี้ยงการเดินทางไปปฏิบัติงานภายในประเทศ
ตาแหน่ง
เบี้ยเลี้ยงเดินทาง คนละ วันละ
ระเบียบเก่า ระเบียบใหม่
เริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่
วันที่ 1 ก.พ. 2555 เป็นต้นไป
1. ลูกจ้างและเจ้าหน้าที่ระดับ 1-2 หรือตาแหน่งที่เทียบเท่า 250.- 350.-
2. เจ้าหน้าที่ระดับ 3-8 หรือตาแหน่งที่เทียบเท่า 300.- 400.-
3. เจ้าหน้าที่ระดับ 9 ขึ้นไป หรือตาแหน่งที่เทียบเท่า 450.-
4. กรรมการเจ้าหน้าที่, กรรมการบริหาร, กรรมการสภากาชาดไทย 500.-
การนับเวลาค่าเบี้ยเลี้ยงการเดินทางไปปฏิบัติงาน
1. ให้นับเวลาเดินทางไปปฏิบัติงานตั้งแต่ออกจากสถานที่อยู่หรือสถานที่ปฏิบัติงานตามปกติจนกลับถึงสถานที่อยู่
หรือสถานที่ปฏิบัติงานตามปกติแล้วแต่กรณี
2. เวลาไปปฏิบัติงานให้นับ 24 ชั่วโมง เป็น 1 วัน ถ้าไม่ถึง 24 ชั่วโมงหรือเกิน 24 ชั่วโมง และส่วนที่ไม่ถึง
หรือเกิน 24 ชั่วโมงนั้น นับได้เกิน 8 ชั่วโมง ให้ถือเป็น 1 วัน
3. หากระยะเวลาการเดินทางไปปฏิบัติงานไม่ถึง 8 ชั่วโมง แต่นับได้เกิน 6 ชั่วโมงให้เบิกเบี้ยเลี้ยงได้กึ่งหนึ่งของอัตรา
แปลว่าจะได้รับอัตราค่าเบี้ยเลี้ยงจานวนครึ่งนึง
ค่าเบี้ยเลี้ยงการเดินทางไปปฏิบัติงาน กับมีการเลี้ยงอาหารจะเบิกอย่างไร
1. ถ้ามีการเลี้ยงอาหารทุกมื้อ ให้งดเบิกค่าเบี้ยเลี้ยง
2. ถ้ามีการเลี้ยงอาหารบางมื้อ ให้เบิกค่าเบี้ยเลี้ยงได้ไม่เกิน 2 ใน 3 ของอัตราค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง
3. ถ้ามีการเบิกค่าลงทะเบียนรวมอาหารให้งดเบิกค่าเบี้ยเลี้ยง
ระดับลูกจ้างและเจ้าหน้าที่
ค่าที่พักที่เบิกได้จริง
กรุงเทพฯ กลุ่ม ก กลุ่ม ข
พักเดี่ยว พักคู่
(เป็นราคาที่คิด
70% แล้ว)
พักเดี่ยว พักคู่
(เป็นราคาที่คิด
70% แล้ว)
พักเดี่ยว พักคู่
(เป็นราคาที่คิด
70% แล้ว)
1. ลูกจ้างและเจ้าหน้าที่ระดับ 1-5 หรือ
ตาแหน่งที่เทียบเท่า
1,200.- 840.- 1,000.- 700.- 900.- 630.-
2. เจ้าหน้าที่ระดับ 6-7 หรือตาแหน่งที่
เทียบเท่า
1,600.- 1,120.- 1,400.- 980.- 1,300.- 910.-
3. เจ้าหน้าที่ระดับ 8 หรือตาแหน่งที่เทียบเท่า 1,600.- 1,120.- 1,400.- 980.- 1,300.- 910.-
4. เจ้าหน้าที่ระดับ 9 ขึ้นไป หรือตาแหน่งที่
เทียบเท่า
2,000.- 1,400.- 1,800.- 1,260.- 1,700.- 1,190.-
5. กรรมการเจ้าหน้าที่ กรรมการบริหาร
กรรมการสภากาชาดไทย
ไม่มี
กาหนด
ไม่มีกาหนด ไม่มี
กาหนด
ไม่มีกาหนด ไม่มี
กาหนด
ไม่มีกาหนด
อัตราค่าที่พักในการเดินทางไปปฏิบัติงานภายนอกสถานที่
อัตราค่าที่พักในการเดินทางไปปฏิบัติงานภายนอกสถานที่ (ต่อ)
• กลุ่ม ก. หมายถึง นนทบุรี สมุทรปราการ ชลบุรี ระยอง เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์
สุราษฎร์ธานี สงขลา ภูเก็ต นครสวรรค์ พิษณุโลก เชียงใหม่
เชียงราย นครราชสีมา ขอนแก่น อุดรธานี
• กลุ่ม ข. หมายถึง จังหวัดอื่นๆ นอกจากกรุงเทพฯ และจังหวัดกลุ่ม ก.
ในกรณีที่อัตราค่าที่พักเกินกว่าที่กาหนดไว้ในตาราง ให้นาเสนออุปนายกผู้อานวยการสภากาชาด
ไทย อนุมัติเป็นกรณีพิเศษเฉพาะราย
หมายเหตุ :
1. ลูกจ้างและเจ้าหน้าที่ตามข้อ 1 และ 2 ไม่อนุญาตให้พักเดี่ยว จะพักเดี่ยวได้เฉพาะใน
กรณีความไม่เหมาะสมที่จะพักรวมกัน หรือมีเหตุจาเป็นที่ไม่อาจพักรวมกับผู้อื่นได้ให้เบิกค่าที่พักได้
ตามอัตรา
2. วิทยากรที่ได้รับค่าตอบแทน ไม่สามารถเบิกค่าที่พักได้
32
ค่ารถปรับอากาศ รับ-ส่ง (กรณีจ้างรถบริษัทภายนอก)
 เอกสารประกอบการเบิกเงิน :
 ใบเสร็จรับเงินที่สมบูรณ์
 ใบภาษีหัก ณ ที่จ่าย
 ใบนาเงินส่งคลัง
 วงเงินไม่เกิน 10,000 บาท
- จัดทาบันทึกข้อความขออนุมัติจัดจ้าง เสนอให้ทา
บันทึกรายงานเสนอผู้มีอานาจ (ผู้ช่วยผู้อานวยการโรงพยาบาลฯ ด้านงาน
จัดซื้อและบริหารพัสดุ)
**ในบันทึกข้อความจะต้อง ระบุว่าหน่วยงานจะเป็นผู้ดาเนินการจัดจ้างเอง
แนบการเบิกทุกครั้ง
 วงเงินเกินกว่า 10,000 บาทขึ้นไป
1. ทาใบขออนุญาตดาเนินการจัดซื้อ/จ้าง บ.2530 (PR)
ส่งฝ่ายบริหารงานพัสดุ (พร้อมแนบใบเสนอราคาและตัวอนุมัติ
โครงการ) เพื่อจัดทาใบอนุมัติจัดซื้อ/จ้าง บ.2531(PA) และหาก
โครงการนั้นมีการทาใบยืมเงินรองจ่ายให้แนบสาเนาใบยืมเงิน
รองจ่ายไปด้วย
2. ใบสั่งจ้าง ฝ่ายบริหารงานพัสดุเป็นผู้จัดทาให้ หลังจากที่ 2530
(PR), 2531 (PA) อนุมัติ เรียบร้อยแล้ว
3. จ่ายเงิน และขอหลักฐานทางการเงินเก็บไว้แนบเบิกจ่ายต่อไป
ก่อนที่จะดาเนินการ จ้างรถบริษัทภายนอก หน่วยงาน
จะต้องติดต่อบริษัทขอใบเสนอราคาเพื่อดาเนินการตาม
ระเบียบพัสดุต่อไปดังนี้
(กรณีเป็นการใช้ยานพาหนะของหน่วยยานยนต์) ให้นาใบเสร็จค่าน้ามัน มาแนบเบิกได้เลย
33
ตามระเบียบข้อที่ 31 ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปปฏิบัติงาน แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 9) พ.ศ.2555
“การใช้ยานพาหนะส่วนตัวไปปฏิบัติงาน ผู้เดินทางต้องได้รับอนุญาตจากผู้อานวยการสานักงานหรือ
เลขาธิการสภากาชาดไทย แล้วแต่กรณี จึงจะมีสิทธิเบิกเงินชดเชยเป็นค่าพาหนะในลักษณะเหมาจ่ายเป็น
ค่าใช้จ่ายสาหรับเป็นค่าน้ามันเชื้อเพลิงสาหรับการ เดินทางไปปฏิบัติงานโดยยานพาหนะส่วนตัวได้ ดังนี้
ก. รถยนต์ส่วนบุคคล กิโลเมตรละ 4 บาท
ข. รถจักรยานยนต์ กิโลเมตรละ 1.50 บาท
ในกรณีที่มีอุบัติเหตุเพราะการใช้ยานพาหนะส่วนตัวไปปฏิบัติงานผู้เดินทางจะต้อง
รับผิดชอบค่าเสียหายทั้งหมด”
กรณีการเดินทางโดยรถยนต์ส่วนตัว
 เอกสารประกอบการเบิกเงิน :
 ใบเสร็จรับเงินค่าน้ามัน หรือใบรับรองการจ่ายเงิน กรณีที่บิลใบเสร็จรับเงินไม่สมบูรณ์
 ตรวจสอบใบเสร็จว่าวันที่อยู่ในช่วงเวลาที่ออกไปปฏิบัติหน้าที่หรือไม่
 ระยะทางในการเดินทางไป – กลับ (ตารางของกรมทางหลวง)
ทาเรื่องขอ
อนุมัติดาเนิน
โครงการ
ปฏิบัติตามระเบียบ
สภากาชาไทย
ให้ถูกต้อง
ต้องได้รับอนุมัติให้มีการ
จัดซื้อตามระเบียบพัสดุก่อน
ถึงจะดาเนินการซื้อ/จ้าง ได้
ตรวจสอบและ
เก็บหลักฐาน
การจ่ายเงินให้
ครบถ้วน
ระบุงบประมาณให้ชัดเจน
ว่าต้องการอะไร
- เรื่อง การซื้อของ ก็ปฏิบัติ
ตามระเบียบว่าด้วยการ
บริหารงานพัสดุ
- เรื่อง ของบุคคลากร ก็
ปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วย
การบริหารงานบุคคล
- ใบเสร็จรับเงิน
- ใบสาคัญรับเงิน
- ใบรับรองการจ่ายเงิน
- หลักฐานอื่นๆ
รวมรวมเอกสารหลักฐานการจ่ายเงินทั้งหมด ตั้งเรื่องการเบิกจ่าย
และคุณก็จะมีความสุขได้รับเงินไวขึ้น
เบิกเงินได้
รวดเร็วสามารถซื้อของได้
และต้องใช้จ่ายให้
ตรงกับงบประมาณ
ที่ขอไว้
1
4
2
3
ประเด็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปปฏิบัติงาน – ต่างประเทศ
แบ่งเป็น 2 กรณี ดังนี้
* กรณีที่ 1 เป็นการเดินทางไปอบรมสัมมนา ดูงาน ประชุม เสนอผลงานเป็นระยะเวลาสั้น ไม่เกิน 1 เดือน
* กรณีที่ 2 เป็นการเดินทางไปศึกษาต่อหรือลาอบรมต่อต่างประเทศเป็นระยะเวลาที่มากกว่า 1 เดือน
กรณีที่ 1 เป็นการเดินทางไปอบรมสัมมนา ดูงาน ประชุม เสนอผลงาน
เป็นระยะเวลาสั้น ๆ ไม่เกิน 1 เดือน
เอกสารประกอบการเบิกจ่าย มีดังนี้
1. ตัวเรื่อง (บันทึก) ที่ได้รับอนุมัติให้เดินทางและได้รับอนุมัติวงเงินจากผู้อานวยการสานักงานการคลัง
2. ใบรายงานการเดินทางไปปฏิบัติงาน
3. ใบเสร็จรับเงินค่าพาหนะ (ค่าตั๋วเครื่องบิน)
4. ใบเสร็จรับเงินค่าลงทะเบียน
5. ใบเสร็จรับเงินค่าที่พัก
6. ใบสาคัญรับเงินค่าเบี้ยเลี้ยง
7. ใบเสร็จรับเงินหรือใบรับรองการจ่ายเงินค่าเบี้ยประกันการเดินทาง
8. ใบรับรองการจ่ายเงิน และ/หรือ ใบรับรองการจ่ายเงินค่าพาหนะที่ได้ไปในกิจการต่าง ๆ
9. หลักฐานการเงินอื่น ๆ
10. ใบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศของธนาคารไทยพาณิชย์
ค่าใช้จ่ายที่สามารถเบิกจ่ายได้นั้น จะต้องเป็นค่าใช้จ่ายตามระเบียบสภากาชาดไทย ว่าด้วยค่าใช้จ่าย
ในการเงินทางไปปฏิบัติงาน พ.ศ. 2544 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 39 ได้แก่
1) ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง
2) ค่าเช่าที่พัก
3) ค่าพาหนะ รวมทั้งค่าเช่าพาหนะ
4) ค่ารับรอง
5) ค่าภาษีเดินทางและค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน
6) ค่าใช้จ่ายอื่นที่จาเป็นเพื่อใช้ในการเดินทางไปปฏิบัติงานเช่น เบี้ยประกันการเจ็บป่วย และ
อุบัติเหตุระหว่างเดินทาง ฯลฯ
กรณีที่ 1 เป็นการเดินทางไปอบรมสัมมนา ดูงาน ประชุม เสนอผลงาน
เป็นระยะเวลาสั้น ๆ ไม่เกิน 1 เดือน
เป็นการเดินทางไปศึกษาต่อหรือลาอบรมต่อต่างประเทศ
เป็นระยะเวลาที่มากกว่า 1 เดือน
เอกสารประกอบการเบิกจ่าย มีดังนี้
1. ตัวเรื่อง (บันทึก) ที่ได้รับอนุมัติให้เดินทางและได้รับอนุมัติวงเงินจากผู้อานวยการสานักงานการคลัง
2. ใบเสร็จรับเงินค่าพาหนะ (ค่าตั๋วเครื่องบิน ค่าภาษีเดินทาง ค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน)
3. ใบสาคัญรับเงินค่าใช้จ่ายประจาเดือน
4. ใบเสร็จรับเงินค่าเล่าเรียน และ/หรือใบรับรองการจ่ายเงิน
5. ใบสาคัญรับเงินค่าหนังสือและอุปกรณ์การศึกษา และ/หรือใบรับรองการจ่ายเงิน
6. ใบเสร็จรับเงินค่าประกันสุขภาพ และ/หรือใบรับรองการจ่ายเงิน
7. ใบเสร็จรับเงินค่าธรรมเนียมการศึกษา และ/หรือใบรับรองการจ่ายเงิน
8. ใบเสร็จรับเงินค่าทาวีซ่า
9. ใบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศของธนาคารไทยพาณิชย์
กรณีที่ 2
ค่าใช้จ่ายที่สามารถเบิกจ่ายได้ มีดังนี้ :
1) ค่าพาหนะ
2) ค่าใช้จ่ายประจาเดือน
3) ค่าเล่าเรียน ค่าลงทะเบียน
4) ค่าธรรมเนียมการศึกษา
5) ค่าหนังสือและอุปกรณ์การศึกษา
6) ค่าประกันสุขภาพ
กรณีที่ 2 เป็นการเดินทางไปศึกษาต่อหรือลาอบรมต่อต่างประเทศ
เป็นระยะเวลาที่มากกว่า 1 เดือน
เอกสารที่เป็นใบรับรองการจ่ายเงิน : กรณีใบเสร็จรับเงินไม่สมบูรณ์
จะต้องระบุข้อความดังนี้
1. กรณีที่ไปอบรมสัมมนา ดูงาน เสนอผลงาน
- ขอรับรองว่าได้ไปปฏิบัติงานตามนี้จริง (หัวหน้าฝ่ายเซ็นกากับ)
2. กรณีไปศึกษาต่อหรือลาอบรมต่อต่างประเทศ
- ขอรับรองว่าได้ไปศึกษาต่อตามนี้จริง (หัวหน้าฝ่ายเซ็นกากับ)
เอกสารที่เป็นใบสาคัญรับเงิน
จะต้องระบุข้อความดังนี้
1. กรณีที่ไปอบรมสัมมนา ดูงาน เสนอผลงาน
- ขอรับรองว่าได้ไปปฏิบัติงานตามนี้จริง (หัวหน้าฝ่ายเซ็นกากับ)
2. กรณีไปศึกษาต่อหรือลาอบรมต่อต่างประเทศ
- ขอรับรองว่าได้ไปศึกษาต่อตามนี้จริง (หัวหน้าฝ่ายเซ็นกากับ)
กรณีทาใบยืมเงินรองจ่ายชั่วคราว กรณีหน่วยงานสารองจ่ายเงินไปก่อน
- ใช้อัตราแลกเปลี่ยนวันที่รับเงินจากสานักงานการ
คลัง
- ใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เดินทาง
ประเด็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปปฏิบัติงาน – ต่างประเทศ
ใบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
หมายเหตุ : ให้ใช้อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศของธนาคารไทยพาณิชย์ เท่านั้น
*** หากวันเดินทางตรงกับวันหยุดธนาคาร ให้ใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันก่อนวันหยุดธนาคาร
เอกสารที่นามาเบิกจ่าย
จะต้องเขียน จ่ายเงินแล้วและเซ็นชื่อกากับทุกฉบับ
Knowledge Management
(KM)

More Related Content

Viewers also liked

เคล็ดลับ : วิธีการเคลียร์เงินรองจ่าย
เคล็ดลับ : วิธีการเคลียร์เงินรองจ่าย เคล็ดลับ : วิธีการเคลียร์เงินรองจ่าย
เคล็ดลับ : วิธีการเคลียร์เงินรองจ่าย Nan Nutkritta Klaijaeng
 
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...ประพันธ์ เวารัมย์
 
เอกสารประกอบทางการเงินโครงการเด็กไทยแก้มใส
เอกสารประกอบทางการเงินโครงการเด็กไทยแก้มใสเอกสารประกอบทางการเงินโครงการเด็กไทยแก้มใส
เอกสารประกอบทางการเงินโครงการเด็กไทยแก้มใสนายสมเพชร เชื้อหมอ
 
บิลเงินสด
บิลเงินสดบิลเงินสด
บิลเงินสดtumpdurex
 
20110926134749
2011092613474920110926134749
20110926134749maethaya
 
ซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายเงินในการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มท 080...
ซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายเงินในการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มท 080...ซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายเงินในการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มท 080...
ซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายเงินในการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มท 080...Wiroj Suknongbueng
 
Successful Remediation of the Unsatisfactory Teacher
Successful Remediation of the Unsatisfactory TeacherSuccessful Remediation of the Unsatisfactory Teacher
Successful Remediation of the Unsatisfactory TeacherRichard Voltz
 
ค่าตอบแทนกรรมการผู้ตัดสิน
ค่าตอบแทนกรรมการผู้ตัดสินค่าตอบแทนกรรมการผู้ตัดสิน
ค่าตอบแทนกรรมการผู้ตัดสินSaran Yuwanna
 
ค่าใช้จ่ายในการแข่งขันกีฬา
ค่าใช้จ่ายในการแข่งขันกีฬาค่าใช้จ่ายในการแข่งขันกีฬา
ค่าใช้จ่ายในการแข่งขันกีฬาWiroj Suknongbueng
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Saiiew
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัยguest9e1b8
 

Viewers also liked (14)

เคล็ดลับ : วิธีการเคลียร์เงินรองจ่าย
เคล็ดลับ : วิธีการเคลียร์เงินรองจ่าย เคล็ดลับ : วิธีการเคลียร์เงินรองจ่าย
เคล็ดลับ : วิธีการเคลียร์เงินรองจ่าย
 
3.แนวทางตามระเบียบค่าตอบแทน1 ot
3.แนวทางตามระเบียบค่าตอบแทน1 ot3.แนวทางตามระเบียบค่าตอบแทน1 ot
3.แนวทางตามระเบียบค่าตอบแทน1 ot
 
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...
 
เอกสารประกอบทางการเงินโครงการเด็กไทยแก้มใส
เอกสารประกอบทางการเงินโครงการเด็กไทยแก้มใสเอกสารประกอบทางการเงินโครงการเด็กไทยแก้มใส
เอกสารประกอบทางการเงินโครงการเด็กไทยแก้มใส
 
บิลเงินสด
บิลเงินสดบิลเงินสด
บิลเงินสด
 
Management
ManagementManagement
Management
 
ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ4
ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ4ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ4
ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ4
 
20110926134749
2011092613474920110926134749
20110926134749
 
ซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายเงินในการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มท 080...
ซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายเงินในการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มท 080...ซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายเงินในการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มท 080...
ซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายเงินในการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มท 080...
 
Successful Remediation of the Unsatisfactory Teacher
Successful Remediation of the Unsatisfactory TeacherSuccessful Remediation of the Unsatisfactory Teacher
Successful Remediation of the Unsatisfactory Teacher
 
ค่าตอบแทนกรรมการผู้ตัดสิน
ค่าตอบแทนกรรมการผู้ตัดสินค่าตอบแทนกรรมการผู้ตัดสิน
ค่าตอบแทนกรรมการผู้ตัดสิน
 
ค่าใช้จ่ายในการแข่งขันกีฬา
ค่าใช้จ่ายในการแข่งขันกีฬาค่าใช้จ่ายในการแข่งขันกีฬา
ค่าใช้จ่ายในการแข่งขันกีฬา
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
 

เคล็ดลับ : วิธีการเคลียร์เงินรองจ่าย

  • 3. ประเภทการใช้เงิน 1. เงินสารองจ่าย ของหน่วยงาน หมายถึง : เงินของหน่วยงานที่มีอยู่เอง และนามาสารองจ่าย ไปก่อน เนื่องจากมีความจาเป็นและเร่งด่วน โดยจะนาหลักฐานการ ใช้จ่ายมาดาเนินการเบิกคืนหน่วยงานภายหลัง 2. เงินยืมรองจ่าย หมายถึง : เงินยืมที่จ่ายให้แก่ผู้ยืมเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการ ปฏิบัติงานของสภากาชาดไทยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 2.1 เงินยืมรองจ่ายประจา(ใบยืมสีฟ้ า) คือ เงินที่ จ่ายให้ยืมเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายหมุนเวียนประจาสานักงานภายใน ระยะเวลา 1 ปีงบประมาณ 2.2 เงินยืมรองจ่ายชั่วคราว(ใบยืมสีเหลือง) คือ เงิน ที่จ่ายให้ยืมเป็นครั้งคราวเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายตามโครงการหรืองาน หรือกิจกรรม ที่ได้รับอนุมัติแล้ว
  • 4. ประเภทใบยืมเงินรองจ่าย เงินรองจ่ายประจา เงินรองจ่ายชั่วคราว เงินรองจ่าย(จากคลัง) กาหนดใช้หนี้ - ภายใน 1 ปีงบประมาณที่ได้รับเงินยืม เงินที่จ่ายให้ยืมเพื่อเป็นค่าใช้จ่าย หมุนเวียนประจาสานัก ภายใน ระยะเวลา 1 ปีงบประมาณ กาหนดการใช้หนี้ 1. การยืมเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทาง • ภายใน 15 วัน นับจากวันกลับมาถึง 2. การยืมเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดประชุมอบรม หรือสัมมนา • ภายใน 30 วันนับแต่วันเสร็จสิ้น การจัดประชุม จัดฝึกอบรม หรือสัมมนา 3. การยืมเพื่อปฏิบัติงานนอกเหนือจากข้อ 1 และข้อ 2 • ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับเงินยืม - การใช้หนี้คืนใบสาคัญจ่าย และ/หรือ เงินเหลือจ่าย (ถ้ามี) - เงินที่จ่ายให้ยืมเป็นครั้งคราว เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายตามโครงการหรือ กิจกรรมที่ได้รับอนุมัติ - โครงการหรืองานเฉพาะกิจ เช่น อบรม สัมมนา - เพื่อการบริหารหรือการดาเนินการ เช่น การยืมเงินผู้ป่วย งานซ่อมแซม กรณีฉุกเฉิน ค่าใช้จ่ายที่ต้องจ่าย ตามกาหนด เช่น ค่าไฟฟ้ า น้าประปา โทรศัพท์ ค่าInternet ค่าใช้จ่าย ในการออกของกรณีซื้อของจาก ต่างประเทศ ฯลฯ - การใช้หนี้คืนใบสาคัญจ่าย และ/หรือ เงินเหลือจ่าย (ถ้ามี)
  • 5. ขั้นตอนการยืมเงินรองจ่าย หน่วยงาน รองผอ.ฯ ฝ่ายการคลัง ฝ่ายบัญชีและงบประมาณ ตรวจสอบ เอกสาร การยืมเงิน บันทึกหักงบประมาณใบยืม ผช.ผอ.ฯ ด้านการเงินและงบประมาณ ฝ่ายบัญชีและงบประมาณ ส่งสานักงานการคลัง ส่งคืนหน่วยงาน ฝ่ายบัญชีและงบประมาณบันทึกเอกสารส่ง ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง เสนอขออนุมัติยืมเงินรองจ่าย จัดทาใบยืมตามแบบฟอร์มสภากาชาดไทย พร้อมแนบสาเนาโครงการที่ได้รับอนุมัติ แก้ไขเรียบร้อยแล้ว
  • 6. Enter you text โครงการพัฒนาบุคลากร (HR) โครงการพัฒนาคุณภาพ (HA) โครงการเพิ่มศักยภาพ (หน่วยนโยบายและแผน) การเบิกค่าใช้จ่ายทั่วไป โครงการ อนุมัติ ดาเนินการจัดซื้อ ตามระเบียบพัสดุ ข้อ17 ทวิ : การซื้อหรือการจ้างครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาไม่เกิน 10,000 บาท ไม่ต้องทาใบขอดาเนินการซื้อ/จ้าง(PR) ตามข้อ 17 และ(PA) ตามข้อ 46 โดยให้ทาบันทึกรายงานเสนอผู้มีอานาจ ***ให้ทาบันทึกข้อความขออนุมัติซื้อ/จ้าง กรณีวงเงินไม่เกิน 10,000 บาทเสนอต่อ ผู้ช่วยผู้อานวยการโรงพยาบาลฯด้านงานจัดซื้อและบริหาร พัสดุ โดยต้องระบุว่าหน่วยงานจะเป็นผู้ดาเนินการจัดซ้อ/จ้างเอง ข้อ46 : การสั่งซื้อหรือสั่งจ้างที่มีราคาเกิน 10,000 บาททุกกรณี ให้ทาใบขออนุมัติซื้อ/จ้าง (PA) โดยแนบใบขอดาเนินการซื้อ/จ้าง (PR) ตามข้อ 17 และใบเสนอราคา ***กรณีการสั่งซื้อหรือจ้างเกินอานาจของหัวหน้าหน่วยงานให้ส่งเรื่อง ให้สานักงานการคลังเพื่อนาเสนอต่อผู้มีอานาจอนุมัติต่อไป สามารถจัดซื้อ/จ้าง ตามแต่ละวิธีได้ เก็บหลักฐานทางการเงินไว้เพื่อ รวบรวมการเบิกจ่ายต่อไป custer บัญชี รองผู้อานวยการฯ ฝ่ายการคลังหน่วยงาน
  • 7. ตามระเบียบข้อ 54 การซื้อหรือการจ้างให้ทาสัญญาเป็นหนังสือตามตัวอย่างท้ายระเบียบนี้ เว้นแต่ในกรณี ดังต่อไปนี้ จะทาข้อตกลงเป็นหนังสือไว้ต่อกัน หรือทาใบสั่งซื้อ หรือใบสั่งจ้าง แล้วแต่กรณี โดยให้อยู่ ในดุลพินิจของผู้ซ้อหรือผู้ว่าจ้าง (1) การซื้อหรือการจ้างที่ไม่เกิน 100,000 บาท (2) การซื้อหรือการจ้างที่เกิน 100,000 บาท แต่ไม่เกิน 400,000 บาท และผู้รับจ้างสามารถ ส่งมอบพัสดุได้ ครบถ้วนภายใน 5 วันทาการ ของสภากาชาดไทย นับตั้งแต่วันถัดจากวันตกลงซื้อขายหรือจ้าง (3) การซื้อหรือการจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษ (4) การซื้อโดยวิธีพิเศษตามข้อ 13 (1) (2) (3) (4) และ (8) (5) การจ้างโดยวิธีพิเศษตามข้อ 14 (1) (2) (3) และ (4) ทั้งนี้การซื้อหรือการจ้างตาม (1) (2) (4) และ (5) จะต้องส่งของให้ครบถ้วนในคราวเดียว ในกรณีการซื้อหรือการจ้างโดยวิธีตกลงราคาหรือวิธีกรณีพิเศษซึ่งเป็นเงินสดมีราคาไม่เกิน 10,000 บาท หรือในกรณีการซื้อหรือการจ้าง ซึ่งใช้วิธีดาเนินการตามข้อ 22 วรรคสอง(เรียกว่ากรณีจาเป็น และเร่งด่วนโดยไม่ได้คาดหมายไว้ก่อนและไม่อาจดาเนินการตามปกติได้) จะไม่ทาข้อตกลงเป็นหนังสือ ใบสั่งซื้อ ใบสั่งจ้าง ก็ได้
  • 8. ตามระเบียบข้อ 17 ก่อนดาเนินการซื้อจ้างทุกกรณี ให้เจ้าหน้าที่พัสดุ จัดทาใบขอดาเนินการซื้อ/จ้าง (PR) เสนอหัวหน้าหน่วยงานตามรายการ ดังต่อไปนี้ (1) เหตุผลและความจาเป็นที่ต้องซื้อหรือจ้าง (2) ราคาพัสดุหรือราคาค่าจ้างในท้องตลาดในขณะนั้นที่สืบทราบหรือ ประมาณได้ และถ้าเคยซื้อหรือจ้างมาก่อน ก็แสดงราคาซื้อหรือจ้างครั้ง หลังสุดที่เคยซื้อหรือจ้างด้วย (3) วงเงินที่จะซื้อหรือจ้าง ให้ระบุวงเงินงบประมาณที่จะซื้อหรือจ้างในครั้ง นั้นทั้งหมด ถ้าไม่มีวงเงินงบประมาณให้ระบุวงเงินที่ประมาณว่าจะซื้อ หรือจ้างในครั้งนั้น (4) กาหนดเวลาที่ต้องการใช้พัสดุนั้น หรือให้งานนั้นแล้วเสร็จ (5) วิธีที่จะซื้อหรือจ้าง และเหตุผลที่ต้องซื้อหรือจ้างโดยวิธีนั้น (6) ข้อเสนออื่นๆ เช่น การขออนุมัติแต่งตั้งกรรมการต่างๆ ที่จาเป็นใน การซื้อหรือจ้าง การออกประกาศสอบราคา หรือประกาศประกวดราคา
  • 9. 1. ใบเสร็จรับเงิน หรือบิลเงินสดที่สมบูรณ์ กรณีที่ซื้อของจากบริษัทฯ ที่มีภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือ VAT 7% หน่วยงานจะต้องสารวจดูด้วยว่า เมื่อได้ ใบเสร็จรับเงินมาแล้วมีใบกากับภาษีมาด้วยหรือไม่ 1. กรณีบิลใบเสร็จรับเงินไม่สมบูรณ์ 2. กรณีซื้อจากร้านค้าย่อยทั่วไปจึงไม่มีใบเสร็จรับเงินออกให้ 3. ใบสาคัญรับเงิน 2. ใบรับรองการจ่ายเงิน ใช้สาหรับการเป็ นหลักฐานในการรับเงินสาหรับบุคคลธรรมดา และต้องแนบสาเนาบัตรประจาตัวประชาชนด้วย ทุกครั้ง ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง
  • 10. 1. ใบเสร็จรับเงิน หรือบิลเงินสดที่สมบูรณ์ 7. เลขที่เอกสาร (เล่มที่/เลขที่)
  • 13. 3. ใบสาคัญรับเงิน พร้อมแนบสาเนาบัตรประจาตัวประชาชน/บัตร ข้าราชการ ด้วยทุกครั้ง 1. ตรวจสอบชื่อ-สกุล ตามหลักฐาน และให้ตรงกับรายชื่อวิทยากรที่เสนอ ไว้ในโครงการ 2. ตรวจสอบ ว/ด/ป และเวลาที่บรรยาย หัวข้อการบรรยาย ให้ตรงกับจานวนเงิน ที่ขอเบิกตามอัตรา ค่าตอบแทนที่กาหนดไว้หรือไม่ 3. ต้องแนบกาหนดการทุกครั้งที่มีการเบิก ค่าตอบแทนวิทยากร หลักการตรวจสอบ
  • 14. ถ้ามีการจัดอบรมสัมมนา โดยมีวิทยากรมาบรรยาย หมายเหตุ : - ถ้าวิทยากรเป็นเจ้าหน้าที่ภายในสานักงานที่มีการจัดอบรมไม่สามารถเบิกค่าตอบแทนวิทยากรได้ - ถ้ากรณีวิทยากรที่ได้รับค่าตอบแทนแล้ว จะไม่สามารถเบิกเงินค่าอาหารและที่พักได้ กลุ่มวิทยากร อัตรา/ไม่เกิน/ชั่วโมง 1. ข้าราชการ/พนักงานหรือลูกจ้างรัฐวิสาหกิจ/บุคลากรสภากาชาดไทยจากสานักงานอื่น 2. วิทยากรนอกสภากาชาดไทย ที่มิได้สังกัดในข้อ 1 เช่น บริษัทเอกชน 800.- บาท 1,500.- บาท
  • 15. ค่าอาหาร ที่ใช้สาหรับการจัดประชุม อบรม สัมมนาโครงการต่างๆ ไม่ ต้องปฏิบัติตามระเบียบพัสดุฯ ให้ทาเป็นบันทึกข้อความขออนุมัติจัดอาหาร หรือซื้ออาหาร... เสนอต่อผู้มีอานาจอนุมัติ ก่อนดาเนินการจัดซื้อ ยกเว้นการซื้อ ของมาจัดเอง **การทาบันทึกเรื่องขอจัดอาหารหรือซื้ออาหาร ขอหน่วยงานทาแยกขึ้นมา ต่างหากจากการขอซื้อเรื่องอื่นๆ ** ***เบิกเงินค่าอาหาร ขอให้ทุกหน่วยงานแนบรายชื่อ/ใบลงทะเบียนของ ผู้เข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา มาด้วยทุกครั้ง ***
  • 16. เอกสารทุกฉบับที่จ่ายเงินแล้ว ที่จะต้องนามาทาเรื่องการเบิกจ่าย จะต้องมี 1. จะต้องประทับตรา จ่ายเงินแล้ว และลงนามกากับ 2. การซื้อ/การจ้าง ต้องมีคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/การจ้าง (รายชื่อจะต้องตรงกับคาสั่ง รพ.ฯ) ใช้ข้อความดังนี้ ถ้าเป็นการซื้อ @ คณะกรรมการตรวจรับของถูกต้องเรียบร้อยแล้ว ถ้าเป็นการจ้าง @ คณะกรรมการตรวจรับงานจ้างถูกต้องเรียบร้อยแล้ว
  • 17.
  • 18. ขั้นตอนการใช้หนี้เงินยืมรองจ่าย ขั้นตอน ฝ่าย/หน่วยงาน รองผู้อานวยการฯ ฝ่ายการคลัง ฝ่ายบัญชีและงบประมาณ สานักงานการคลัง หน่วยใบสาคัญจ่าย หน่วยเงินงบประมาณ/ หน่วยเงินนอกงบประมาณ ขั้นตอนการเบิกเงินรองจ่าย หมายเหตุ ห้ามดาเนินการซื้อหรือจ้างก่อนได้รับอนุมัติ โครงการ และได้รับเงินยืมจากสานักงานการคลัง เพื่อดาเนินการ เบิกจ่ายเงินต่อไป ตามระเบียบ สภากาชาดไทย - พร้อมจัดพิมพ์รายงาน - บันทึกข้อมูลใส่แผ่นดิสก์ ตามระเบียบ สภากาชาดไทย ทาบันทึกข้อความ ขอสรุปค่าใช้จ่ายและ ใช้หนี้เงินยืมรองจ่าย พร้อมแนบสิ่งที่ส่งมาด้วย 1. ตัวเรื่องอนุมัติโครงการ พร้อมรายละเอียด โครงการฯ 2. สำเนำใบยืม 3. เงินสดคงเหลือ (ถ้ำมี) 4. หลักฐานการจ่ายเงิน (ใบเสร็จรับเงิน, ใบสาคัญรับเงิน หรือใบรับรองการจ่ายเงิน 5. ใบขออนุมัติจัดซื้อ/จัดจ้าง [แบบพิมพ์ 2530(PR), 2531(PA)] 6. ใบสั่งซื้อ/ใบสั่งจ้าง 7. สาเนาใบภาษีหัก ณ ที่จ่าย และใบนาเงินส่งคลัง (ใช้ในกรณีที่เป็นการจ้าง) 8. คาสั่งกรรมการตรวจรับพัสดุ/การจ้าง นาส่งที่ฝ่ายบัญชี และงบประมาณ เพื่อทาการแก้ไข บันทึกตัด งบประมาณ ออกหน้างบ ใบสาคัญ ตรวจสอบ เอกสาร ตรวจสอบอนุมัติ ไม่ถูกต้อง แก้ไขเรียบร้อยแล้ว ถูกต้อง
  • 19. ขั้นตอนการเบิกเงินสารองจ่าย (ของหน่วยงาน) ขั้นตอน ฝ่าย/หน่วยงาน รองผู้อานวยการฯ ฝ่ายการคลัง ฝ่ายบัญชีและงบประมาณ สานักงานการคลัง หน่วยใบสาคัญจ่าย หน่วยเงินงบประมาณ/ หน่วยเงินนอกงบประมาณ ขั้นตอนการเบิกเงินรองจ่าย หมายเหตุ ห้ามดาเนินการซื้อหรือจ้างก่อนได้รับอนุมัติ โครงการ เพื่อดาเนินการ เบิกจ่ายเงินต่อไป ตามระเบียบ สภากาชาดไทย - พร้อมจัดพิมพ์รายงาน - บันทึกข้อมูลใส่แผ่นดิสก์ ตามระเบียบ สภากาชาดไทย ทาบันทึกข้อความ ขออนุมัติเบิกเงินสารอง จ่าย พร้อมทั้งระบุชื่อบัญชี เลขที่บัญชี ของ หน่วยงานนั้นๆ ที่ได้เปิ ดบัญชีไว้ พร้อมแนบสิ่งที่ส่งมาด้วย 1. ตัวเรื่องอนุมัติโครงการ พร้อมรายละเอียด โครงการฯ 2. หลักฐานการจ่ายเงิน (ใบเสร็จรับเงิน, ใบสาคัญรับเงิน หรือใบรับรองการจ่ายเงิน 3. ใบขออนุมัติจัดซื้อ/จัดจ้าง [แบบพิมพ์ 2530(PR), 2531(PA)] 4. ใบสั่งซื้อ/ใบสั่งจ้าง 5. สาเนาใบภาษีหัก ณ ที่จ่าย และใบนาเงินส่งคลัง (ใช้ในกรณีที่เป็นการจ้าง) 6. คาสั่งกรรมการตรวจรับพัสดุ/การจ้าง บันทึกตัด งบประมาณ ออกหน้างบ ใบสาคัญ ตรวจสอบ และจ่ายเงิน คืนหน่วยงาน ตามที่ระบุมา หน้าบันทึก ข้อความว่าให้ จ่ายเข้า ชื่อบัญชีอะไร เลขที่บัญชี ตรวจสอบอนุมัติ ไม่ถูกต้อง แก้ไขเรียบร้อยแล้ว ถูกต้อง เพื่อทาการแก้ไข
  • 20. ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย คือ ภาษีที่ทางกฏหมายกาหนดให้หักไว้ล่วงหน้าจากเงินได้ที่ได้รับ และสามารถนาไปขอเครดิต เพื่อหักจากยอดภาษีที่ต้องจ่ายจริงในทุกๆ ปี โดยที่ทางผู้จ่ายเงินได้จะมีหลักฐานที่เรียกว่าหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ให้ไว้เป็นหลักฐาน 1 % ค่าขนส่ง (ไม่รวมถึงการจ่ายค่าโดยสารสาหรับการขนส่งสาธารณะ) 1 % ค่าเบี้ยประกันภัย 2 % ค่าโฆษณา 3% ค่าจ้างทาของ และค่าบริการ 5% ค่าเช่า ทาไมต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย
  • 21. เงื่อนไขการหักภาษี ณ ที่จ่าย 1.ต้องเป็นการจ่ายเงินตั้งแต่ 1,000 บาทขึ้นไป การจ่ายเงินได้พึงประเมินที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย ต้องมีจานวนตามสัญญา รายหนึ่งๆ มีจานวนเงินตั้งแต่ 1,000 บาทขึ้นไป แม้การจ่ายนั้นจะได้แบ่งจ่ายครั้งหนึ่งๆ ไม่ถึง 1,000 บาทก็ตาม คาว่า “1,000 บาท” เป็นเงินได้ที่จ่ายยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 2.การหักภาษี ณ ที่จ่ายต้องยึดเกณฑ์เงินสด เมื่อ ไหร่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายที่มักจะมีข้อโต้แย้งกันเป็นประจา การหักภาษี ณ ที่จ่าย จะยึดเกณฑ์เงินสด หมายความว่า จ่ายเงินวันใดต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายในวันนั้น ซึ่ง แบ่งออกเป็น 2.1 การจ่ายเงินสด หากจ่ายเงินสดวันใดต้องหักภาษี ณ วันที่จ่าย 2.2 การจ่ายเป็นเช็คหรือตั๋วเงิน หาก การจ่ายเงินเป็นเช็คหรือตั๋วเงินจะต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายตามวันที่ที่ปรากฏสั่งจ่ายบนเช็คหรือ ตั๋วเงิน โดยไม่สนใจว่าผู้รับเงินจะมารับเช็คหรือตั๋วเงินหรือไม่ก็ตาม 3.การออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย เมื่อมีการหักภาษี ณ ที่จ่ายจากผู้รับเงิน หน้าที่ของผู้จ่ายเงินมีหน้าที่ต้องออก หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายเป็นหลักฐานให้กับผู้รับเงิน โดยออกให้ทันทีที่มีการหักภาษี ณ ที่จ่าย ยกเว้นเงินได้พึงประเมิน ตามมาตรา 40(1)และ (2) ผู้จ่ายเงินต้องออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายภายในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ ของปีถัดไป 4.การนาส่งภาษีหัก ณ ที่จ่าย ผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย นาส่งภาษีที่ตนมีหน้าที่ต้องหักตามแบบที่อธิบดีกาหนด ณ สานักงาน สรรพากรพื้นที่สาขาในเขตท้องที่นั้นภายใน 7 วันนับแต่วันสิ้นเดือนของเดือนที่จ่ายเงินได้พึงประเมิน ไม่ว่าจะหักภาษีไว้แล้วหรือไม่
  • 22. การออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย • เมื่อมีการหักภาษี ณ ที่จ่าย จากผู้รับเงิน หน้าที่ของผู้จ่ายเงินมีหน้าที่ต้องออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย เป็น หลักฐานให้กับผู้รับเงิน โดยออกให้ทันทีที่มีการหักภาษี ณ ที่จ่าย จานวน 3 ฉบับ (สามารถขอเป็นฟอร์มหรือ File ได้ที่ฝ่าย บัญชีฯ) - ฉบับที่ 1 (ต้นฉบับ) สาหรับผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย (ใช้แนบพร้อมกับแบบแสดงรายการภาษี) - ฉบับที่ 2 (สาเนา) สาหรับผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย (เก็บไว้เป็นหลักฐาน) - ฉบับที่ 3 (สาเนา) สาหรับผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย (เก็บไว้เป็นเอกสารหลักฐานในการหัก) • เมื่อหักภาษี ณ ที่จ่าย เรียบร้อยแล้ว จะต้องนาเงินภาษีส่งที่ฝ่ายการเงิน (อาคารจอดรถหลังที่ 3 ชั้น 12) พร้อมกับจะต้องกรอก เอกสารใบนาเงินส่งสานักงานการคลัง (ตามแบบพิมพ์หมายเลข 2214/2547) ภายในวันที่ 26 ของเดือน (ทั้งนี้สามารถโทร สอบถามที่ฝ่ายการเงินได้ที่เบอร์ 4402 และขอตารางวันกาหนดส่งภาษีของแต่ละเดือนได้) • เอกสารประกอบการนาเงินส่งภาษี ณ ที่จ่าย (ที่ฝ่ายการเงิน) - สาเนาใบสาคัญรับเงิน หรือใบเสร็จรับเงิน (3 ชุด) - สาเนาใบภาษีหัก ณ ที่จ่าย (3 ชุด)
  • 25. ประเด็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปปฏิบัติงาน - ภายในประเทศ เอกสารประกอบการเบิกจ่าย ประกอบด้วย 1. ตัวเรื่อง(บันทึก)ที่ได้รับอนุมัติให้เดินทางไปปฏิบัติงาน (ถ้าผู้เบิกค่าใช้จ่ายเป็นบุคคลภายนอก ไม่ใช่เจ้าหน้าที่หรือลูกจ้างของสภากาชาดไทย ในตัวเรื่องบันทึก จะต้องได้รับอนุมัติให้เบิกค่าใช้จ่าย จากผู้มีอานาจ ตามระเบียบสภากาชาดไทย ข้อ 9 และ 10 ก่อน) 2. คาสั่งให้เดินทางไปปฏิบัติงาน (ต้องได้รับอนุมัติก่อนการเดินทาง) 3. ใบรายงานการเดินทางไปฏิบัติงาน 4. ใบเสร็จรับเงิน เช่น ค่าพาหนะ ค่าที่พัก ค่าลงทะเบียน ค่าอาหาร ฯลฯ 5. ใบรับรองการจ่ายเงิน และ/หรือ ใบรับรองการจ่ายเงินค่าพาหนะที่ได้ไปในกิจการต่างๆ 6. ใบสาคัญรับเงินค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าวิทยากร 7. หลักฐานการจ่ายเงินอื่นๆ 8. สาใบยืมเงินรองจ่าย (กรณีถ้ามีการยืมเงินรองจ่าย)
  • 26. ประเด็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปปฏิบัติงาน - ภายในประเทศ ค่าใช้จ่ายที่สามารถเบิกจ่ายได้ ตามระเบียบสภากาชาดไทย ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไป ปฏิบัติงาน พ.ศ. 2544 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 20 ได้แก่ 1) ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง (ตามอัตราที่สภากาชาดไทยกาหนด) 2) ค่าเช่าที่พัก (ตามอัตราที่สภากาชาดไทยกาหนด) ***ใบเสร็จรับเงินค่าเช่าที่พักจะต้องมีFolio แนบด้วยทุกครั้ง พร้อมตรวจสอบรายชื่อ วันที่เข้าพักให้ เรียบร้อย*** 3) ค่าพาหนะ รวมถึงค่าเช่ายานพาหนะ เชื้อเพลิงหรือพลังงานสาหรับยานพาหนะ ค่าระวางบรรทุก ค่าจ้างคนหาบหาม และอื่นๆ ทานองเดียวกัน 4) ค่าใช้จ่ายอื่นที่จาเป็นต้องจ่าย เนื่องในการเดินทางไปฏิบัติงาน
  • 27. อัตราค่าเบี้ยเลี้ยงการเดินทางไปปฏิบัติงานภายในประเทศ ตาแหน่ง เบี้ยเลี้ยงเดินทาง คนละ วันละ ระเบียบเก่า ระเบียบใหม่ เริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ วันที่ 1 ก.พ. 2555 เป็นต้นไป 1. ลูกจ้างและเจ้าหน้าที่ระดับ 1-2 หรือตาแหน่งที่เทียบเท่า 250.- 350.- 2. เจ้าหน้าที่ระดับ 3-8 หรือตาแหน่งที่เทียบเท่า 300.- 400.- 3. เจ้าหน้าที่ระดับ 9 ขึ้นไป หรือตาแหน่งที่เทียบเท่า 450.- 4. กรรมการเจ้าหน้าที่, กรรมการบริหาร, กรรมการสภากาชาดไทย 500.-
  • 28. การนับเวลาค่าเบี้ยเลี้ยงการเดินทางไปปฏิบัติงาน 1. ให้นับเวลาเดินทางไปปฏิบัติงานตั้งแต่ออกจากสถานที่อยู่หรือสถานที่ปฏิบัติงานตามปกติจนกลับถึงสถานที่อยู่ หรือสถานที่ปฏิบัติงานตามปกติแล้วแต่กรณี 2. เวลาไปปฏิบัติงานให้นับ 24 ชั่วโมง เป็น 1 วัน ถ้าไม่ถึง 24 ชั่วโมงหรือเกิน 24 ชั่วโมง และส่วนที่ไม่ถึง หรือเกิน 24 ชั่วโมงนั้น นับได้เกิน 8 ชั่วโมง ให้ถือเป็น 1 วัน 3. หากระยะเวลาการเดินทางไปปฏิบัติงานไม่ถึง 8 ชั่วโมง แต่นับได้เกิน 6 ชั่วโมงให้เบิกเบี้ยเลี้ยงได้กึ่งหนึ่งของอัตรา แปลว่าจะได้รับอัตราค่าเบี้ยเลี้ยงจานวนครึ่งนึง
  • 29. ค่าเบี้ยเลี้ยงการเดินทางไปปฏิบัติงาน กับมีการเลี้ยงอาหารจะเบิกอย่างไร 1. ถ้ามีการเลี้ยงอาหารทุกมื้อ ให้งดเบิกค่าเบี้ยเลี้ยง 2. ถ้ามีการเลี้ยงอาหารบางมื้อ ให้เบิกค่าเบี้ยเลี้ยงได้ไม่เกิน 2 ใน 3 ของอัตราค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง 3. ถ้ามีการเบิกค่าลงทะเบียนรวมอาหารให้งดเบิกค่าเบี้ยเลี้ยง
  • 30. ระดับลูกจ้างและเจ้าหน้าที่ ค่าที่พักที่เบิกได้จริง กรุงเทพฯ กลุ่ม ก กลุ่ม ข พักเดี่ยว พักคู่ (เป็นราคาที่คิด 70% แล้ว) พักเดี่ยว พักคู่ (เป็นราคาที่คิด 70% แล้ว) พักเดี่ยว พักคู่ (เป็นราคาที่คิด 70% แล้ว) 1. ลูกจ้างและเจ้าหน้าที่ระดับ 1-5 หรือ ตาแหน่งที่เทียบเท่า 1,200.- 840.- 1,000.- 700.- 900.- 630.- 2. เจ้าหน้าที่ระดับ 6-7 หรือตาแหน่งที่ เทียบเท่า 1,600.- 1,120.- 1,400.- 980.- 1,300.- 910.- 3. เจ้าหน้าที่ระดับ 8 หรือตาแหน่งที่เทียบเท่า 1,600.- 1,120.- 1,400.- 980.- 1,300.- 910.- 4. เจ้าหน้าที่ระดับ 9 ขึ้นไป หรือตาแหน่งที่ เทียบเท่า 2,000.- 1,400.- 1,800.- 1,260.- 1,700.- 1,190.- 5. กรรมการเจ้าหน้าที่ กรรมการบริหาร กรรมการสภากาชาดไทย ไม่มี กาหนด ไม่มีกาหนด ไม่มี กาหนด ไม่มีกาหนด ไม่มี กาหนด ไม่มีกาหนด อัตราค่าที่พักในการเดินทางไปปฏิบัติงานภายนอกสถานที่
  • 31. อัตราค่าที่พักในการเดินทางไปปฏิบัติงานภายนอกสถานที่ (ต่อ) • กลุ่ม ก. หมายถึง นนทบุรี สมุทรปราการ ชลบุรี ระยอง เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สุราษฎร์ธานี สงขลา ภูเก็ต นครสวรรค์ พิษณุโลก เชียงใหม่ เชียงราย นครราชสีมา ขอนแก่น อุดรธานี • กลุ่ม ข. หมายถึง จังหวัดอื่นๆ นอกจากกรุงเทพฯ และจังหวัดกลุ่ม ก. ในกรณีที่อัตราค่าที่พักเกินกว่าที่กาหนดไว้ในตาราง ให้นาเสนออุปนายกผู้อานวยการสภากาชาด ไทย อนุมัติเป็นกรณีพิเศษเฉพาะราย หมายเหตุ : 1. ลูกจ้างและเจ้าหน้าที่ตามข้อ 1 และ 2 ไม่อนุญาตให้พักเดี่ยว จะพักเดี่ยวได้เฉพาะใน กรณีความไม่เหมาะสมที่จะพักรวมกัน หรือมีเหตุจาเป็นที่ไม่อาจพักรวมกับผู้อื่นได้ให้เบิกค่าที่พักได้ ตามอัตรา 2. วิทยากรที่ได้รับค่าตอบแทน ไม่สามารถเบิกค่าที่พักได้
  • 32. 32 ค่ารถปรับอากาศ รับ-ส่ง (กรณีจ้างรถบริษัทภายนอก)  เอกสารประกอบการเบิกเงิน :  ใบเสร็จรับเงินที่สมบูรณ์  ใบภาษีหัก ณ ที่จ่าย  ใบนาเงินส่งคลัง  วงเงินไม่เกิน 10,000 บาท - จัดทาบันทึกข้อความขออนุมัติจัดจ้าง เสนอให้ทา บันทึกรายงานเสนอผู้มีอานาจ (ผู้ช่วยผู้อานวยการโรงพยาบาลฯ ด้านงาน จัดซื้อและบริหารพัสดุ) **ในบันทึกข้อความจะต้อง ระบุว่าหน่วยงานจะเป็นผู้ดาเนินการจัดจ้างเอง แนบการเบิกทุกครั้ง  วงเงินเกินกว่า 10,000 บาทขึ้นไป 1. ทาใบขออนุญาตดาเนินการจัดซื้อ/จ้าง บ.2530 (PR) ส่งฝ่ายบริหารงานพัสดุ (พร้อมแนบใบเสนอราคาและตัวอนุมัติ โครงการ) เพื่อจัดทาใบอนุมัติจัดซื้อ/จ้าง บ.2531(PA) และหาก โครงการนั้นมีการทาใบยืมเงินรองจ่ายให้แนบสาเนาใบยืมเงิน รองจ่ายไปด้วย 2. ใบสั่งจ้าง ฝ่ายบริหารงานพัสดุเป็นผู้จัดทาให้ หลังจากที่ 2530 (PR), 2531 (PA) อนุมัติ เรียบร้อยแล้ว 3. จ่ายเงิน และขอหลักฐานทางการเงินเก็บไว้แนบเบิกจ่ายต่อไป ก่อนที่จะดาเนินการ จ้างรถบริษัทภายนอก หน่วยงาน จะต้องติดต่อบริษัทขอใบเสนอราคาเพื่อดาเนินการตาม ระเบียบพัสดุต่อไปดังนี้ (กรณีเป็นการใช้ยานพาหนะของหน่วยยานยนต์) ให้นาใบเสร็จค่าน้ามัน มาแนบเบิกได้เลย
  • 33. 33 ตามระเบียบข้อที่ 31 ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปปฏิบัติงาน แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 9) พ.ศ.2555 “การใช้ยานพาหนะส่วนตัวไปปฏิบัติงาน ผู้เดินทางต้องได้รับอนุญาตจากผู้อานวยการสานักงานหรือ เลขาธิการสภากาชาดไทย แล้วแต่กรณี จึงจะมีสิทธิเบิกเงินชดเชยเป็นค่าพาหนะในลักษณะเหมาจ่ายเป็น ค่าใช้จ่ายสาหรับเป็นค่าน้ามันเชื้อเพลิงสาหรับการ เดินทางไปปฏิบัติงานโดยยานพาหนะส่วนตัวได้ ดังนี้ ก. รถยนต์ส่วนบุคคล กิโลเมตรละ 4 บาท ข. รถจักรยานยนต์ กิโลเมตรละ 1.50 บาท ในกรณีที่มีอุบัติเหตุเพราะการใช้ยานพาหนะส่วนตัวไปปฏิบัติงานผู้เดินทางจะต้อง รับผิดชอบค่าเสียหายทั้งหมด” กรณีการเดินทางโดยรถยนต์ส่วนตัว  เอกสารประกอบการเบิกเงิน :  ใบเสร็จรับเงินค่าน้ามัน หรือใบรับรองการจ่ายเงิน กรณีที่บิลใบเสร็จรับเงินไม่สมบูรณ์  ตรวจสอบใบเสร็จว่าวันที่อยู่ในช่วงเวลาที่ออกไปปฏิบัติหน้าที่หรือไม่  ระยะทางในการเดินทางไป – กลับ (ตารางของกรมทางหลวง)
  • 34. ทาเรื่องขอ อนุมัติดาเนิน โครงการ ปฏิบัติตามระเบียบ สภากาชาไทย ให้ถูกต้อง ต้องได้รับอนุมัติให้มีการ จัดซื้อตามระเบียบพัสดุก่อน ถึงจะดาเนินการซื้อ/จ้าง ได้ ตรวจสอบและ เก็บหลักฐาน การจ่ายเงินให้ ครบถ้วน ระบุงบประมาณให้ชัดเจน ว่าต้องการอะไร - เรื่อง การซื้อของ ก็ปฏิบัติ ตามระเบียบว่าด้วยการ บริหารงานพัสดุ - เรื่อง ของบุคคลากร ก็ ปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วย การบริหารงานบุคคล - ใบเสร็จรับเงิน - ใบสาคัญรับเงิน - ใบรับรองการจ่ายเงิน - หลักฐานอื่นๆ รวมรวมเอกสารหลักฐานการจ่ายเงินทั้งหมด ตั้งเรื่องการเบิกจ่าย และคุณก็จะมีความสุขได้รับเงินไวขึ้น เบิกเงินได้ รวดเร็วสามารถซื้อของได้ และต้องใช้จ่ายให้ ตรงกับงบประมาณ ที่ขอไว้ 1 4 2 3
  • 35. ประเด็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปปฏิบัติงาน – ต่างประเทศ แบ่งเป็น 2 กรณี ดังนี้ * กรณีที่ 1 เป็นการเดินทางไปอบรมสัมมนา ดูงาน ประชุม เสนอผลงานเป็นระยะเวลาสั้น ไม่เกิน 1 เดือน * กรณีที่ 2 เป็นการเดินทางไปศึกษาต่อหรือลาอบรมต่อต่างประเทศเป็นระยะเวลาที่มากกว่า 1 เดือน
  • 36. กรณีที่ 1 เป็นการเดินทางไปอบรมสัมมนา ดูงาน ประชุม เสนอผลงาน เป็นระยะเวลาสั้น ๆ ไม่เกิน 1 เดือน เอกสารประกอบการเบิกจ่าย มีดังนี้ 1. ตัวเรื่อง (บันทึก) ที่ได้รับอนุมัติให้เดินทางและได้รับอนุมัติวงเงินจากผู้อานวยการสานักงานการคลัง 2. ใบรายงานการเดินทางไปปฏิบัติงาน 3. ใบเสร็จรับเงินค่าพาหนะ (ค่าตั๋วเครื่องบิน) 4. ใบเสร็จรับเงินค่าลงทะเบียน 5. ใบเสร็จรับเงินค่าที่พัก 6. ใบสาคัญรับเงินค่าเบี้ยเลี้ยง 7. ใบเสร็จรับเงินหรือใบรับรองการจ่ายเงินค่าเบี้ยประกันการเดินทาง 8. ใบรับรองการจ่ายเงิน และ/หรือ ใบรับรองการจ่ายเงินค่าพาหนะที่ได้ไปในกิจการต่าง ๆ 9. หลักฐานการเงินอื่น ๆ 10. ใบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศของธนาคารไทยพาณิชย์
  • 37. ค่าใช้จ่ายที่สามารถเบิกจ่ายได้นั้น จะต้องเป็นค่าใช้จ่ายตามระเบียบสภากาชาดไทย ว่าด้วยค่าใช้จ่าย ในการเงินทางไปปฏิบัติงาน พ.ศ. 2544 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 39 ได้แก่ 1) ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง 2) ค่าเช่าที่พัก 3) ค่าพาหนะ รวมทั้งค่าเช่าพาหนะ 4) ค่ารับรอง 5) ค่าภาษีเดินทางและค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน 6) ค่าใช้จ่ายอื่นที่จาเป็นเพื่อใช้ในการเดินทางไปปฏิบัติงานเช่น เบี้ยประกันการเจ็บป่วย และ อุบัติเหตุระหว่างเดินทาง ฯลฯ กรณีที่ 1 เป็นการเดินทางไปอบรมสัมมนา ดูงาน ประชุม เสนอผลงาน เป็นระยะเวลาสั้น ๆ ไม่เกิน 1 เดือน
  • 38. เป็นการเดินทางไปศึกษาต่อหรือลาอบรมต่อต่างประเทศ เป็นระยะเวลาที่มากกว่า 1 เดือน เอกสารประกอบการเบิกจ่าย มีดังนี้ 1. ตัวเรื่อง (บันทึก) ที่ได้รับอนุมัติให้เดินทางและได้รับอนุมัติวงเงินจากผู้อานวยการสานักงานการคลัง 2. ใบเสร็จรับเงินค่าพาหนะ (ค่าตั๋วเครื่องบิน ค่าภาษีเดินทาง ค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน) 3. ใบสาคัญรับเงินค่าใช้จ่ายประจาเดือน 4. ใบเสร็จรับเงินค่าเล่าเรียน และ/หรือใบรับรองการจ่ายเงิน 5. ใบสาคัญรับเงินค่าหนังสือและอุปกรณ์การศึกษา และ/หรือใบรับรองการจ่ายเงิน 6. ใบเสร็จรับเงินค่าประกันสุขภาพ และ/หรือใบรับรองการจ่ายเงิน 7. ใบเสร็จรับเงินค่าธรรมเนียมการศึกษา และ/หรือใบรับรองการจ่ายเงิน 8. ใบเสร็จรับเงินค่าทาวีซ่า 9. ใบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศของธนาคารไทยพาณิชย์ กรณีที่ 2
  • 39. ค่าใช้จ่ายที่สามารถเบิกจ่ายได้ มีดังนี้ : 1) ค่าพาหนะ 2) ค่าใช้จ่ายประจาเดือน 3) ค่าเล่าเรียน ค่าลงทะเบียน 4) ค่าธรรมเนียมการศึกษา 5) ค่าหนังสือและอุปกรณ์การศึกษา 6) ค่าประกันสุขภาพ กรณีที่ 2 เป็นการเดินทางไปศึกษาต่อหรือลาอบรมต่อต่างประเทศ เป็นระยะเวลาที่มากกว่า 1 เดือน
  • 40. เอกสารที่เป็นใบรับรองการจ่ายเงิน : กรณีใบเสร็จรับเงินไม่สมบูรณ์ จะต้องระบุข้อความดังนี้ 1. กรณีที่ไปอบรมสัมมนา ดูงาน เสนอผลงาน - ขอรับรองว่าได้ไปปฏิบัติงานตามนี้จริง (หัวหน้าฝ่ายเซ็นกากับ) 2. กรณีไปศึกษาต่อหรือลาอบรมต่อต่างประเทศ - ขอรับรองว่าได้ไปศึกษาต่อตามนี้จริง (หัวหน้าฝ่ายเซ็นกากับ)
  • 41. เอกสารที่เป็นใบสาคัญรับเงิน จะต้องระบุข้อความดังนี้ 1. กรณีที่ไปอบรมสัมมนา ดูงาน เสนอผลงาน - ขอรับรองว่าได้ไปปฏิบัติงานตามนี้จริง (หัวหน้าฝ่ายเซ็นกากับ) 2. กรณีไปศึกษาต่อหรือลาอบรมต่อต่างประเทศ - ขอรับรองว่าได้ไปศึกษาต่อตามนี้จริง (หัวหน้าฝ่ายเซ็นกากับ)
  • 42. กรณีทาใบยืมเงินรองจ่ายชั่วคราว กรณีหน่วยงานสารองจ่ายเงินไปก่อน - ใช้อัตราแลกเปลี่ยนวันที่รับเงินจากสานักงานการ คลัง - ใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เดินทาง ประเด็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปปฏิบัติงาน – ต่างประเทศ ใบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ หมายเหตุ : ให้ใช้อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศของธนาคารไทยพาณิชย์ เท่านั้น *** หากวันเดินทางตรงกับวันหยุดธนาคาร ให้ใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันก่อนวันหยุดธนาคาร