SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
จัดทาโดย
นายศรัณย์ ยุวรรณะ 09010104
นางสาวนลินรัตน์ ชูธรรม 09010105
 ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) ปี 2552
 เครื่องชี้วัดข้อมูล กชช. 2ค
 วัตถุประสงค์ของการทา Data Mining
 การคัดเลือกข้อมูล
 การเตรียมข้อมูล
 การแปลงรูปแบบข้อมูล
 การทาเหมืองข้อมูล
 การแปลผล และประเมินผลลัพธ์ที่ได้
 ข้อมูลหมู่บ้านที่แสดงให้เห็นสภาพทั่วไป และปัญหา ของหมู่บ้าน ชนบทด้านต่าง ๆ
เช่น โครงสร้างพื้นฐานเศรษฐกิจสุขภาพและอนามัยความรู้และการศึกษาความ
เข้มแข็งของชุมชนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม สภาพแรงงานและยาเสพติด
เป็นข้อมูลที่จัดเก็บทุกหมู่บ้านในชนบท เป็นประจาทุก 2 ปี
 เครื่องชี้วัดสภาพปัญหา ของหมู่บ้านในช่วงแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 10 (ปี 2550-2554) มี 6 ด้าน 31 ตัวชี้วัด มีการจัดระดับความรุนแรงของ
ปัญหาและระดับการพัฒนาของหมู่บ้าน
 ทาให้ทราบลาดับความสาคัญของปัญหาและพื้นที่เป้ าหมาย ที่ควรได้รับการพัฒนา
เป็นพิเศษ
1. ข้อมูล กชช. 2ค เป็นข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน/ชุมชนที่ทาให้สามารถรู้สภาพ
ปัญหาของหมู่บ้านซึ่งจะนาไปสู่การวางแผนแก้ไขปัญหาของหมู่บ้าน ตาบลของ
หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง หรือกลุ่ม/องค์กรประชาชน เพื่อให้ประชาชนได้มี
ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
2. ข้อมูล กชช. 2ค เป็นข้อมูลที่ต้องดาเนินการจัดเก็บทุกสองปี ตามมติคณะรัฐมนตรี
เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2530 โดยการจัดเก็บข้อมูล จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ
การสัมภาษณ์จากผู้นาท้องถิ่นในแต่ละหมู่บ้านเพื่อนาข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการ
วางแผนพัฒนาตาบล แผนพัฒนา อาเภอ และแผนพัฒนาจังหวัด
ข้อมูลจากศูนย์ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบท กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
www.rdic.info, www.cdd.go.th
1. เพื่อใช้ข้อมูล กชช. 2ค เป็นเครื่องมือในการสารวจสภาพความเป็นอยู่ของ
ประชาชนในแต่ละหมู่บ้านทั่วประเทศ สาหรับการวางแผน การกาหนดนโยบาย
และเป็นข้อมูล การประเมินผลการพัฒนาโดยส่วนรวม
2. เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ใช้ประโยชน์จากข้อมูล กชช. 2ค ในการวาง
แผนการติดตามและประเมินผลการพัฒนาชนบท
3. เพื่อใช้ระดับการพัฒนาของหมู่บ้าน/ชุมชนจากข้อมูล กชช. 2ค กาหนดพื้นที่
เป้ าหมายในการพัฒนาของแต่ละจังหวัด อาเภอและตาบล
1. ข้อมูล กชช. 2ค เป็นข้อมูลกลางของประเทศที่ใช้เป็นเครื่องมือในการบริหาร การ
พัฒนาชนบท และยังเป็นข้อมูลชุดเดียว ที่จัดเก็บทุก หมู่บ้านทั่วประเทศที่มีอยู่
ในขณะนี้โดยมีการนาข้อมูล กชช. 2ค มาใช้ประโยชน์ทั้งในระดับนโยบาย และ
การแปลงสู่การปฏิบัติของส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
2. ข้อมูล กชช. 2ค เป็นข้อมูลที่หน่วยปฏิบัติในส่วนภูมิภาค สามารถค้นหาปัญหา
เบื้องต้นในส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการกาหนดนโยบาย และแนวทางการ
ดาเนินการ เช่น การส่งเสริมอุตสาหกรรมในครัวเรือนและการส่งเสริมฟื้นฟู
สภาพแวดล้อมสาหรับแหล่งท่องเที่ยวที่สามารถก่อให้เกิดรายได้ในท้องถิ่นซึ่ง
หน่วยงานปฏิบัติสามารถจัดสรรงบประมาณให้ตรงตามปัญหาที่พบจากข้อมูล
กชช. 2คได้ เป็นต้น
1. ประชาชนในแต่ละหมู่บ้าน/ชุมชนทั่วประเทศ สามารถทราบถึง คุณภาพชีวิต
สภาพความเป็นอยู่และสภาพปัญหาของหมู่บ้านชุมชนของตนเองว่าเป็นอย่างไร
2. ภาคราชการ หรือภาครัฐ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้ประโยชน์จาก
ข้อมูล กชช. 2ค ในการวางแผนการติดตาม และประเมินผลการพัฒนาชนบทการ
จัดระดับการพัฒนาของหมู่บ้านการจัดทาแผนพัฒนาในด้านต่างๆลอดจนการ
กาหนดพื้นที่เป้ าหมาย ในการพัฒนาของหน่วยงานแต่ละระดับทั้งส่วนกลาง
จังหวัด อาเภอ และตาบล
3. ภาคเอกชน สามารถนาข้อมูล จาก กชช. 2ค มาใช้ในการตัดสินใจและวางแผนใน
การบริหารจัดการเพื่อลงทุนทางธุรกิจ
1. โครงสร้างพื้นฐาน
2. สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
3. สุขภาพอนามัย
4. ความรู้และการศึกษา
5. การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งของชุมชน
6. สภาพแรงงาน
7. ยาเสพติด
8. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
1. โครงสร้างพื้นฐาน
2. การประกอบอาชีพ
3. สุขภาพอนามัย
4. ความรู้และการศึกษา
5. ความเข้มแข็งของ
ชุมชน
6. ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
 (1) ถนน
 (2) น้าดื่ม
 (3) น้าใช้
 (4) น้าเพื่อการเกษตร
 (5) ไฟฟ้ า
 (6) การมีที่ดินทากิน
 (7) การติดต่อสื่อสาร
 (8) การมีงานทา
 (9) การทางานในสถานประกอบการ
 (10) ผลผลิตจากการทานา
 (11) ผลผลิตจากการทาไร่
 (12) ผลผลิตจากการทาการเกษตรอื่นๆ
 (13) การประกอบอุตสาหกรรมในครัวเรือน
 (14) การได้รับประโยชน์จากการมีสถานที่ท่องเที่ยว
 (15) ความปลอดภัยในการทางาน
 (16) การป้ องกันโรคติดต่อ
 (17) การกีฬา
 (18) การปลอดยาเสพติด
 (19) การได้รับการศึกษา
 (20) อัตราการเรียนต่อของประชาชน
 (21) ระดับการศึกษาของประชาชน
 (22) การเรียนรู้โดยชุมชน
 (23) การได้รับการคุ้มครองทางสังคม
 (24) การมีส่วนร่วมของชุมชน
 (25) การรวมกลุ่มของประชาชน
 (26) การเข้าถึงแหล่งเงินทุน
 (27) คุณภาพของดิน
 (28) คุณภาพของน้า
 (29) การปลูกป่าหรือไม้ยืนต้น
 (30) การใช้ประโยชน์ที่ดิน
 (31) การจัดการสภาพแวดล้อม
 เพื่อสร้างแบบจาลองในการทานายผลการติดยาเสพติดของชุมชน
 เพื่อวิเคราะห์หาคุณสมบัติ (Attribute) หรือตัวแปร
ที่มีผลต่อการติดยาเสพติดของชุมชน
 การคัดเลือกข้อมูล (Data Selection)
 การเตรียมข้อมูล (Data Preprocessing)
 การแปลงรูปแบบข้อมูล (Data Transformation)
 การทาเหมืองข้อมูล (Data Mining)
 การแปลผล และประเมินผลลัพธ์ที่ได้ (Interpretation and
Evaluation)
 NRD50.mdb
Table Data
TambonNRD1 โครงสร้างพื้นฐาน, จานวนประชากร, สถานศึกษา
TambonNRD2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
TambonNRD345
สุขภาพอนามัย
ความรู้และการศึกษา
TambonNRD5 การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งของชุมชน, กีฬา
TambonNRD678
สภาพแรงงาน
ยาเสพติด
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
 ขั้นตอนการเตรียมข้อมูลโดยการแยกข้อมูลที่ไม่มีค่าข้อมูลที่ทา การบันทึกผิด
ข้อมูลที่มีความซ้า ซ้อน หรือไม่สอดคล้องกันออกไป และทาการรวบรวมข้อมูลที่
ต้องการที่มาจากหลายๆ ฐานข้อมูลจุดประสงค์ก็เพื่อทาให้มั่นใจว่าคุณภาพของ
ข้อมูลที่ถูกเลือกนั้นเหมาะสม
 โครงสร้างพื้นฐาน, จานวนประชากร, สถานศึกษา
 ความรู้และการศึกษา
 ความเข้มแข็งของชุมชน, กีฬา
 ยาเสพติด
 ปัญหาการจัดจาแนกประเภทเป็นปัญหาที่นักสถิติสนใจมานานในรูปที่ตัวแปรตาม
(Response variable) มีค่าไม่ต่อเนื่อง
 แนวคิดในการจัดการกับตัวแปรตามหรือคลาสเป้ าหมายที่มีค่าไม่ต่อเนื่อง ทาได้โดย
ใช้การแจกแจง กล่าวคือ สาหรับตัวอย่างที่ไม่ทราบค่าคลาสเป้ าหมาย จะให้ผลลัพธ์
ความน่าจะเป็นที่ตัวอย่างดังกล่าวจะอยู่ในกลุ่มของคลาสเป้ าหมายกลุ่มใด กลุ่มหนึ่ง
ซึ่งการประมาณค่าความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์สามารถใช้ความถี่สัมพัทธ์
ได้ในกรณีที่ข้อมูลมีปริมาณมากพอ
 วิธีการนี้มักถูกใช้เป็นมาตรฐานสาหรับเปรียบเทียบกับวิธีการอื่น
 เป็นการแปลงข้อมูลที่เลือกมาให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสมสาหรับการนาไปใช้
วิเคราะห์ตามอัลกอริทึม (Algorithm) ที่ใช้ในการทาเหมืองข้อมูลต่อไป
ติดยา?
 เป็นการใช้เทคนิคภายในการทาเหมืองข้อมูลโดยทั่วไป ประเภทของงานตาม
ลักษณะของแบบจาลองที่ใช้ในการทาเหมืองข้อมูล นั้นสามารถแบ่งกลุ่มได้เป็น 2
ประเภทใหญ่ ๆ คือ
◦ แบบจาลองเชิงทานาย (Predictive Data Mining)
เป็นการคาดคะเนลักษณะหรือประมาณค่าที่ชัดเจนของข้อมูลที่จะเกิดขึ้นโดยใช้พื้นฐานจาก
ข้อมูล ที่ผ่านมาในอดีต
◦ แบบจาลองเชิงพรรณนา (Descriptive Data Mining)
เป็นการหาแบบจาลองเพื่ออธิบายลักษณะบางอย่างของข้อมูลที่มีอยู่ ซึ่งโดยส่วนมากจะเป็น
ลักษณะการแบ่งกลุ่มให้กับข้อมูล
 เป็นขั้นตอนการแปลความหมายและการประเมินผลลัพธ์ที่ได้ว่ามีความเหมาะสม
หรือตรงกับวัตถุประสงค์ที่ต้องการหรือไม่
 โดยทั่วไปควรมีการแสดงผลในรูปแบบที่สามารถเข้าใจ ได้โดยง่าย
Bayes Net NRD50 Concept
Bayes Net NRD50 Concept

More Related Content

More from Saran Yuwanna

How to Utilize LINE@ for Food Business #2
How to Utilize LINE@ for Food Business #2How to Utilize LINE@ for Food Business #2
How to Utilize LINE@ for Food Business #2Saran Yuwanna
 
รวยสบายสไตล์ Line@
รวยสบายสไตล์ Line@รวยสบายสไตล์ Line@
รวยสบายสไตล์ Line@Saran Yuwanna
 
การแปลง Facebook profile เป็น page
การแปลง Facebook profile เป็น pageการแปลง Facebook profile เป็น page
การแปลง Facebook profile เป็น pageSaran Yuwanna
 
Mobile apps for work @nuisaran
Mobile apps for work @nuisaranMobile apps for work @nuisaran
Mobile apps for work @nuisaranSaran Yuwanna
 
เทคนิคขายของออนไลน์ให้ปัง ให้รวย : lnwshop
เทคนิคขายของออนไลน์ให้ปัง ให้รวย : lnwshopเทคนิคขายของออนไลน์ให้ปัง ให้รวย : lnwshop
เทคนิคขายของออนไลน์ให้ปัง ให้รวย : lnwshopSaran Yuwanna
 
การทิ้งขยะของเมืองคาวาโกเอะ
การทิ้งขยะของเมืองคาวาโกเอะการทิ้งขยะของเมืองคาวาโกเอะ
การทิ้งขยะของเมืองคาวาโกเอะSaran Yuwanna
 
Mobile apps for secretary @nuisaran
Mobile apps for secretary @nuisaranMobile apps for secretary @nuisaran
Mobile apps for secretary @nuisaranSaran Yuwanna
 
การสร้าง Line@ และการใช้งาน
การสร้าง Line@ และการใช้งานการสร้าง Line@ และการใช้งาน
การสร้าง Line@ และการใช้งานSaran Yuwanna
 
การใช้งาน Twitter และโปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
การใช้งาน Twitter และโปรแกรมตัดต่อวีดีโอการใช้งาน Twitter และโปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
การใช้งาน Twitter และโปรแกรมตัดต่อวีดีโอSaran Yuwanna
 
กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”
กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”
กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”Saran Yuwanna
 
กำหนดการสัมมนาห้องย่อย Village E-Commerce มหกรรมสินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจ...
กำหนดการสัมมนาห้องย่อย Village E-Commerce มหกรรมสินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจ...กำหนดการสัมมนาห้องย่อย Village E-Commerce มหกรรมสินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจ...
กำหนดการสัมมนาห้องย่อย Village E-Commerce มหกรรมสินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจ...Saran Yuwanna
 
ใบสมัคร ประเภท 1.1 ประเภทศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น
ใบสมัคร ประเภท 1.1 ประเภทศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่นใบสมัคร ประเภท 1.1 ประเภทศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น
ใบสมัคร ประเภท 1.1 ประเภทศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่นSaran Yuwanna
 
ใบสมัคร ประเภท 1.2 ประเภทวิทยากรศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุม...
ใบสมัคร ประเภท 1.2 ประเภทวิทยากรศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุม...ใบสมัคร ประเภท 1.2 ประเภทวิทยากรศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุม...
ใบสมัคร ประเภท 1.2 ประเภทวิทยากรศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุม...Saran Yuwanna
 
ใบสมัคร ประเภท 1.3 ประเภทผู้ประกอบการร้านค้าออนไลน์ดีเด่น
ใบสมัคร ประเภท 1.3 ประเภทผู้ประกอบการร้านค้าออนไลน์ดีเด่นใบสมัคร ประเภท 1.3 ประเภทผู้ประกอบการร้านค้าออนไลน์ดีเด่น
ใบสมัคร ประเภท 1.3 ประเภทผู้ประกอบการร้านค้าออนไลน์ดีเด่นSaran Yuwanna
 
การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...
การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...
การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...Saran Yuwanna
 
40 ครูช่างศิลปหัตถกรรม ประจำปี 2557
40 ครูช่างศิลปหัตถกรรม ประจำปี 255740 ครูช่างศิลปหัตถกรรม ประจำปี 2557
40 ครูช่างศิลปหัตถกรรม ประจำปี 2557Saran Yuwanna
 
หวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ
หวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะหวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ
หวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะSaran Yuwanna
 
Ecommerce โอกาสทองของคนยุคใหม่
Ecommerce โอกาสทองของคนยุคใหม่Ecommerce โอกาสทองของคนยุคใหม่
Ecommerce โอกาสทองของคนยุคใหม่Saran Yuwanna
 
Social media for pr กรมส่งเสริมการเกษตร
Social media for pr กรมส่งเสริมการเกษตร Social media for pr กรมส่งเสริมการเกษตร
Social media for pr กรมส่งเสริมการเกษตร Saran Yuwanna
 
Social media for pr สปสช
Social media for pr สปสชSocial media for pr สปสช
Social media for pr สปสชSaran Yuwanna
 

More from Saran Yuwanna (20)

How to Utilize LINE@ for Food Business #2
How to Utilize LINE@ for Food Business #2How to Utilize LINE@ for Food Business #2
How to Utilize LINE@ for Food Business #2
 
รวยสบายสไตล์ Line@
รวยสบายสไตล์ Line@รวยสบายสไตล์ Line@
รวยสบายสไตล์ Line@
 
การแปลง Facebook profile เป็น page
การแปลง Facebook profile เป็น pageการแปลง Facebook profile เป็น page
การแปลง Facebook profile เป็น page
 
Mobile apps for work @nuisaran
Mobile apps for work @nuisaranMobile apps for work @nuisaran
Mobile apps for work @nuisaran
 
เทคนิคขายของออนไลน์ให้ปัง ให้รวย : lnwshop
เทคนิคขายของออนไลน์ให้ปัง ให้รวย : lnwshopเทคนิคขายของออนไลน์ให้ปัง ให้รวย : lnwshop
เทคนิคขายของออนไลน์ให้ปัง ให้รวย : lnwshop
 
การทิ้งขยะของเมืองคาวาโกเอะ
การทิ้งขยะของเมืองคาวาโกเอะการทิ้งขยะของเมืองคาวาโกเอะ
การทิ้งขยะของเมืองคาวาโกเอะ
 
Mobile apps for secretary @nuisaran
Mobile apps for secretary @nuisaranMobile apps for secretary @nuisaran
Mobile apps for secretary @nuisaran
 
การสร้าง Line@ และการใช้งาน
การสร้าง Line@ และการใช้งานการสร้าง Line@ และการใช้งาน
การสร้าง Line@ และการใช้งาน
 
การใช้งาน Twitter และโปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
การใช้งาน Twitter และโปรแกรมตัดต่อวีดีโอการใช้งาน Twitter และโปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
การใช้งาน Twitter และโปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
 
กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”
กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”
กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”
 
กำหนดการสัมมนาห้องย่อย Village E-Commerce มหกรรมสินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจ...
กำหนดการสัมมนาห้องย่อย Village E-Commerce มหกรรมสินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจ...กำหนดการสัมมนาห้องย่อย Village E-Commerce มหกรรมสินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจ...
กำหนดการสัมมนาห้องย่อย Village E-Commerce มหกรรมสินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจ...
 
ใบสมัคร ประเภท 1.1 ประเภทศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น
ใบสมัคร ประเภท 1.1 ประเภทศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่นใบสมัคร ประเภท 1.1 ประเภทศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น
ใบสมัคร ประเภท 1.1 ประเภทศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น
 
ใบสมัคร ประเภท 1.2 ประเภทวิทยากรศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุม...
ใบสมัคร ประเภท 1.2 ประเภทวิทยากรศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุม...ใบสมัคร ประเภท 1.2 ประเภทวิทยากรศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุม...
ใบสมัคร ประเภท 1.2 ประเภทวิทยากรศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุม...
 
ใบสมัคร ประเภท 1.3 ประเภทผู้ประกอบการร้านค้าออนไลน์ดีเด่น
ใบสมัคร ประเภท 1.3 ประเภทผู้ประกอบการร้านค้าออนไลน์ดีเด่นใบสมัคร ประเภท 1.3 ประเภทผู้ประกอบการร้านค้าออนไลน์ดีเด่น
ใบสมัคร ประเภท 1.3 ประเภทผู้ประกอบการร้านค้าออนไลน์ดีเด่น
 
การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...
การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...
การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...
 
40 ครูช่างศิลปหัตถกรรม ประจำปี 2557
40 ครูช่างศิลปหัตถกรรม ประจำปี 255740 ครูช่างศิลปหัตถกรรม ประจำปี 2557
40 ครูช่างศิลปหัตถกรรม ประจำปี 2557
 
หวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ
หวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะหวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ
หวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ
 
Ecommerce โอกาสทองของคนยุคใหม่
Ecommerce โอกาสทองของคนยุคใหม่Ecommerce โอกาสทองของคนยุคใหม่
Ecommerce โอกาสทองของคนยุคใหม่
 
Social media for pr กรมส่งเสริมการเกษตร
Social media for pr กรมส่งเสริมการเกษตร Social media for pr กรมส่งเสริมการเกษตร
Social media for pr กรมส่งเสริมการเกษตร
 
Social media for pr สปสช
Social media for pr สปสชSocial media for pr สปสช
Social media for pr สปสช
 

Bayes Net NRD50 Concept

  • 2.  ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) ปี 2552  เครื่องชี้วัดข้อมูล กชช. 2ค  วัตถุประสงค์ของการทา Data Mining  การคัดเลือกข้อมูล  การเตรียมข้อมูล  การแปลงรูปแบบข้อมูล  การทาเหมืองข้อมูล  การแปลผล และประเมินผลลัพธ์ที่ได้
  • 3.  ข้อมูลหมู่บ้านที่แสดงให้เห็นสภาพทั่วไป และปัญหา ของหมู่บ้าน ชนบทด้านต่าง ๆ เช่น โครงสร้างพื้นฐานเศรษฐกิจสุขภาพและอนามัยความรู้และการศึกษาความ เข้มแข็งของชุมชนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม สภาพแรงงานและยาเสพติด เป็นข้อมูลที่จัดเก็บทุกหมู่บ้านในชนบท เป็นประจาทุก 2 ปี  เครื่องชี้วัดสภาพปัญหา ของหมู่บ้านในช่วงแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (ปี 2550-2554) มี 6 ด้าน 31 ตัวชี้วัด มีการจัดระดับความรุนแรงของ ปัญหาและระดับการพัฒนาของหมู่บ้าน  ทาให้ทราบลาดับความสาคัญของปัญหาและพื้นที่เป้ าหมาย ที่ควรได้รับการพัฒนา เป็นพิเศษ
  • 4. 1. ข้อมูล กชช. 2ค เป็นข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน/ชุมชนที่ทาให้สามารถรู้สภาพ ปัญหาของหมู่บ้านซึ่งจะนาไปสู่การวางแผนแก้ไขปัญหาของหมู่บ้าน ตาบลของ หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง หรือกลุ่ม/องค์กรประชาชน เพื่อให้ประชาชนได้มี ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น 2. ข้อมูล กชช. 2ค เป็นข้อมูลที่ต้องดาเนินการจัดเก็บทุกสองปี ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2530 โดยการจัดเก็บข้อมูล จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ การสัมภาษณ์จากผู้นาท้องถิ่นในแต่ละหมู่บ้านเพื่อนาข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการ วางแผนพัฒนาตาบล แผนพัฒนา อาเภอ และแผนพัฒนาจังหวัด ข้อมูลจากศูนย์ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบท กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย www.rdic.info, www.cdd.go.th
  • 5. 1. เพื่อใช้ข้อมูล กชช. 2ค เป็นเครื่องมือในการสารวจสภาพความเป็นอยู่ของ ประชาชนในแต่ละหมู่บ้านทั่วประเทศ สาหรับการวางแผน การกาหนดนโยบาย และเป็นข้อมูล การประเมินผลการพัฒนาโดยส่วนรวม 2. เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ใช้ประโยชน์จากข้อมูล กชช. 2ค ในการวาง แผนการติดตามและประเมินผลการพัฒนาชนบท 3. เพื่อใช้ระดับการพัฒนาของหมู่บ้าน/ชุมชนจากข้อมูล กชช. 2ค กาหนดพื้นที่ เป้ าหมายในการพัฒนาของแต่ละจังหวัด อาเภอและตาบล
  • 6. 1. ข้อมูล กชช. 2ค เป็นข้อมูลกลางของประเทศที่ใช้เป็นเครื่องมือในการบริหาร การ พัฒนาชนบท และยังเป็นข้อมูลชุดเดียว ที่จัดเก็บทุก หมู่บ้านทั่วประเทศที่มีอยู่ ในขณะนี้โดยมีการนาข้อมูล กชช. 2ค มาใช้ประโยชน์ทั้งในระดับนโยบาย และ การแปลงสู่การปฏิบัติของส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น 2. ข้อมูล กชช. 2ค เป็นข้อมูลที่หน่วยปฏิบัติในส่วนภูมิภาค สามารถค้นหาปัญหา เบื้องต้นในส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการกาหนดนโยบาย และแนวทางการ ดาเนินการ เช่น การส่งเสริมอุตสาหกรรมในครัวเรือนและการส่งเสริมฟื้นฟู สภาพแวดล้อมสาหรับแหล่งท่องเที่ยวที่สามารถก่อให้เกิดรายได้ในท้องถิ่นซึ่ง หน่วยงานปฏิบัติสามารถจัดสรรงบประมาณให้ตรงตามปัญหาที่พบจากข้อมูล กชช. 2คได้ เป็นต้น
  • 7. 1. ประชาชนในแต่ละหมู่บ้าน/ชุมชนทั่วประเทศ สามารถทราบถึง คุณภาพชีวิต สภาพความเป็นอยู่และสภาพปัญหาของหมู่บ้านชุมชนของตนเองว่าเป็นอย่างไร 2. ภาคราชการ หรือภาครัฐ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้ประโยชน์จาก ข้อมูล กชช. 2ค ในการวางแผนการติดตาม และประเมินผลการพัฒนาชนบทการ จัดระดับการพัฒนาของหมู่บ้านการจัดทาแผนพัฒนาในด้านต่างๆลอดจนการ กาหนดพื้นที่เป้ าหมาย ในการพัฒนาของหน่วยงานแต่ละระดับทั้งส่วนกลาง จังหวัด อาเภอ และตาบล 3. ภาคเอกชน สามารถนาข้อมูล จาก กชช. 2ค มาใช้ในการตัดสินใจและวางแผนใน การบริหารจัดการเพื่อลงทุนทางธุรกิจ
  • 8. 1. โครงสร้างพื้นฐาน 2. สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ 3. สุขภาพอนามัย 4. ความรู้และการศึกษา 5. การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งของชุมชน 6. สภาพแรงงาน 7. ยาเสพติด 8. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  • 9. 1. โครงสร้างพื้นฐาน 2. การประกอบอาชีพ 3. สุขภาพอนามัย 4. ความรู้และการศึกษา 5. ความเข้มแข็งของ ชุมชน 6. ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
  • 10.  (1) ถนน  (2) น้าดื่ม  (3) น้าใช้  (4) น้าเพื่อการเกษตร  (5) ไฟฟ้ า  (6) การมีที่ดินทากิน  (7) การติดต่อสื่อสาร
  • 11.  (8) การมีงานทา  (9) การทางานในสถานประกอบการ  (10) ผลผลิตจากการทานา  (11) ผลผลิตจากการทาไร่  (12) ผลผลิตจากการทาการเกษตรอื่นๆ  (13) การประกอบอุตสาหกรรมในครัวเรือน  (14) การได้รับประโยชน์จากการมีสถานที่ท่องเที่ยว
  • 12.  (15) ความปลอดภัยในการทางาน  (16) การป้ องกันโรคติดต่อ  (17) การกีฬา  (18) การปลอดยาเสพติด
  • 13.  (19) การได้รับการศึกษา  (20) อัตราการเรียนต่อของประชาชน  (21) ระดับการศึกษาของประชาชน
  • 14.  (22) การเรียนรู้โดยชุมชน  (23) การได้รับการคุ้มครองทางสังคม  (24) การมีส่วนร่วมของชุมชน  (25) การรวมกลุ่มของประชาชน  (26) การเข้าถึงแหล่งเงินทุน
  • 15.  (27) คุณภาพของดิน  (28) คุณภาพของน้า  (29) การปลูกป่าหรือไม้ยืนต้น  (30) การใช้ประโยชน์ที่ดิน  (31) การจัดการสภาพแวดล้อม
  • 17.  การคัดเลือกข้อมูล (Data Selection)  การเตรียมข้อมูล (Data Preprocessing)  การแปลงรูปแบบข้อมูล (Data Transformation)  การทาเหมืองข้อมูล (Data Mining)  การแปลผล และประเมินผลลัพธ์ที่ได้ (Interpretation and Evaluation)
  • 19. Table Data TambonNRD1 โครงสร้างพื้นฐาน, จานวนประชากร, สถานศึกษา TambonNRD2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ TambonNRD345 สุขภาพอนามัย ความรู้และการศึกษา TambonNRD5 การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งของชุมชน, กีฬา TambonNRD678 สภาพแรงงาน ยาเสพติด ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  • 20.  ขั้นตอนการเตรียมข้อมูลโดยการแยกข้อมูลที่ไม่มีค่าข้อมูลที่ทา การบันทึกผิด ข้อมูลที่มีความซ้า ซ้อน หรือไม่สอดคล้องกันออกไป และทาการรวบรวมข้อมูลที่ ต้องการที่มาจากหลายๆ ฐานข้อมูลจุดประสงค์ก็เพื่อทาให้มั่นใจว่าคุณภาพของ ข้อมูลที่ถูกเลือกนั้นเหมาะสม
  • 22.
  • 26.
  • 27.  ปัญหาการจัดจาแนกประเภทเป็นปัญหาที่นักสถิติสนใจมานานในรูปที่ตัวแปรตาม (Response variable) มีค่าไม่ต่อเนื่อง  แนวคิดในการจัดการกับตัวแปรตามหรือคลาสเป้ าหมายที่มีค่าไม่ต่อเนื่อง ทาได้โดย ใช้การแจกแจง กล่าวคือ สาหรับตัวอย่างที่ไม่ทราบค่าคลาสเป้ าหมาย จะให้ผลลัพธ์ ความน่าจะเป็นที่ตัวอย่างดังกล่าวจะอยู่ในกลุ่มของคลาสเป้ าหมายกลุ่มใด กลุ่มหนึ่ง ซึ่งการประมาณค่าความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์สามารถใช้ความถี่สัมพัทธ์ ได้ในกรณีที่ข้อมูลมีปริมาณมากพอ  วิธีการนี้มักถูกใช้เป็นมาตรฐานสาหรับเปรียบเทียบกับวิธีการอื่น
  • 30.  เป็นการใช้เทคนิคภายในการทาเหมืองข้อมูลโดยทั่วไป ประเภทของงานตาม ลักษณะของแบบจาลองที่ใช้ในการทาเหมืองข้อมูล นั้นสามารถแบ่งกลุ่มได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ◦ แบบจาลองเชิงทานาย (Predictive Data Mining) เป็นการคาดคะเนลักษณะหรือประมาณค่าที่ชัดเจนของข้อมูลที่จะเกิดขึ้นโดยใช้พื้นฐานจาก ข้อมูล ที่ผ่านมาในอดีต ◦ แบบจาลองเชิงพรรณนา (Descriptive Data Mining) เป็นการหาแบบจาลองเพื่ออธิบายลักษณะบางอย่างของข้อมูลที่มีอยู่ ซึ่งโดยส่วนมากจะเป็น ลักษณะการแบ่งกลุ่มให้กับข้อมูล
  • 31.
  • 32.
  • 33.