SlideShare a Scribd company logo
1 of 1
Download to read offline
ธารน้ําแข็งหนาปากปลอง เหตุภูเขาไฟไอซแลนดระเบิดรุนแรง
                                                                                ศูนยสื่อสารวิทยาศาสตรไทย สวทช.
           จากเหตุการณภูเขาไฟระเบิดในประเทศไอซแลนด ที่ไดกอใหเกิดเถาภูเขาไฟฟุงกระจายเปนบริเวณ
กวางในแถบยุโรปตะวันตก สรางความเสียหายทางเศรษฐกิจและธุรกิจการบินอยางมากในชวงที่ผานมานั้น
ในสวนของนักวิชาการไทย รศ.ดร.ปญญา จารุศิริ หัวหนาหนวยวิจัยธรณีวิทยาแผนดินไหวและธรณี
แปรสัณฐาน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องนี้วา ตามหลักทฤษฎีทาง
ธรณีวิทยา โดยเฉพาะการแปรสัณฐานเปลือกโลกแลวภูเขาไฟในบริเวณไอซแลนดไมควรระเบิดรุนแรงขนาดนี้
แตวาในกรณีนี้เปนภูเขาไฟใตธารน้ําแข็ง คือมีชั้นน้ําแข็งหนาปดทับอยูดานบน ทําใหเกิดการสะสมของ
พลังงานมาก จึงเกิดการระเบิดอยางรุนแรง
           “ภูเขาไฟแบงไดงายๆ 2 แบบ คือ 1.ภูเขาไฟที่ระเบิดรุนแรง เชน ภูเขาไฟกรากะตัว ประเทศ
อินโดนีเซีย ภูเขาไฟเซนทเฮเลน ในอเมริกา ซึ่งเปนภูเขาไฟที่เกิดจากแผนเปลือกโลกเคลื่อนที่มาชนกันหรือ
มุดเขาหากัน และ 2.ภูเขาไฟที่ระเบิดไมรุนแรง เชน ภูเขาไฟไอซแลนด เพราะเปนภูเขาไฟที่เกิดใน
บริเวณที่แผนเปลือกโลกแยกตัวออกจากกัน หรือเกิดจากการปะทุขึ้นมาของจุดรอน (hot spot) ใตโลก เชน
ภูเขาไฟฮาวาย แตสําหรับการระเบิดของภูเขาไฟในประเทศไอซแลนดครั้งนี้ ถือเปนกรณีพิเศษ คือ เปนภูเขา
ไฟที่อยูใตธารน้ําแข็งไอยยาฟยัลลาโยกูลมีชั้นน้ําแข็งที่หนามากมาปดทับปลองดานบนอยู จึงทําใหเกิดการ
สะสมพลังงานความรอนและแรงดันจํานวนมหาศาลอยูภายใน กระทั่งวันหนึ่งเมื่อพลังงานที่สะสมใตโลกมีมาก
จนเกินรับไหว จึงเกิดแรงดันจนน้ําแข็งที่ปดทับอยูถูกดันใหแตกออกจนเกิดการระเบิดอยางรุนแรง เถาถาน
รอนที่อยูในหินละลายลาวาก็ฟุงกระจายไปทั่ว นอกจากนี้แรงดันและพลังงานความรอนที่ปะทุออกมายังมีผล
ทําใหน้ําแข็งบริเวณรอยแยกกลางเกาะไอซแลนดละลายอยางรุนแรงและรวดเร็ว ซึ่งเมื่อน้ําแข็งและน้ําเย็น
ไหลมาผสมกับหินละลาย ก็กอใหเกิดเถาภูเขาไฟจํานวนมาก โดยเถาภูเขาไฟขนาดใหญจะฟุงกระจายไมนาน
และตกลงในมหาสมุทร ขณะที่เถาภูเขาไฟขนาดเล็กจะฟุงและเคลื่อนตัวไปไดไกลมาก อยางไรก็ดีการระเบิด
ของภูเขาไฟในไอซแลนดครั้งนี้ดวยอิทธิพลของลมที่เคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออกทําใหเถาภูเขาไฟถูกพัดฟุง
กระจายไปทางทิศตะวันออกเปนสวนใหญ เปนเหตุใหหลายประเทศในแถบยุโรปตะวันตกไดรับผลกระทบ
ค อ นข า งมาก โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ธุ ร กิ จ การบิ น เพราะเถ า เหล านี้ ไ ม เ พี ย งทํ า ลายทั ศ นวิ สั ย แตยั ง มีผ ลให
เครื่องจักรตางๆ ในเครื่องบินเสียหายดวย”
           ดร.ปญญา กลาววา ทุกวันนี้นักธรณีวิทยาบอกไดเพียงวามีภูเขาไฟที่ยังปะทุอยูที่บริเวณใดบาง แต
ยังไมมีเทคโนโลยีใดที่จะสามารถทํานายอยางถูกตองแมนยําวาภูเขาไฟจะระเบิดเมื่อใด สวนภูเขาไฟใน
ประเทศไทยเปนชนิดที่ดับสนิทตั้งแตเมื่อหาแสนปที่แลว จึงไมตองกังวลใจ แตสิ่งที่ตองพึงระวังไวคือภัยจาก
แผนดินไหวและฝุนควันที่ฟุงกระจาย เชน ภูเขาไฟละแวกใกลเคียงที่ตองจับตามอง อาทิ ภูเขาไฟกรากะตัว
ประเทศอินโดนีเซีย ที่เคยระเบิดเมื่อ 20 พฤษภาคม พ.ศ.2426 ซึ่งครั้งนั้นประเทศไทยไดรับผลกระทบจาก
เถาถานภูเขาไฟที่ปะทุออกมาดวยเชนกัน                                                                            22/04/53
                                                  /////////////////////////////////////////

     ศูนยสื่อสารวิทยาศาสตรไทย สวทช. โทรศัพท 0-2564-7000 ตอ 1461,1462 e-mail : thaismc@nstda.or.th

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (18)

Eclipse
EclipseEclipse
Eclipse
 
Computerandcard
ComputerandcardComputerandcard
Computerandcard
 
Inflections disease
Inflections diseaseInflections disease
Inflections disease
 
disease on the rain
disease on the raindisease on the rain
disease on the rain
 
20100607 s e-news7-82
20100607 s e-news7-8220100607 s e-news7-82
20100607 s e-news7-82
 
cat diseases
cat diseasescat diseases
cat diseases
 
Geminids news-53-pic
Geminids news-53-picGeminids news-53-pic
Geminids news-53-pic
 
2009yearofastronomy
2009yearofastronomy2009yearofastronomy
2009yearofastronomy
 
20100607 s e-news7-82
20100607 s e-news7-8220100607 s e-news7-82
20100607 s e-news7-82
 
Climate Variability
Climate VariabilityClimate Variability
Climate Variability
 
20101119 fs-kratong53
20101119 fs-kratong5320101119 fs-kratong53
20101119 fs-kratong53
 
heat diseabses
heat diseabsesheat diseabses
heat diseabses
 
Monster
MonsterMonster
Monster
 
Global warming
Global warmingGlobal warming
Global warming
 
CPMO/NSTDA e-News Feb 53
CPMO/NSTDA e-News Feb 53CPMO/NSTDA e-News Feb 53
CPMO/NSTDA e-News Feb 53
 
Sarawit eMagazine 17/2557
Sarawit eMagazine 17/2557Sarawit eMagazine 17/2557
Sarawit eMagazine 17/2557
 
Saravit eMagazine 4/2556
Saravit eMagazine 4/2556Saravit eMagazine 4/2556
Saravit eMagazine 4/2556
 
Saravit eMagazine 1/2556
Saravit eMagazine 1/2556Saravit eMagazine 1/2556
Saravit eMagazine 1/2556
 

More from NSTDA THAILAND

More from NSTDA THAILAND (20)

20111006 news-ssh-oct-2011
20111006 news-ssh-oct-201120111006 news-ssh-oct-2011
20111006 news-ssh-oct-2011
 
20111005 cpm-e-news
20111005 cpm-e-news20111005 cpm-e-news
20111005 cpm-e-news
 
20111005 e-news-ssh-v2-no74
20111005 e-news-ssh-v2-no7420111005 e-news-ssh-v2-no74
20111005 e-news-ssh-v2-no74
 
20111005 e-news-ssh-v2-no73
20111005 e-news-ssh-v2-no7320111005 e-news-ssh-v2-no73
20111005 e-news-ssh-v2-no73
 
20111005 e-news-ssh-v2-no72
20111005 e-news-ssh-v2-no7220111005 e-news-ssh-v2-no72
20111005 e-news-ssh-v2-no72
 
20110420 nanotechnology-news
20110420 nanotechnology-news20110420 nanotechnology-news
20110420 nanotechnology-news
 
20110604 nstda.news
20110604 nstda.news20110604 nstda.news
20110604 nstda.news
 
20110209 circum-zenithal-arc
20110209 circum-zenithal-arc20110209 circum-zenithal-arc
20110209 circum-zenithal-arc
 
Nstda annual2007
Nstda annual2007Nstda annual2007
Nstda annual2007
 
20101224 wild-animal
20101224 wild-animal20101224 wild-animal
20101224 wild-animal
 
20101224 siamensis
20101224 siamensis20101224 siamensis
20101224 siamensis
 
20101116 e-news-ssh
20101116 e-news-ssh20101116 e-news-ssh
20101116 e-news-ssh
 
20101115 nano-news
20101115 nano-news20101115 nano-news
20101115 nano-news
 
20101115 1-biotec-newsletter
20101115 1-biotec-newsletter20101115 1-biotec-newsletter
20101115 1-biotec-newsletter
 
20101118 most-news
20101118 most-news20101118 most-news
20101118 most-news
 
20101118 nano-news
20101118 nano-news20101118 nano-news
20101118 nano-news
 
15112010 fireworks
15112010 fireworks15112010 fireworks
15112010 fireworks
 
20101104 ssh-news
20101104 ssh-news20101104 ssh-news
20101104 ssh-news
 
20101029 nonatec-training-pr
20101029 nonatec-training-pr20101029 nonatec-training-pr
20101029 nonatec-training-pr
 
Nstda annual 2009
Nstda annual 2009Nstda annual 2009
Nstda annual 2009
 

20100422 volcano-iceland-1

  • 1. ธารน้ําแข็งหนาปากปลอง เหตุภูเขาไฟไอซแลนดระเบิดรุนแรง ศูนยสื่อสารวิทยาศาสตรไทย สวทช. จากเหตุการณภูเขาไฟระเบิดในประเทศไอซแลนด ที่ไดกอใหเกิดเถาภูเขาไฟฟุงกระจายเปนบริเวณ กวางในแถบยุโรปตะวันตก สรางความเสียหายทางเศรษฐกิจและธุรกิจการบินอยางมากในชวงที่ผานมานั้น ในสวนของนักวิชาการไทย รศ.ดร.ปญญา จารุศิริ หัวหนาหนวยวิจัยธรณีวิทยาแผนดินไหวและธรณี แปรสัณฐาน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องนี้วา ตามหลักทฤษฎีทาง ธรณีวิทยา โดยเฉพาะการแปรสัณฐานเปลือกโลกแลวภูเขาไฟในบริเวณไอซแลนดไมควรระเบิดรุนแรงขนาดนี้ แตวาในกรณีนี้เปนภูเขาไฟใตธารน้ําแข็ง คือมีชั้นน้ําแข็งหนาปดทับอยูดานบน ทําใหเกิดการสะสมของ พลังงานมาก จึงเกิดการระเบิดอยางรุนแรง “ภูเขาไฟแบงไดงายๆ 2 แบบ คือ 1.ภูเขาไฟที่ระเบิดรุนแรง เชน ภูเขาไฟกรากะตัว ประเทศ อินโดนีเซีย ภูเขาไฟเซนทเฮเลน ในอเมริกา ซึ่งเปนภูเขาไฟที่เกิดจากแผนเปลือกโลกเคลื่อนที่มาชนกันหรือ มุดเขาหากัน และ 2.ภูเขาไฟที่ระเบิดไมรุนแรง เชน ภูเขาไฟไอซแลนด เพราะเปนภูเขาไฟที่เกิดใน บริเวณที่แผนเปลือกโลกแยกตัวออกจากกัน หรือเกิดจากการปะทุขึ้นมาของจุดรอน (hot spot) ใตโลก เชน ภูเขาไฟฮาวาย แตสําหรับการระเบิดของภูเขาไฟในประเทศไอซแลนดครั้งนี้ ถือเปนกรณีพิเศษ คือ เปนภูเขา ไฟที่อยูใตธารน้ําแข็งไอยยาฟยัลลาโยกูลมีชั้นน้ําแข็งที่หนามากมาปดทับปลองดานบนอยู จึงทําใหเกิดการ สะสมพลังงานความรอนและแรงดันจํานวนมหาศาลอยูภายใน กระทั่งวันหนึ่งเมื่อพลังงานที่สะสมใตโลกมีมาก จนเกินรับไหว จึงเกิดแรงดันจนน้ําแข็งที่ปดทับอยูถูกดันใหแตกออกจนเกิดการระเบิดอยางรุนแรง เถาถาน รอนที่อยูในหินละลายลาวาก็ฟุงกระจายไปทั่ว นอกจากนี้แรงดันและพลังงานความรอนที่ปะทุออกมายังมีผล ทําใหน้ําแข็งบริเวณรอยแยกกลางเกาะไอซแลนดละลายอยางรุนแรงและรวดเร็ว ซึ่งเมื่อน้ําแข็งและน้ําเย็น ไหลมาผสมกับหินละลาย ก็กอใหเกิดเถาภูเขาไฟจํานวนมาก โดยเถาภูเขาไฟขนาดใหญจะฟุงกระจายไมนาน และตกลงในมหาสมุทร ขณะที่เถาภูเขาไฟขนาดเล็กจะฟุงและเคลื่อนตัวไปไดไกลมาก อยางไรก็ดีการระเบิด ของภูเขาไฟในไอซแลนดครั้งนี้ดวยอิทธิพลของลมที่เคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออกทําใหเถาภูเขาไฟถูกพัดฟุง กระจายไปทางทิศตะวันออกเปนสวนใหญ เปนเหตุใหหลายประเทศในแถบยุโรปตะวันตกไดรับผลกระทบ ค อ นข า งมาก โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ธุ ร กิ จ การบิ น เพราะเถ า เหล านี้ ไ ม เ พี ย งทํ า ลายทั ศ นวิ สั ย แตยั ง มีผ ลให เครื่องจักรตางๆ ในเครื่องบินเสียหายดวย” ดร.ปญญา กลาววา ทุกวันนี้นักธรณีวิทยาบอกไดเพียงวามีภูเขาไฟที่ยังปะทุอยูที่บริเวณใดบาง แต ยังไมมีเทคโนโลยีใดที่จะสามารถทํานายอยางถูกตองแมนยําวาภูเขาไฟจะระเบิดเมื่อใด สวนภูเขาไฟใน ประเทศไทยเปนชนิดที่ดับสนิทตั้งแตเมื่อหาแสนปที่แลว จึงไมตองกังวลใจ แตสิ่งที่ตองพึงระวังไวคือภัยจาก แผนดินไหวและฝุนควันที่ฟุงกระจาย เชน ภูเขาไฟละแวกใกลเคียงที่ตองจับตามอง อาทิ ภูเขาไฟกรากะตัว ประเทศอินโดนีเซีย ที่เคยระเบิดเมื่อ 20 พฤษภาคม พ.ศ.2426 ซึ่งครั้งนั้นประเทศไทยไดรับผลกระทบจาก เถาถานภูเขาไฟที่ปะทุออกมาดวยเชนกัน 22/04/53 ///////////////////////////////////////// ศูนยสื่อสารวิทยาศาสตรไทย สวทช. โทรศัพท 0-2564-7000 ตอ 1461,1462 e-mail : thaismc@nstda.or.th