SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
วศร.4 ดูงานที่ประเทศญี่ปุ่น ในปี 2557 ออกจะแปลกที่การ
ประสานงานดูเหมือนจะยุ่งยากทวีขึ้นกว่าเดิม อีกทั้งพิธีรีตองก็ดูจะเป็น
ทางการจนทาให้ คนที่คุ้นเคยกับการทาอะไรสบายๆ เกิดความรู้สึกอึดอัด
อย่างเช่นการดูงานที่ JR East Tokyo Rolling Stock Center และศูนย์
ฝึกอบรม JR East Omiya Training Center ซึ่งมีเจ้าหน้าที่จากกระทรวง
MLIT และผู้จัดการฝ่ายต่างประเทศของ JR East ตามประกบไปด้วย 5 คน
ตอนนั่งฟังบรรยายเกี่ยวกับ Tokyo Metro ก็มีเจ้าหน้าที่จาก MLIT ไปนั่งฟัง
และจดบันทึกทุกคาถามที่ วศร.4 ถามหลังการบรรยาย
วันที่ 22 ส.ค. 57 ไปทัศนศึกษายัง Maglev and Rolling Stock
Center ของ JR Central ณ เมืองนาโกยา ซึ่งนอกจากต้องการให้ วศร. ได้มี
โอกาสนั่งรถไฟความเร็วสูง เพื่อ “กระตุ้นแรงปรารถนาอันสูงส่ง” (Inspiring
the ambitious mind) แล้ว ก็ยังหวังว่าจะจุดประกายความคิดที่บรรเจิดใน
การสร้าง “Info graphic” เพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีระบบรางด้วย
ญี่ปุ่นกาลังสร้างรถไฟ “Maglev” โดยคาดว่าจะเปิดการเดินรถใน
ปี 2570 ในพิพิธภัณฑ์จึงประชาสัมพันธ์เรื่อง Maglev อย่างเต็มรูปแบบ โดย
อาศัยความเป็นญี่ปุ่น คือ ทาเรื่อง “ยาก” ให้กลายเป็นเรื่อง “ง่าย” สร้าง
แบบจาลองต่างๆ ให้เด็กๆได้มาทดลองเล่น ทดลองใช้ เพื่อสร้างสรรค์การ
เรียนรู้แต่เยาว์วัย
เห็นเด็กญี่ปุ่นที่มาทัศนศึกษายังพิพิธภัณฑ์แล้วก็คิดถึงเด็กไทย
อุปมาอุปมัยไปว่าเสมือนเกิดมาเป็นลูกคนรวย พ่อแม่ก็มีเงินทองจะส่งเสริม
ให้มีความสามารถและโอกาสมากกว่าลูกคนจน ญี่ปุ่นใช้เทคโนโลยีสร้าง
เศรษฐกิจจนร่ารวย แล้วใช้ความร่ารวยมาสร้างโอกาสและความสามารถของ
คนรุ่นต่อไปให้สูงส่งยิ่งๆขึ้น
ห้องประวัติศาสตร์รถไฟในพิพิธภัณฑ์เขาบันทึกไว้ว่า ญี่ปุ่น
ประกาศอิสรภาพด้านเทคโนโลยีรถไฟในปี 1890 หลังจากมีรถไฟเกิดขึ้นใน
ประเทศ 18 ปี ที่ประเทศไทยซึ่งกิจการรถไฟดาเนินมาแล้วกว่า 117 ปี
ผู้ใหญ่ในประเทศนี้ยังก้าวไม่พ้นว่าจะเปลี่ยนทางกว้าง 1 เมตร เป็น 1.435
เมตร ดีหรือไม่ เปลี่ยนรัฐบาลครั้งใด ผู้ใหญ่กลุ่มนี้ก็ออกมาแสดงภูมิปัญญา
เสมอ อย่างนี้แล้วเมื่อใดเด็กไทยจึงจะเรียนทันเขา
ไปดูเด็กญี่ปุ่นเขาแข่ง “เคนโดะ” ที่ Nippon Budokan แล้วก็ได้
แต่ราพึงว่า “Aram boy” คงจะมีก็แค่หัวใจที่ใฝ่หาและจิตใจที่ไม่ท้อถอย
กระมังที่พอจะต่อกรกับเขาได้
EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 444 ประจาเดือนกันยายน 2557ประจาเดือนกันยายน 2557ประจาเดือนกันยายน 2557
โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
Page | 1
บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :
Nippon Budokan V.S. Aramboy!
ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :
19 ก.ย. 57 เวลา 13.00 - 17.00 น. งานสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง Future
Railway Communication Technology จัดโดย บริษัท Huawei
Technologies (Thailand) จากัด ร่วมกับ สมาคมวิศวกรรมระบบขนส่งทางราง
ไทย และ สวทช. (โครงการจัดตั้งสถาบันฯ) ณ โรงแรม แกรนด์ เมอร์เคียว ฟอร์
จูน ตั้งแต่เวลา 13.00-17.00 น. ท่านที่สนใจติดต่อสอบถามและลงทะเบียนโดย
ไม่เสียค่าใช้จ่ายได้ที่ rail@nstda.or.th
16 ก.ย. 57 เวลา 13.30 น. อาคาร สวทช. (โยธี) ประชุมคณะกรรมการ
พิจารณาข้อเสนอโครงการส่งเสริมการศึกษาและวิจัยร่วมระบบขนส่งทางราง
ปีที่ 2 (โครงการสหกิจศึกษา 2) โครงการนี้บริหารงานโดย รศ.ดร. ภูมินทร์
กิระวานิช วศร.2 ในนามมหาวิทยาลัยมหิดล
4 ต.ค. 57 ที่ มจธ. วศร.2 ร่วมกับโครงการจัดตั้งสถาบันฯ และมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) จัดบรรยายพิเศษให้กับเครือข่าย เรื่อง
“Multitrain Simulator” โดย รศ.ดร.ธนัตชัย กุลวรวานิชพงษ์ ผู้เชี่ยวชาญ
ทางด้านระบบไฟฟ้าและพลังงาน
8 ต.ค. 57 เวลา 9.00-12.00 น. Dr.Yutaka SATO, RTRI เยี่ยมชมกิจกรรมของ
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเวลา 13.00-16.00 น.
เยี่ยมชมกิจการของ บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จากัด (มหาชน) หรือ
BTS
กองบรรณาธิการ
V.S.
7 ต.ค. 57 ที่ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จังหวัดปทุมธานี Dr.Yutaka
SATO, General Manager, International Affairs, Railway Technical
Research Institute (RTRI) ประเทศญี่ปุ่น พบผู้บริหารระดับสูง สวทช. และ
เยี่ยมชมห้องปฎิบัติการศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
(NECTEC) และศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC)
10 ต.ค. 57 หลักสูตรอบรมรถไฟความเร็วสูง รุ่นที่ 5 ตามโครงการความร่วมมือ
ระหว่างกระทรวงคมนาคมของประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีน กาหนด
เริ่มการฝึกอบรมที่ประเทศจีนเป็นเวลา 20 วัน
Tokyo Metro Co., Ltd. เป็นบริษัทผู้ให้บริการรถไฟโดยสารชั้นนาของญี่ปุ่น
ดูแลรถไฟฟ้าในเมืองถึง 9 สาย เป็นระยะทางรวม 195.1 ก.ม. ผ่านศูนย์กลางมหานคร
โตเกียว ซึ่งในจานวนนี้มีทางรถไฟถึง 7 สาย ที่ Tokyo Metro ทาการให้บริการโดยเดิน
รถเชื่อมต่อโดยตรงกับทางของผู้ให้บริการรายอื่น แนวรางของ Tokyo Metro ซึ่งมี
เพียง 195.1 ก.ม. แต่เมื่อรวมกับรางร่วมอื่นๆ จะทาให้โครงข่ายระบบรางที่ Tokyo
Metro สามารถให้บริการ เป็นระยะทางรวมทั้งสิ้นถึง 532.6 ก.ม. บนพื้นที่รัศมีกว่า 40
ก.ม.ใจกลางกรุงโตเกียว รวมแล้วสามารถขนส่งผู้โดยสารวันละมากกว่า 6.44 ล้านคน
การให้บริการเดินรถเชื่อมต่อนั้นมีประโยชน์หลายประการ กล่าวคือ สามารถ
เพิ่มความสะดวกในการเดินทางและลดระยะเวลาในการรอและเปลี่ยนย้ายขบวนรถ
ของผู้โดยสารลงอย่างมาก อันจะสามารถหลีกเลี่ยง หรือลดปัญหาความแออัดของ
ผู้โดยสารในช่วงเวลาเร่งด่วนที่สถานีร่วมซึ่งเชื่อมต่อระหว่างสายการเดินรถได้อีกด้วย
นอกจากนั้นยังนับเป็นการแบ่งปันทรัพยากรที่มีอยู่ร่วมกันมาใช้ได้อย่างเป็นประโยชน์
สูงสุด การให้บริการเดินรถเชื่อมต่อของ Tokyo Metro นั้น แสดงให้เห็นถึงการ
ออกแบบระบบขนส่งมวลชนในญี่ปุ่นที่ให้ความสาคัญสูงสุดกับความสะดวกของ
ผู้โดยสาร แต่แบกรับความยุ่งยากจากการออกแบบและบริหารจัดไว้เอง ซึ่งเป็นปรัชญา
อันผู้ดาเนินการให้บริการระบบขนส่งควรยึดถือไว้อย่าง จริงจัง และหนักแน่น การ
กาหนดรูปแบบและข้อตกลงร่วมในส่วนของ การดาเนินการ การลงทุน และการเก็บ
รายได้จากค่าโดยสารนั้นมีความจาเป็น ทั้งนี้ก็เพื่อลดปัญหาความขัดแย้งและการทับ
ซ้อนต่างๆอันอาจเกิดขึ้นให้มากที่สุด โดย Tokyo Metro และ Partners มีหลักการ
พื้นฐานในการใช้ทางร่วมดังนี้
โดย ดร.วัชระ สัตยาประเสริฐ วศร.4
ปกิณกะระบบราง :ปกิณกะระบบราง :ปกิณกะระบบราง :
 รถไฟฟ้าแต่ละรายสามารถวิ่งเข้าไปในระบบรางของผู้ให้บริการเดินรถรายอื่นได้ โดย
เก็บค่าโดยสารในส่วนของผู้ให้บริการแต่ละรายรวมกับค่าโดยสารในส่วนเชื่อมต่อ
 ผู้ให้บริการเดินรถไฟฟ้าแต่ละรายจะรับผิดชอบการซ่อมบารุงรางและโครงสร้าง
พื้นฐานอื่นๆ รวมถึงบริหารจัดการพื้นที่ของตัวเองเป็นหลัก
 พนักงานประจารถรวมถึงคนขับรถของผู้ให้บริการแต่ละรายจะทาการเดินรถประจา
เส้นทางภายในระบบรางของตนเองเท่านั้น หากข้ามระบบไปจะต้องเปลี่ยนให้
พนักงานเจ้าของพื้นที่เป็นผู้ดาเนินการต่อไป
 ค่าใช้ทางเมื่อเข้าไปใช้ทางวิ่งของผู้ให้บริการอื่น จะพยายามแบ่งส่วนเท่าๆกัน โดย
พยามยามจัดให้ปริมาณรถไฟที่วิ่งข้ามเขตทางวิ่งไปยังผู้ให้บริการรายอื่นๆเป็น
จานวนขบวนเท่าๆกันหรือใกล้เคียงกันมากที่สุด เพื่อลดความได้เปรียบเสียเปรียบ
จะเห็นได้ว่าการให้บริการร่วมในลักษณะนี้นั้นควรเกิดขึ้นได้
ในประเทศไทย โดยผู้ให้บริการแต่ละรายรวมถึงภาครัฐผู้กากับดูแล ควร
ร่วมกันพิจารณาในการดาเนินการ ผลประโยชน์ และข้อตกลงที่เป็น
ธรรม โดยคานึงถึงผลประโยชน์สูงสุดและยั่งยืนที่ผู้โดยสารสมควรจะ
ได้รับ เนื่องจากความเป็นจริงโดยพื้นฐานแล้วระบบขนส่งนั้นถูกสร้าง
ขึ้นมาเพื่อผู้โดยสาร
อีกประเด็นที่น่าสนใจคือ Tokyo Metro นั้น มีระบบราง
เพียง 2 สายที่เริ่มต้นเปิดดาเนินการก่อนสายอื่นๆ คือ Ginza Line และ
Muranouchi Line เท่านั้น ที่ใช้ standard gauge แต่เมื่อมีการสร้าง
รถไฟใต้ดินเพิ่มเติม 7 สายล่าสุด ระบบรางของ Tokyo Metro ก็มีการ
ปรับมาใช้ narrow gauge (1,067mm) เพื่อการเดินรถเชื่อมต่อ
(Through service operation) กับทางของรถไฟ ในเมือง ชานเมือง
และทางไกลสาย ของผู้ให้บริการรายอื่น ที่มีมาก่อนหน้าแล้ว ซึ่งเป็น
narrow gauge เกือบทั้งหมด แสดงให้เห็นถึงเหตุผลหลักในการเลือกใช้
ขนาด gauge ในญี่ปุ่นที่ยึดหลัก "ปัจจัยความเหมาะสมในการลงทุนและ
การใช้งาน" เป็นหลัก
EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 444 ประจาเดือนกันยายน 2557ประจาเดือนกันยายน 2557ประจาเดือนกันยายน 2557
โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
บทเรียนจาก Tokyo Metro; การเดินรถเชื่อมต่อ ......ผู้โดยสาร รางร่วม
และ Track Gauge
Page | 2
นายนคร จันทศร เข้าพบ คสช.
8 ส.ค. 57 เวลา 9.00-12.00 น.
นาย นคร จันทศร รักษาการผู้อานวย
โครงการจัดตั้งสถาบันฯร่วมกับ
คณะสมาชิกชมรมวิศวฯจุฬาฯร่วม
ปฏิรูปประเทศไทย (วศ.รปปท.) ชี้แจง
เรื่องแนวทางการปฏิรูประบบรถไฟ
ของไทยต่อคณะนายทหารจากคณะ
รักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ที่
ห้องประชุมกระทรวงกลาโหม
วศร.4 เดินทางดูงานระบบขนส่งทางรางของญี่ปุ่น
18 - 22 ส.ค. 57 ผู้เข้าอบรมหลักสูตรวิศวกรรมระบบขนส่ง
ทางราง รุ่นที่ 4 (วศร.4) เดินทางทัศนศึกษาดูงานระบบ
ขนส่งทางราง ณ ประเทศญี่ปุ่น ตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตร
อบรม วศร. ในภาพเป็นการทัศนศึกษาที่ Maglev and
Rolling Stock Center เมือง นาโกย่า
กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :
เยี่ยมชมงานการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีน้าเงิน
26 ส.ค. 57 กิจกรรม 1 เดือน 1 กิจกรรม จัดดูงานการ
ก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีน้าเงินส่วนต่อขยาย ช่วงอุโมงค์ลอด
ใต้แม่น้าเจ้าพระยาที่สถานีอิสรภาพ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ
รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล หรือรถไฟฟ้ามหานคร
สายสีน้าเงิน โครงการก่อสร้างดาเนินการโดย บริษัท ช.การ
ช่าง จากัด (มหาชน)
ประชุมแนวทางการปฏิรูประบบรถไฟ
26 ส.ค. 57 นาย นคร จันทศร รักษาการผู้อานวยโครงการ
จัดตั้งสถาบันฯ ร่วมกับคณะสมาชิกชมรมวิศวฯจุฬาฯร่วม
ปฏิรูปประเทศไทย (วศ.รปปท.) ชี้แจงเรื่องแนวทางการ
ปฏิรูประบบรถไฟของไทยที่สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศ
ไทย โดย นายภานุมาศ ศรีสุข กรรมการรถไฟเข้าร่วมรับ
ฟังด้วย ในฐานะกรรมการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
สัมมนารถไฟฟ้าความเร็วสูง
27 ส.ค. 57 นายชาญชัย สุวิสุทธะกุล รองปลัดกระทรวงคมนาคม
ด้านอานวยการเป็นประธานเปิดการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง“การ
พัฒนารถไฟทางคู่ขนาดทางมาตรฐาน(StandardGauge)ความเร็ว
180 กิโลเมตรต่อชั่วโมง สาหรับรองรับระบบรถไฟความเร็วสูงใน
อนาคต”ณสานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร(สนข.)
งานประชุมวิชาการระบบขนส่งทางรางของประเทศไทย
ประจาปี 2557 (Thailand Rail
Academy Symposium 2014)
28 - 29 ส.ค. 57 สานักงาน
คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
แห่งชาติ (สวทน.) โดย สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง
(THAIST) ร่วมกับ เครือข่ายพัฒนากาลังคนและความเชี่ยวชาญ
เทคโนโลยีด้านระบบขนส่งทางรางของประเทศ 19 หน่วยงาน จัด
งานประชุมวิชาการหัวข้อ “การพัฒนาระบบขนส่งทางรางกับการ
ปฏิรูปประเทศ (Rail Development for National Reform) ณ
โรงแรมสวิสโฮเต็ล เลอ คองคอร์ด
ประชุมร่วมจีน (STEP)
28 ส.ค. 57 เวลา 14.00 –
1 6 . 0 0 น . ก า ร ป ร ะ ชุ ม
คณะทางานภายใต้โครงการ
Thailand-China joint re-
search center on high-
speed railway in Thailand
ซึ่งเป็นแผนงานความร่วมมือ
ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม ระหว่าง
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของไทย และ สาธารณรัฐ
ประชาชนจีน ภายใต้กรอบ Science and Technology Part-
nership Program (STEP)
ประชุมคณะทางานภายใต้ความร่วมมือ ไทย จีน
29 ส.ค. 57 เวลา 9.30 น. ประชุมคณะทางาน Thailand-China
joint research center on high-speed rail ซึ่งเป็นหนึ่งใน
โครงการความร่วมมือภายใต้กรอบ STEP ระหว่าง
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของไทย และ สาธารณรัฐ
ประชาชนจีน
วศร.4 นาเสนอรายงานกลุ่ม และ รายงานดูงานที่ประเทศญี่ปุ่น
30 - 31 ส.ค. 57 วศร.4 นาเสนอ
รายงานกลุ่มและการดูงานที่ประเทศ
ญี่ปุ่น ณ เซนทารา โฮเตล แอนด์
รีสอร์ท พัทยา จังหวัดชลบุรี
Page | 3
EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 444 ประจาเดือนกันยายน 2557ประจาเดือนกันยายน 2557ประจาเดือนกันยายน 2557
โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
ศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์
ที่ปรึกษาอาวุโสผู้อานวยการสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และเป็นผู้อานวยการคนแรกของ สวทช.
(ปี2535-2541)และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ในคณะรัฐมนตรีของ พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และปัจจุบัน
ได้รับพระบรมราชโองการแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งเป็นรองนายกรัฐมนตรี
ในรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา
สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :
ที่ปรึกษา : ดร.ชาตรี ศรีไพพรรณ คุณนคร จันทศร คุณนัยรัตน์ อมาตยกุล คุณสุนันท์ ตั้งมโนโสภา คุณวัฒนา สมานจิตร คุณชยากร ปิยะบัณฑิตกุล คุณสมฤทธิ์ พุทธันบุตร
กองบรรณาธิการ : คุณกุลเชษฐ์ กอพัฒนาชัยเจริญ คุณสฤษฏ์โรจ จันทร์เพิ่มพูนผล คุณทปกร เหมือนเตย คุณทศวัชร์ ชีวะธนาเลิศกุล
ผู้ดาเนินการ : โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
ติดต่อสอบถาม : โทร. 02-644-8150 ต่อ 81860 81861 81879 81880 อีเมล์ rail@nstda.or.th
ขอแสดงความยินดีกับคุณชยากร ปิยะบัณฑิตกุล วศร.1 ในโอกาสสาเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก จาก The Sirindhorn
International Thai-German Graduate School of Engineering (TGGS)
กาหนดออกทุก วันที่ 15 ของทุกเดือน ขอเชิญชวนร่วมส่งบทความ หรือ ข่าวสารเพื่อการประชาสัมพันธ์
เกี่ยวกับระบบขนส่งทางราง ได้ที่อีเมล์ rail@nstda.or.th
หารือความร่วมมือกับที่ปรึกษาสถานเอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจาประเทศไทย
12 ก.ย. 57 นาย นคร จันทศร นายกสมาคมวิชาการ
เทคนิคไทย ฝรั่งเศส นัดอาหารกลางวันเพื่อสร้าง
ความคุ้นเคยและหารือแนวทางความร่วมมือกับ นาย ซีริล
บาเทรโอ ที่ปรึกษาฝ่ายการพาณิชย์ สาธารณูปโภค
คมนาคมและอุตสาหกรรมประเทศไทยและพม่า สถาน
เอกอัคราชฑูตฝรั่งเศสประจาประเทศไทย ในโอกาส
เดินทางมาประจาในประเทศไทย
ประชุมแนวทางการปฏิรูประบบรางของไทยที่หอการค้าไทย
10 ก.ย. 57 นาย นคร จันทศร
รักษาการผู้อานวยโครงการจัดตั้ง
สถาบันฯ ร่วมกับคณะสมาชิก
ชมรมวิศวฯจุฬาฯร่วมปฏิรูป
ประเทศไทย (วศ.รปปท.) ชี้แจง
เรื่องแนวทางการปฏิรูประบบรถไฟของไทยที่หอการค้าไทย
โดยมีหน่วยราชการที่เข้าร่วมรับฟังการชี้แจงด้วย คือ สานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ(สศช.) และ
สานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.)
กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :
Page | 4
EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 444 ประจาเดือนกันยายน 2557ประจาเดือนกันยายน 2557ประจาเดือนกันยายน 2557
โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
พิธีมอบประกาศนียบัตร ปิดอบรมหลักสูตร วศร.4
3 ก.ย. 57 เวลา 9.00-12.00 น. การบรรยายพิเศษเรื่อง
การบริหารการเปลี่ยนแปลง โดยคุณสมภพ อมาตยกุลและ
พิธีปิดอบรมหลักสูตร วศร.4 โดย ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล
ผู้อานวยการ สวทช. ดร.ญาดา มุกดาพิทักษ์ รอง
เลขาธิการ รักษาการแทนเลขาธิการ สวทน. เป็นผู้มอบ
ประกาศนียบัตรและทาพิธีปิดการฝึกอบรม
ประชุมโครงการ TAIST-Tokyo Tech
1 ก.ย. 57 เวลา 13.00 น. ประชุมคณะกรรมการโครงการ
TAIST-Tokyo Tech ซึ่งมีการพิจารณา
โครงการศึกษาในระดับปริญญาโทด้าน
ระบบรางเป็นโครงการเพิ่มเติมจาก
โครงการความร่วมมือเดิม 3 โครงการ
ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์
เลขาธิการสานักงานคณะกรรมการนโยบาย
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ
ได้รับพระบรมราชโองการแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งเป็น
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ในรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา

More Related Content

More from National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand

More from National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
 
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
 

Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 4

  • 1. วศร.4 ดูงานที่ประเทศญี่ปุ่น ในปี 2557 ออกจะแปลกที่การ ประสานงานดูเหมือนจะยุ่งยากทวีขึ้นกว่าเดิม อีกทั้งพิธีรีตองก็ดูจะเป็น ทางการจนทาให้ คนที่คุ้นเคยกับการทาอะไรสบายๆ เกิดความรู้สึกอึดอัด อย่างเช่นการดูงานที่ JR East Tokyo Rolling Stock Center และศูนย์ ฝึกอบรม JR East Omiya Training Center ซึ่งมีเจ้าหน้าที่จากกระทรวง MLIT และผู้จัดการฝ่ายต่างประเทศของ JR East ตามประกบไปด้วย 5 คน ตอนนั่งฟังบรรยายเกี่ยวกับ Tokyo Metro ก็มีเจ้าหน้าที่จาก MLIT ไปนั่งฟัง และจดบันทึกทุกคาถามที่ วศร.4 ถามหลังการบรรยาย วันที่ 22 ส.ค. 57 ไปทัศนศึกษายัง Maglev and Rolling Stock Center ของ JR Central ณ เมืองนาโกยา ซึ่งนอกจากต้องการให้ วศร. ได้มี โอกาสนั่งรถไฟความเร็วสูง เพื่อ “กระตุ้นแรงปรารถนาอันสูงส่ง” (Inspiring the ambitious mind) แล้ว ก็ยังหวังว่าจะจุดประกายความคิดที่บรรเจิดใน การสร้าง “Info graphic” เพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีระบบรางด้วย ญี่ปุ่นกาลังสร้างรถไฟ “Maglev” โดยคาดว่าจะเปิดการเดินรถใน ปี 2570 ในพิพิธภัณฑ์จึงประชาสัมพันธ์เรื่อง Maglev อย่างเต็มรูปแบบ โดย อาศัยความเป็นญี่ปุ่น คือ ทาเรื่อง “ยาก” ให้กลายเป็นเรื่อง “ง่าย” สร้าง แบบจาลองต่างๆ ให้เด็กๆได้มาทดลองเล่น ทดลองใช้ เพื่อสร้างสรรค์การ เรียนรู้แต่เยาว์วัย เห็นเด็กญี่ปุ่นที่มาทัศนศึกษายังพิพิธภัณฑ์แล้วก็คิดถึงเด็กไทย อุปมาอุปมัยไปว่าเสมือนเกิดมาเป็นลูกคนรวย พ่อแม่ก็มีเงินทองจะส่งเสริม ให้มีความสามารถและโอกาสมากกว่าลูกคนจน ญี่ปุ่นใช้เทคโนโลยีสร้าง เศรษฐกิจจนร่ารวย แล้วใช้ความร่ารวยมาสร้างโอกาสและความสามารถของ คนรุ่นต่อไปให้สูงส่งยิ่งๆขึ้น ห้องประวัติศาสตร์รถไฟในพิพิธภัณฑ์เขาบันทึกไว้ว่า ญี่ปุ่น ประกาศอิสรภาพด้านเทคโนโลยีรถไฟในปี 1890 หลังจากมีรถไฟเกิดขึ้นใน ประเทศ 18 ปี ที่ประเทศไทยซึ่งกิจการรถไฟดาเนินมาแล้วกว่า 117 ปี ผู้ใหญ่ในประเทศนี้ยังก้าวไม่พ้นว่าจะเปลี่ยนทางกว้าง 1 เมตร เป็น 1.435 เมตร ดีหรือไม่ เปลี่ยนรัฐบาลครั้งใด ผู้ใหญ่กลุ่มนี้ก็ออกมาแสดงภูมิปัญญา เสมอ อย่างนี้แล้วเมื่อใดเด็กไทยจึงจะเรียนทันเขา ไปดูเด็กญี่ปุ่นเขาแข่ง “เคนโดะ” ที่ Nippon Budokan แล้วก็ได้ แต่ราพึงว่า “Aram boy” คงจะมีก็แค่หัวใจที่ใฝ่หาและจิตใจที่ไม่ท้อถอย กระมังที่พอจะต่อกรกับเขาได้ EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 444 ประจาเดือนกันยายน 2557ประจาเดือนกันยายน 2557ประจาเดือนกันยายน 2557 โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency Page | 1 บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ : Nippon Budokan V.S. Aramboy! ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :ปฏิทินราง : 19 ก.ย. 57 เวลา 13.00 - 17.00 น. งานสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง Future Railway Communication Technology จัดโดย บริษัท Huawei Technologies (Thailand) จากัด ร่วมกับ สมาคมวิศวกรรมระบบขนส่งทางราง ไทย และ สวทช. (โครงการจัดตั้งสถาบันฯ) ณ โรงแรม แกรนด์ เมอร์เคียว ฟอร์ จูน ตั้งแต่เวลา 13.00-17.00 น. ท่านที่สนใจติดต่อสอบถามและลงทะเบียนโดย ไม่เสียค่าใช้จ่ายได้ที่ rail@nstda.or.th 16 ก.ย. 57 เวลา 13.30 น. อาคาร สวทช. (โยธี) ประชุมคณะกรรมการ พิจารณาข้อเสนอโครงการส่งเสริมการศึกษาและวิจัยร่วมระบบขนส่งทางราง ปีที่ 2 (โครงการสหกิจศึกษา 2) โครงการนี้บริหารงานโดย รศ.ดร. ภูมินทร์ กิระวานิช วศร.2 ในนามมหาวิทยาลัยมหิดล 4 ต.ค. 57 ที่ มจธ. วศร.2 ร่วมกับโครงการจัดตั้งสถาบันฯ และมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) จัดบรรยายพิเศษให้กับเครือข่าย เรื่อง “Multitrain Simulator” โดย รศ.ดร.ธนัตชัย กุลวรวานิชพงษ์ ผู้เชี่ยวชาญ ทางด้านระบบไฟฟ้าและพลังงาน 8 ต.ค. 57 เวลา 9.00-12.00 น. Dr.Yutaka SATO, RTRI เยี่ยมชมกิจกรรมของ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเวลา 13.00-16.00 น. เยี่ยมชมกิจการของ บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จากัด (มหาชน) หรือ BTS กองบรรณาธิการ V.S. 7 ต.ค. 57 ที่ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จังหวัดปทุมธานี Dr.Yutaka SATO, General Manager, International Affairs, Railway Technical Research Institute (RTRI) ประเทศญี่ปุ่น พบผู้บริหารระดับสูง สวทช. และ เยี่ยมชมห้องปฎิบัติการศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) และศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC) 10 ต.ค. 57 หลักสูตรอบรมรถไฟความเร็วสูง รุ่นที่ 5 ตามโครงการความร่วมมือ ระหว่างกระทรวงคมนาคมของประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีน กาหนด เริ่มการฝึกอบรมที่ประเทศจีนเป็นเวลา 20 วัน
  • 2. Tokyo Metro Co., Ltd. เป็นบริษัทผู้ให้บริการรถไฟโดยสารชั้นนาของญี่ปุ่น ดูแลรถไฟฟ้าในเมืองถึง 9 สาย เป็นระยะทางรวม 195.1 ก.ม. ผ่านศูนย์กลางมหานคร โตเกียว ซึ่งในจานวนนี้มีทางรถไฟถึง 7 สาย ที่ Tokyo Metro ทาการให้บริการโดยเดิน รถเชื่อมต่อโดยตรงกับทางของผู้ให้บริการรายอื่น แนวรางของ Tokyo Metro ซึ่งมี เพียง 195.1 ก.ม. แต่เมื่อรวมกับรางร่วมอื่นๆ จะทาให้โครงข่ายระบบรางที่ Tokyo Metro สามารถให้บริการ เป็นระยะทางรวมทั้งสิ้นถึง 532.6 ก.ม. บนพื้นที่รัศมีกว่า 40 ก.ม.ใจกลางกรุงโตเกียว รวมแล้วสามารถขนส่งผู้โดยสารวันละมากกว่า 6.44 ล้านคน การให้บริการเดินรถเชื่อมต่อนั้นมีประโยชน์หลายประการ กล่าวคือ สามารถ เพิ่มความสะดวกในการเดินทางและลดระยะเวลาในการรอและเปลี่ยนย้ายขบวนรถ ของผู้โดยสารลงอย่างมาก อันจะสามารถหลีกเลี่ยง หรือลดปัญหาความแออัดของ ผู้โดยสารในช่วงเวลาเร่งด่วนที่สถานีร่วมซึ่งเชื่อมต่อระหว่างสายการเดินรถได้อีกด้วย นอกจากนั้นยังนับเป็นการแบ่งปันทรัพยากรที่มีอยู่ร่วมกันมาใช้ได้อย่างเป็นประโยชน์ สูงสุด การให้บริการเดินรถเชื่อมต่อของ Tokyo Metro นั้น แสดงให้เห็นถึงการ ออกแบบระบบขนส่งมวลชนในญี่ปุ่นที่ให้ความสาคัญสูงสุดกับความสะดวกของ ผู้โดยสาร แต่แบกรับความยุ่งยากจากการออกแบบและบริหารจัดไว้เอง ซึ่งเป็นปรัชญา อันผู้ดาเนินการให้บริการระบบขนส่งควรยึดถือไว้อย่าง จริงจัง และหนักแน่น การ กาหนดรูปแบบและข้อตกลงร่วมในส่วนของ การดาเนินการ การลงทุน และการเก็บ รายได้จากค่าโดยสารนั้นมีความจาเป็น ทั้งนี้ก็เพื่อลดปัญหาความขัดแย้งและการทับ ซ้อนต่างๆอันอาจเกิดขึ้นให้มากที่สุด โดย Tokyo Metro และ Partners มีหลักการ พื้นฐานในการใช้ทางร่วมดังนี้ โดย ดร.วัชระ สัตยาประเสริฐ วศร.4 ปกิณกะระบบราง :ปกิณกะระบบราง :ปกิณกะระบบราง :  รถไฟฟ้าแต่ละรายสามารถวิ่งเข้าไปในระบบรางของผู้ให้บริการเดินรถรายอื่นได้ โดย เก็บค่าโดยสารในส่วนของผู้ให้บริการแต่ละรายรวมกับค่าโดยสารในส่วนเชื่อมต่อ  ผู้ให้บริการเดินรถไฟฟ้าแต่ละรายจะรับผิดชอบการซ่อมบารุงรางและโครงสร้าง พื้นฐานอื่นๆ รวมถึงบริหารจัดการพื้นที่ของตัวเองเป็นหลัก  พนักงานประจารถรวมถึงคนขับรถของผู้ให้บริการแต่ละรายจะทาการเดินรถประจา เส้นทางภายในระบบรางของตนเองเท่านั้น หากข้ามระบบไปจะต้องเปลี่ยนให้ พนักงานเจ้าของพื้นที่เป็นผู้ดาเนินการต่อไป  ค่าใช้ทางเมื่อเข้าไปใช้ทางวิ่งของผู้ให้บริการอื่น จะพยายามแบ่งส่วนเท่าๆกัน โดย พยามยามจัดให้ปริมาณรถไฟที่วิ่งข้ามเขตทางวิ่งไปยังผู้ให้บริการรายอื่นๆเป็น จานวนขบวนเท่าๆกันหรือใกล้เคียงกันมากที่สุด เพื่อลดความได้เปรียบเสียเปรียบ จะเห็นได้ว่าการให้บริการร่วมในลักษณะนี้นั้นควรเกิดขึ้นได้ ในประเทศไทย โดยผู้ให้บริการแต่ละรายรวมถึงภาครัฐผู้กากับดูแล ควร ร่วมกันพิจารณาในการดาเนินการ ผลประโยชน์ และข้อตกลงที่เป็น ธรรม โดยคานึงถึงผลประโยชน์สูงสุดและยั่งยืนที่ผู้โดยสารสมควรจะ ได้รับ เนื่องจากความเป็นจริงโดยพื้นฐานแล้วระบบขนส่งนั้นถูกสร้าง ขึ้นมาเพื่อผู้โดยสาร อีกประเด็นที่น่าสนใจคือ Tokyo Metro นั้น มีระบบราง เพียง 2 สายที่เริ่มต้นเปิดดาเนินการก่อนสายอื่นๆ คือ Ginza Line และ Muranouchi Line เท่านั้น ที่ใช้ standard gauge แต่เมื่อมีการสร้าง รถไฟใต้ดินเพิ่มเติม 7 สายล่าสุด ระบบรางของ Tokyo Metro ก็มีการ ปรับมาใช้ narrow gauge (1,067mm) เพื่อการเดินรถเชื่อมต่อ (Through service operation) กับทางของรถไฟ ในเมือง ชานเมือง และทางไกลสาย ของผู้ให้บริการรายอื่น ที่มีมาก่อนหน้าแล้ว ซึ่งเป็น narrow gauge เกือบทั้งหมด แสดงให้เห็นถึงเหตุผลหลักในการเลือกใช้ ขนาด gauge ในญี่ปุ่นที่ยึดหลัก "ปัจจัยความเหมาะสมในการลงทุนและ การใช้งาน" เป็นหลัก EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 444 ประจาเดือนกันยายน 2557ประจาเดือนกันยายน 2557ประจาเดือนกันยายน 2557 โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency บทเรียนจาก Tokyo Metro; การเดินรถเชื่อมต่อ ......ผู้โดยสาร รางร่วม และ Track Gauge Page | 2
  • 3. นายนคร จันทศร เข้าพบ คสช. 8 ส.ค. 57 เวลา 9.00-12.00 น. นาย นคร จันทศร รักษาการผู้อานวย โครงการจัดตั้งสถาบันฯร่วมกับ คณะสมาชิกชมรมวิศวฯจุฬาฯร่วม ปฏิรูปประเทศไทย (วศ.รปปท.) ชี้แจง เรื่องแนวทางการปฏิรูประบบรถไฟ ของไทยต่อคณะนายทหารจากคณะ รักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ที่ ห้องประชุมกระทรวงกลาโหม วศร.4 เดินทางดูงานระบบขนส่งทางรางของญี่ปุ่น 18 - 22 ส.ค. 57 ผู้เข้าอบรมหลักสูตรวิศวกรรมระบบขนส่ง ทางราง รุ่นที่ 4 (วศร.4) เดินทางทัศนศึกษาดูงานระบบ ขนส่งทางราง ณ ประเทศญี่ปุ่น ตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตร อบรม วศร. ในภาพเป็นการทัศนศึกษาที่ Maglev and Rolling Stock Center เมือง นาโกย่า กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : เยี่ยมชมงานการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีน้าเงิน 26 ส.ค. 57 กิจกรรม 1 เดือน 1 กิจกรรม จัดดูงานการ ก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีน้าเงินส่วนต่อขยาย ช่วงอุโมงค์ลอด ใต้แม่น้าเจ้าพระยาที่สถานีอิสรภาพ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล หรือรถไฟฟ้ามหานคร สายสีน้าเงิน โครงการก่อสร้างดาเนินการโดย บริษัท ช.การ ช่าง จากัด (มหาชน) ประชุมแนวทางการปฏิรูประบบรถไฟ 26 ส.ค. 57 นาย นคร จันทศร รักษาการผู้อานวยโครงการ จัดตั้งสถาบันฯ ร่วมกับคณะสมาชิกชมรมวิศวฯจุฬาฯร่วม ปฏิรูปประเทศไทย (วศ.รปปท.) ชี้แจงเรื่องแนวทางการ ปฏิรูประบบรถไฟของไทยที่สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศ ไทย โดย นายภานุมาศ ศรีสุข กรรมการรถไฟเข้าร่วมรับ ฟังด้วย ในฐานะกรรมการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สัมมนารถไฟฟ้าความเร็วสูง 27 ส.ค. 57 นายชาญชัย สุวิสุทธะกุล รองปลัดกระทรวงคมนาคม ด้านอานวยการเป็นประธานเปิดการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง“การ พัฒนารถไฟทางคู่ขนาดทางมาตรฐาน(StandardGauge)ความเร็ว 180 กิโลเมตรต่อชั่วโมง สาหรับรองรับระบบรถไฟความเร็วสูงใน อนาคต”ณสานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร(สนข.) งานประชุมวิชาการระบบขนส่งทางรางของประเทศไทย ประจาปี 2557 (Thailand Rail Academy Symposium 2014) 28 - 29 ส.ค. 57 สานักงาน คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม แห่งชาติ (สวทน.) โดย สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง (THAIST) ร่วมกับ เครือข่ายพัฒนากาลังคนและความเชี่ยวชาญ เทคโนโลยีด้านระบบขนส่งทางรางของประเทศ 19 หน่วยงาน จัด งานประชุมวิชาการหัวข้อ “การพัฒนาระบบขนส่งทางรางกับการ ปฏิรูปประเทศ (Rail Development for National Reform) ณ โรงแรมสวิสโฮเต็ล เลอ คองคอร์ด ประชุมร่วมจีน (STEP) 28 ส.ค. 57 เวลา 14.00 – 1 6 . 0 0 น . ก า ร ป ร ะ ชุ ม คณะทางานภายใต้โครงการ Thailand-China joint re- search center on high- speed railway in Thailand ซึ่งเป็นแผนงานความร่วมมือ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม ระหว่าง กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของไทย และ สาธารณรัฐ ประชาชนจีน ภายใต้กรอบ Science and Technology Part- nership Program (STEP) ประชุมคณะทางานภายใต้ความร่วมมือ ไทย จีน 29 ส.ค. 57 เวลา 9.30 น. ประชุมคณะทางาน Thailand-China joint research center on high-speed rail ซึ่งเป็นหนึ่งใน โครงการความร่วมมือภายใต้กรอบ STEP ระหว่าง กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของไทย และ สาธารณรัฐ ประชาชนจีน วศร.4 นาเสนอรายงานกลุ่ม และ รายงานดูงานที่ประเทศญี่ปุ่น 30 - 31 ส.ค. 57 วศร.4 นาเสนอ รายงานกลุ่มและการดูงานที่ประเทศ ญี่ปุ่น ณ เซนทารา โฮเตล แอนด์ รีสอร์ท พัทยา จังหวัดชลบุรี Page | 3 EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 444 ประจาเดือนกันยายน 2557ประจาเดือนกันยายน 2557ประจาเดือนกันยายน 2557 โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
  • 4. ศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์ ที่ปรึกษาอาวุโสผู้อานวยการสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และเป็นผู้อานวยการคนแรกของ สวทช. (ปี2535-2541)และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ในคณะรัฐมนตรีของ พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และปัจจุบัน ได้รับพระบรมราชโองการแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งเป็นรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :สังคมระบบราง : ที่ปรึกษา : ดร.ชาตรี ศรีไพพรรณ คุณนคร จันทศร คุณนัยรัตน์ อมาตยกุล คุณสุนันท์ ตั้งมโนโสภา คุณวัฒนา สมานจิตร คุณชยากร ปิยะบัณฑิตกุล คุณสมฤทธิ์ พุทธันบุตร กองบรรณาธิการ : คุณกุลเชษฐ์ กอพัฒนาชัยเจริญ คุณสฤษฏ์โรจ จันทร์เพิ่มพูนผล คุณทปกร เหมือนเตย คุณทศวัชร์ ชีวะธนาเลิศกุล ผู้ดาเนินการ : โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ติดต่อสอบถาม : โทร. 02-644-8150 ต่อ 81860 81861 81879 81880 อีเมล์ rail@nstda.or.th ขอแสดงความยินดีกับคุณชยากร ปิยะบัณฑิตกุล วศร.1 ในโอกาสสาเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก จาก The Sirindhorn International Thai-German Graduate School of Engineering (TGGS) กาหนดออกทุก วันที่ 15 ของทุกเดือน ขอเชิญชวนร่วมส่งบทความ หรือ ข่าวสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับระบบขนส่งทางราง ได้ที่อีเมล์ rail@nstda.or.th หารือความร่วมมือกับที่ปรึกษาสถานเอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจาประเทศไทย 12 ก.ย. 57 นาย นคร จันทศร นายกสมาคมวิชาการ เทคนิคไทย ฝรั่งเศส นัดอาหารกลางวันเพื่อสร้าง ความคุ้นเคยและหารือแนวทางความร่วมมือกับ นาย ซีริล บาเทรโอ ที่ปรึกษาฝ่ายการพาณิชย์ สาธารณูปโภค คมนาคมและอุตสาหกรรมประเทศไทยและพม่า สถาน เอกอัคราชฑูตฝรั่งเศสประจาประเทศไทย ในโอกาส เดินทางมาประจาในประเทศไทย ประชุมแนวทางการปฏิรูประบบรางของไทยที่หอการค้าไทย 10 ก.ย. 57 นาย นคร จันทศร รักษาการผู้อานวยโครงการจัดตั้ง สถาบันฯ ร่วมกับคณะสมาชิก ชมรมวิศวฯจุฬาฯร่วมปฏิรูป ประเทศไทย (วศ.รปปท.) ชี้แจง เรื่องแนวทางการปฏิรูประบบรถไฟของไทยที่หอการค้าไทย โดยมีหน่วยราชการที่เข้าร่วมรับฟังการชี้แจงด้วย คือ สานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ(สศช.) และ สานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : Page | 4 EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 444 ประจาเดือนกันยายน 2557ประจาเดือนกันยายน 2557ประจาเดือนกันยายน 2557 โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency พิธีมอบประกาศนียบัตร ปิดอบรมหลักสูตร วศร.4 3 ก.ย. 57 เวลา 9.00-12.00 น. การบรรยายพิเศษเรื่อง การบริหารการเปลี่ยนแปลง โดยคุณสมภพ อมาตยกุลและ พิธีปิดอบรมหลักสูตร วศร.4 โดย ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ผู้อานวยการ สวทช. ดร.ญาดา มุกดาพิทักษ์ รอง เลขาธิการ รักษาการแทนเลขาธิการ สวทน. เป็นผู้มอบ ประกาศนียบัตรและทาพิธีปิดการฝึกอบรม ประชุมโครงการ TAIST-Tokyo Tech 1 ก.ย. 57 เวลา 13.00 น. ประชุมคณะกรรมการโครงการ TAIST-Tokyo Tech ซึ่งมีการพิจารณา โครงการศึกษาในระดับปริญญาโทด้าน ระบบรางเป็นโครงการเพิ่มเติมจาก โครงการความร่วมมือเดิม 3 โครงการ ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ เลขาธิการสานักงานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ได้รับพระบรมราชโองการแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา