SlideShare a Scribd company logo
1 of 62
สถานการณ์การบริการด้าน
    การศึกษาไทย
  ในประชาคมอาเซียน

      ดร.สุทธศรี วงษ์สมาน
    รองเลขาธิการสภาการศึกษา
        6 มิถุนายน 2554       1
1.สถานการณ์การศึกษาไทย
         ในเวทีโลก - อาเซียน
 สถาบัน IMD (International
  Institute for Management
  Development) เปรียบเทียบ
  ศักยภาพการแข่งขันของ นานาชาติ
  ทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2540 รวมทั้งไทย
 ปี 2553 มีจำานวนประเทศเข้ารับการ
  จัดอันดับ 58 ประเทศ เพิ่มจากปี  2
IMD พิจารณาองค์ประกอบ 4
ด้านคือ
 ผลประกอบการด้าน
   เศรษฐกิจ
 ประสิทธิภาพภาครัฐ

 ประสิทธิภาพภาคธุรกิจ

 โครงสร้างพื้นฐาน
                           3
ผลการจัดอันดับของ IMD ภาพ
                      รวม
                  ไทยได้ที่ 26
     (3) สิงคโปร์ 1                                                           100.000

       (2) ฮ่องกง 2                                                           99.357

     (23) ไต้หวัน 8                                                   90.441

 (18) มาเลเซีย 10                                                    87.228

         (20) จีน 18                                          80.182

    (27) เกาหลี 23                                          76.249

       (26) ไทย 26                                        73.233

      (17) ญี่ปุ่น 27                                     72.093

    (30) อินเดีย 31                                64.567

   (42) อินโดนีเซีย                              60.745

(43) ฟิลิปปินส์ 39                             56.526

                    0.000   20.000   40.000   60.000      80.000       100.000         120.000
                                 คะแนน
                                                                                             4
ผลการจัดอันดับภาพรวม
               ของไทย
           ปี 2548 - 2553
         อันดับสมรรถนะ
 0
 5
10
        ภาพรวมของไทย
15
20
       25                            26     26
25           29              27
30                   33
35

     2548   2549   2550   2551    2552    2553
      (60    (61    (55    (55     (57     (58
     ปท.)   ปท.)   ปท.)   ปท.)    ปท.)    ปท.)

                                                 5
ผลการจัดอันดับภาพรวม ปี
    2549 – 2553
  เปรียบเทียบประเทศ
  อาเซียน 5 ประเทศ




                          6
ผลการจัดอันดับด้านการศึกษา
       ไทยได้ที่ 47




                        7
อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดับ
                     มัธยมศึกษา
          เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาค
          (4) จีน 3 เอเชีย-อาเซียน                                    98.0

         (3) ญี่ปน 4
                 ุ่                                                   98.0

        (6) เกาหลี 8                                                 96.4

      (8) สิงคโปร์ 9                                                95.0

    (10) ไต้หวัน 11                                                 94.6

    (45) ฮ่องกง 44                                           79.5

       (49) ไทย 47                                         76.1

(57) อินโดนีเซีย 55                                 69.7

  (52) มาเลเซีย 56                                  68.7

  (56) ฟิลปปินส์ 58
           ิ                                 59.9
                                                                           %
                       0.0   20.0   40.0   60.0            80.0     100.0

                                                                               8
อัตราการไม่รู้หนังสือของผู้ใหญ่
                                  อายุ 15 ปีขึ้นไป
          เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาค
         (1) ญี่ปุ่น 1
                       เอเชีย-อาเซียน
                            1.0

      (32) เกาหลี 32        1.7

     (35) ไต้หวัน 36         2.4

    (41) สิงคโปร์ 43                  5.6

        (42) ไทย 44                   5.9

  (44) ฟิลิปปินส์ 45                   6.6

   (48) มาเลเซีย 50                         8.1

          (49) จีน 51                       8.4

(50) อินโดนีเซีย 52                         8.6

     (56) อินเดีย 57                                                  34.0
                                                                                  %
                        0         5         10    15   20   25   30   35     40
                                                                                      9
อัตราส่วนนักเรียนต่อครูระดับ
                  ประถมศึกษา
           เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาค
(27) มาเลเซีย 26 เอเชีย-อาเซียน       15.7
 (37) ฮ่องกง 32                        16.5
 (38) ไต้หวัน 38                        17.3
     (41) ไทย 39                        17.7
    (44) ญี่ปน 40
              ุ่                         18.5
(46) อินโดนีเซีย                             18.8
       (40) จีน 44                           18.8
(49) สิงคโปร์ 47                               20.4
  (51) เกาหลี 51                                      25.6
   (56) ฟิลปปินส ์์
            ิ                                                33.7
 (57) อินเดีย 57                                                    40.2
                                                                       อัตราส่วน
                0.00   5.00 10.00 15.00 20.00 25.00 30.00 35.00 40.00 45.00


                                                                               10
อัตราส่วนนักเรียนต่อครูระดับ
                   มัธยมศึกษา
          เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาค
    (27) ญี่ปน 28
             ุ่   เอเชีย-อาเซียน        12.2
 (22) อินโดนีเซีย                        13.0
(43) มาเลเซีย 41                               15.5

  (44) ฮ่องกง 43                                16.3

       (47) จีน 44                              16.4
  (44) ไต้หวัน 46                               16.7
 (51) สิงคโปร์ 47                                17.0
   (50) เกาหลี 51                                 18.1
     (52) ไทย 53                                             21.0

  (55) อินเดีย 57                                                             32.7

(57) ฟิลปปินส์ 58
         ิ                                                                       35.1
                                                                                        อัตราส่วน
                     0.0   5.0   10.0    15.0         20.0      25.0   30.0   35.0      40.0


                                                                                               11
ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา
       เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาค
            เอเชีย-อาเซียน
      (1) สิงคโปร์ 1                                                                     58.7

        (4) เกาหลี 2                                                                56.0

         (3) ญี่ปน 4
                 ุ่                                                               54.0

       (5) ไต้หวัน 5                                                              53.0

    (13) ฮ่องกง 10                                                  41.2

  (28) ฟิลปปินส์ 31
            ิ                                           27.7

          (33) จีน 34                            23.0

  (40) มาเลเซีย 41                          20.2

       (43) ไทย 45                        18.0

     (51) อินเดีย 52                9.5

(53) อินโดนีเซีย 53           5.0
                                                                                                   %
                        0.0    10.0       20.0      30.0       40.0        50.0      60.0       70.0
                                                               12
การประเมินผลสัมฤทธิ์ด้านการ
              ศึกษา –PISA 2006
         เปรียบเทียบไทยกับนานาชาติ
อันดับ        ประเทศ       ผลสัมฤทธิ์ด้านการศึกษา
                             คณิต          วิทย์
  1           ฟินแลนด์        548          563
  2             ฮ่องกง        547          542
  3            ไต้หวัน        549          532
  4             เกาหลี        547          522
  7             ญี่ปุ่น       523          531
 17        สหราชอาณาจักร      495          515
 30         สหรัฐอเมริกา      474          489
 40              ไทย          417          421
 44          อินโดนีเซีย      391          393
 46            บราซิล         370          390 13
การอ่าน   คณิตศาสต   วิทยาศาสต
              ร์          ร์            ระดับ 5
                                     ระดับ 6

                                  เรียงตาม%
                                  นักเรียนที่
                                  ระดับสูง
                                  (ระดับ5+ระดับ
                                  6)




                           เรียงลำาดับประเทศตามสัดส่วน
                           นักเรียนกลุ่มสูง (ระดับ 5 หรือ
                           6) จากมากไปน้อย
IS
PT
               PISA 2000- PISA 2009
                         คณิตศาสตร์       อ่ าน    วิทยาศาสตร์
     440

     435

     430

     425

     420

     415

     410

     405
           PISA 2000   PISA 2003      PISA 2006   PISA 2009
การอ่าน
คะแนนการอ่ าน                  PISA 2000   PISA 2009
600

        สาธิต
550


500


450             สพฐ. 2
                         สช.

400
                                  กศท.                     กทม.
                                           อศ. 2   อศ. 1          สพฐ. 1
350
ความสามารถในการใช้ภาษา
                  อังกฤษ –TOEFL
           เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาค
   (3) สิงคโปร์ 3
                   เอเชีย-อาเซียน                                     100
(32) มาเลเซีย 28                                                88
(25) ฟิลปปินส์ 28
         ิ                                                      88
  (37) อินเดีย 32                                               87
  (43) ฮ่องกง 46                                           80
 (45) อินโดนีเซีย                                      79

   (48) เกาหลี 48                                      78

       (45) จีน 50                                    76

   (51)ไต้หวัน 53                                73

     (51) ไทย 54                                 72

    (54) ญี่ปน 55
              ุ่                            66


                     0   20     40     60             80             100
                         คะแนนเฉลี่ย
                                                                           17
ทักษะด้านภาษาที่ตอบสนองต่อ
        ความต้องการของผู้ประกอบการ
          เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาค
               เอเชีย-อาเซียน
  (7) สิงคโปร์ 6                                                                           8.05
   (21) มาเลเซีย                                                                    7.41

(11) อินเดีย 17                                                               6.96
  (14) ฟิลปปินส์
           ิ                                                                 6.80
 (37) ไต้หวัน 24                                                      6.07
 (25) ฮ่องกง 34                                                5.22
 (34) เกาหลี 39                                           4.98

    (43) ไทย 41                                          4.83
      (42) จีน 43                                      4.55
(44) อินโดนีเซีย                                       4.42

  (55) ญี่ปน 55
             ุ่                             3.10
                                                                                                  คะแนน
                    0.00   1.00   2.00   3.00   4.00    5.00     6.00    7.00        8.00     9.00
                                                                                                     18
การจัด กศ. ทีตอบสนองความ
                          ่
                  ต้องการภาคธุรกิจ
             เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาค
   (4) สิงคโปร์ 2
                   เอเชีย-อาเซียน                                    8.0
  (18) มาเลเซีย 9                                              7.2
   (13) อินเดีย 13                                         7.0
   (32) ไต้หวัน 16                                        6.8
(24) ฟิลปปินส์ 21
          ิ                                              6.5
    (20) ฮ่องกง 27                                 5.8

      (23) ไทย 30                                  5.8
  (39) อินโดนีเซีย                           5.0

     (34) ญี่ปน 40
              ุ่                             4.9
    (42) เกาหลี 43                      4.7

       (47) จีน 46                     4.4
                                                                                  คะแนน
                     0.0   2.0   4.0               6.0           8.0       10.0

                                                                                     19
(3
            9)
                 ฟ
                     ิลิป
     (4                  ปิน
          4) ( 4 ส




                                        0
                                            2
                                                4
                                                      6
                                                              8
                                                                     10
             อน 3) ์ 4
                ิ โ จ 6

                                                3.6
                     ดน ีน
                              4
                 ( 3 ี เซ 4                     3.7
             ( 3 0 ) ไ ีย 3
                 2) ท 6
                                                 4.0


                     เก ย 3
               ( 2 าห 2
                   1) ล
                                                      5.0




            (1 ญ ี 3
                 8) ี่ป 1
                                                      5.0




            ( 1 ฮอ ุ่น 2
                 4) ่ งก 8
                                                       5.4




            (2 อน ง 2
                3 ) ิ เด 3
          (1 ไ ย
                                                        5.7




            2 ) ต้ห ี 2
                  มา ว 0
                                                        5.9




                      เล ัน 1
                                                                            เอเชีย-อาเซียน




               ( 2 เซ 2
                   ) ส ีย
                                                             6.7




                       ิงค 10
                           โป
                                                              7.1




                              ร
                                3
                                ์   ์
                                                                       เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาค
                                                                   8.1
                                                                     การแข่งขันของระบบการศึกษา
                                                                     การตอบสนองความสามารถใน




20
การแข่งขัน
                     ระดับมหาวิทยาลัย
              เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาค
      (3) สิงคโปร์ 1  เอเชีย-อาเซียน                                            8.3
  (21) มาเลเซีย 11                                                  7.0
    (28) ไต้หวัน 20                                           6.4
     (18) อินเดีย 22                                     6.0
    (20) ฮ่องกง 23                                      5.8
        (29) ไทย 31                               5.3
  (31) ฟิลปปินส์ 35
            ิ                                   4.8
       (34) ญี่ปน 36
                 ุ่                             4.8
(47) อินโดนีเซีย 39                         4.6
     (51) เกาหลี 46                       4.3
          (52) จีน 49                 4.1
                                                                                             คะแนน
                        0.0   2.0   4.0               6.0                 8.0         10.0
                                                                                               21
งบประมาณรายจ่ายด้านการศึกษา
                   ต่อจีดีพี
       เปรียบเทียบไทยกับภูมภาคเอเชีย-
                             ิ
                   อาเซียน
    (18) มาเลเซีย 9                                                         6.0

     (47) ฮ่องกง 31                                            4.5

      (39)ไต้หวัน 33                                          4.3

      (36) เกาหลี 36                                         4.2

        (32) ไทย 35                                          4.2

       (42) ญี่ปน 43
                 ุ่                                     3.9

     (50) อินเดีย 47                                  3.6

   (52) สิงคโปร์ 52                             3.1

          (53) จีน 54                           3.0

  (54) ฟิลปปินส์ 57
            ิ                           2.1

(57) อินโดนีเซีย 58             1.1
                                                                                        %
                        0.0   1.0     2.0     3.0      4.0          5.0   6.0     7.0
                                                                                        22
บุคลากรด้านการวิจัยและ
      เปรียบเทียบไทยกับภูมภาคเอเชีย-
                          ิ
                  พัฒนา
                        อาเซียน
    (6) ไต้หวัน 6
                  ต่อประชากร 1,000 คน                                 8.0

      (7) ญี่ปน 8
              ุ่                                                7.3

 (10) สิงคโปร์ 12                                         6.9

   22) เกาหลี 20                                    5.6

  (28) ฮ่องกง 32                            3.2

      (42) จีน 39                     1.5

    (47) ไทย 47                 0.7

(49) มาเลเซีย 49           0.5

(51) ฟิลปปินส์ 51
        ิ                 0.2
                                                                              ต่อพันคน
                    0.0               2.0     4.0   6.0          8.0        10.0   23
งบประมาณด้านการวิจัยและ
         เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาค
         พัฒนาต่อหัว (หน่วย: )
                                เอเชีย-อาเซียน
                                                     USD



       (8) ญี่ปน 11
               ุ่                                                      1,180.1

  (18) สิงคโปร์ 12                                               1,041.1

    (20) เกาหลี 21                                   695.2

   (21) ไต้หวัน 22                           483.7

   (28) ฮ่องกง 30                  226.2

 (43) มาเลเซีย 42           57.2

        (45) จีน 45         50.0

      (52) ไทย 53         8.9

    (54) อินเดีย 55       8.0

(56) ฟิลปปินส์ 57
          ิ               1.8

(-) อินโดนีเซีย 58        0.6
                                                                                 US $
                      0         200    400     600    800    1,000   1,200   1,400
                                                                                     24
การใช้อินเทอร์เน็ตต่อประชากร
                      1,000 คน
         เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาค
    (13) สิงคโปร ์์ เอเชีย-อาเซียน
                 6                                                                 812

         (8) ญี่ปน 9
                 ุ่                                                                805

    (18) ฮ่องกง 10                                                                 804

     (12) เกาหลี 15                                                               789

    (23) ไต้หวัน 25                                                        696

  (29) มาเลเซีย 30                                                   635

         (53) จีน 51                     232

        (52)ไทย 53                     209

(54) อินโดนีเซีย 55                160

  (56) ฟิลปปินส์ 57
           ิ                     129

     (57) อินเดีย 58         107
                                                                                           คน
                       0   100     200       300   400   500   600    700        800     900
                                                                                               25
มหาวิทยาลัย
                   กับภาคธุรกิจ
   เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาคเอเชีย-
    (3) สิงคโปร์ 5    อาเซียน                                                   6.9

    (14) มาเลเซีย 7                                                            6.8

     (18) ไต้หวัน 13                                                          6.6

       (17) ญี่ปน 19
                ุ่                                                      5.9

    (16) ฮ่องกง 21                                                     5.7

     (33) เกาหลี 24                                              5.2

       (32) ไทย 31                                     4.5
     (20) อินเดีย 34                                 4.3
         (53) จีน 35                                 4.2
  (25) ฟิลปปินส์ 38
           ิ                                    4.0
(49) อินโดนีเซีย 39                             3.9
                                                                                            คะแนน
                       0.0   1.0   2.0   3.0   4.0         5.0         6.0    7.0     8.0
                                                                                               26
2.ผลสำ ำ รวจเกี ่ ย วกั บ ทั ศ นะคติ
    และกำรตระหนั ก รู ้
     เกี ่ ย วกั บ อำเซี ย น


สำ ำ รวจจำกจำ ำ นวนนั ก ศึ ก ษำ 2,170 คน
 จำกมหำวิ ท ยำลั ย ชั ้ น นำ ำ ในประเทศ
ควำมรู ้ ส ึ ก ว่ ำ คุ ณ เป็ น
        ประชำชนอำเซี ย น
1.
    ตอบว่ ำ 96.0% ถึ ง มำกที ่ ส ุ ด
   LAOS
             มำก
2. Cambodia      92.7%
3. Vietnam       91.7%
4. Malaysia              86.8%
5. Brunei                82.2%
6. Indonesia             73.0%
7. Philippines                   69.6%
8. THAILAND                      67.0%
9. Myanmar                       59.5%
10.Singapore                             49.3%
ควำมรู ้ เ กี ่ ย วกั บ อำเซี ย น
• รู ้ จ ั ก ธงอำเซี ย น • รู ้ ว ่ ำ อำเซี ย นก่ อ
1. Brunei        98.5%     1.ตั ้ ง เมื ่ อ ใด 68.4%
                              Laos
1. Indonesia     92.2%     1. Indonesia 65.6%
1. Laos          87.5%     1. Vietnam          64.7%
1. Myanmar       85.0%     1. Malaysia         53.0%
1. Singapore     81.5%     1. Singapore 47.8%
1. Vietnam       81.3%     1. Brunei           44.3%
1. Malaysia      80.9%     1. Philippines 37.8%
1. Cambodia      63.1%     8. Cambodia 36.6%
1. Philippines   38.6%     1. Myanmar          32.5%
10.THAILAND      38.5%     10. THAILAND 27.5%
อยำกรู ้ เ กี ่ ย วกั บ ประเทศอำเซี ย น
                    อื ่ น ๆ
ตอบว่ ำ อยำกรู ้ ม ำก ถึ ง มำกที ่ ส ุ ด
1. Laos             100%
1. Cambodia      99.6%
1. Vietnam       98.5%
1. Philippines           97.2%
1. Malaysia              92.9%
1. Indonesia             90.8%
1. THAILAND                      87.5%
1. Brunei                                86.8%
1. Singapore                             84.2%
10. Myanmar                              77.8%
3. สถานการณ์ด้านการศึกษา
          ไทย
 1. แรงงานมีการศึกษาระดับ
        ประถม 21.9
    ล้านคน (57.1% ของกำาลัง
        แรงงาน
    ทั้งหมด) ระดับ ม.ต้น 5.8
        ล้านคน
    (15.2% ของกำาลังแรงงาน
        ทั้งหมด)               31
3. ผลสัมฤทธิ์ วิชาหลัก ป.6
ม.3 ม.6 ลดลงตำ่ากว่า 50%
   และมีความสามารถคิด
            วิเคราะห์
          ร้อยละ 10.4
  4. การผลิตกำาลังคนไม่
 สอดคล้องกับความต้องการ
   ทั้งปริมาณและคุณภาพ       32
   ปีการศึกษา 2552 คะแนนเฉลี่ย O-
           net ใน 5 กลุ่มสาระ

         ป.6 คะแนนเฉลี่ยสูงสุดวิชา
      วิทยาศาสตร์ 38.7 ตำ่าสุดวิชา
          ภาษาอังกฤษ 31.75
      ม.3 คะแนนเฉลี่ยสูงสุดวิชา
    สังคมศาสตร์ 39.7 ตำ่าสุดวิชา
    ภาษาอังกฤษ 22.54
       ม.6 คะแนนเฉลี่ยสูงสุดวิชา
    ภาษาไทย 46.47 ตำ่าสุดวิชา        33
   ปีการศึกษา 2553 คะแนนเฉลี่ย O-
           net ใน 5 กลุ่มสาระ

         ป.6 คะแนนเฉลี่ยสูงสุดวิชา
      สังคมศาสตร์ 47.1 ตำ่าสุดวิชา
       ภาษาอังกฤษ 21.0 ( 31.75 )
      ม.3 คะแนนเฉลี่ยสูงสุดวิชา
    ภาษาไทย 42.8 ตำ่าสุดวิชาภาษา
    อังกฤษ 16.2 ( 22.5 )
       ม.6 คะแนนเฉลี่ยสูงสุดวิชา
    สังคมศาสตร์ 46.5 ตำ่าสุดวิชา     34
McKinsey Report 2010
 “How The World’s Most Improved School Systems
             Keep Getting Better”

• Poor to Fair: เน้นการหนุนให้เด็กสามารถเรียนเลข
  และอ่านออกเขียนได้ โดยเพิ่มความสามารถครู การ
  สร้างมาตรฐานขั้นตำ่าของโรงเรียน
• Fair to Good: สร้างระบบการเรียนการสอน การ
  บริหารและการเงินทีดี่
• Good to Great: สร้างครูและผู้บริหารโรงเรียนมือ
  อาชีพ เทียบเท่ากับแพทย์หรือนักกฎหมาย
• Great to Excellent: เน้นการปรับปรุงที่ตัวโรงเรียน
  มากกว่าส่วนกลาง เน้นนวัตกรรมและแนวทางใหม่ๆ
McKinsey Report 2010
 “How The World’s Most Improved School Systems
             Keep Getting Better”

• ปัจจัยร่วมสำาหรับการปรับปรุงทุกระดับ
  – ปรับปรุงหลักสูตรและมาตรฐานการเรียนการ
    สอน
  – ปรับค่าตอบแทนครูและผู้บริหารการศึกษาให้
    จูงใจผู้มีความสามารถ
  – เพิมความชำานาญและประสิทธิภาพของครู
       ่
    และผู้บริหารการศึกษา
  – สร้างระบบข้อมูล ระบบการพัฒนานโยบาย
4. ทิศทางการศึกษาไทยสู่
       ประชาคมอาเซียน:
1. การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษ
             ที่สอง
      (พ.ศ. 2552 - 2561)



                           37
• กรอบแนวทางการปฏิรปการู
  ศึกษา 4 ใหม่
     พัฒนาคุณภาพคนไทยยุค
  ใหม่
     พัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่
     พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
  และ
     แหล่งเรียนรูยุคใหม่
                 ้
     พัฒนาคุณภาพการบริหาร
  จัดการใหม่             38
• การพัฒนาคุณภาพคนไทย
 ยุคใหม่
      ให้มีนิสยใฝ่เรียนรู้ เรียนรู้ได้ด้วย
                ั
 ตนเอง แสวงหาความรู้อย่างต่อเนือง       ่
 ตลอดชีวต สามารถสือสาร คิด
           ิ           ่
 วิเคราะห์ แก้ปญหา คิดริเริ่มสร้างสรรค์
                  ั
 มีจิตสาธารณะ มีระเบียบวินัย คำานึงถึง
 ประโยชน์สวนรวม ทำางานเป็นกลุ่มได้
              ่
 อย่างเป็นกัลยาณมิตร มีศีลธรรม
 คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสำานึก
 และความภูมิใจในความเป็นไทย ยึด
 มั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตย               39

 อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
• การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
  และเรียนรู้
          - พัฒนาและเตรียมความ
 พร้อมเด็กปฐมวัย
          - จัดหลักสูตร การเรียน
 การสอน กิจกรรม การวัดประเมิน
 ผล เพื่อพัฒนาผู้เรียนรอบด้าน รวม
 ทังให้มีผลสัมฤทธิทางการเรียนสูง
    ้              ์
 ขึ้น
          - พัฒนาระบบประกัน
 คุณภาพภายในทุกระดับ/ประเภท
 และสนับสนุนประเมินภายนอก เพื่อ
 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการ           40


 ศึกษา
• การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
  และเรียนรู้
         - พัฒนาคุณภาพ
 มาตรฐานอาชีวศึกษา
         - ปฏิรูปอุดมศึกษา เน้น
 คุณภาพสู่ความเป็นเลิศ จัดกลุ่ม
 สถาบันตามพันธกิจ พัฒนาการ
 ศึกษาศิลปะวิทยาศาสตร์ ( liberal
 Arts Education ) กำาจัดการปลอม
 แปลงคุณวุฒิและการซื้อขาย
 ปริญญาบัตร โดยมีมาตรการ
 ลงโทษทั้งบุคคลและสถาบัน
         - ส่งเสริมการอนุรักษ์และ   41


 ใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง ควบคู่
• การผลิตและพัฒนากำาลังคนที่
  มีคณภาพ มีสมรรถนะ และ
     ุ
  ความรู้ ความสามารถ
         - พัฒนากรอบมาตรฐาน
 คุณวุฒิแห่งชาติ เพื่อการรับรอง
 สมรรถนะ ความรู้ ความสามารถ
 ของกำาลังคน ผู้สำาเร็จการศึกษาทุก
 ระดับ/ประเภท
         - จัดตั้งสถาบันคุณวุฒิ
 วิชาชีพ                 - จัดการ
 อาชีวศึกษา โดยเน้นการปฏิบัติ
 ขยายทวิภาคี และสหกิจศึกษา
         - การจัดตั้งสถาบัน          42
- เป้าหมายและตัวบ่งชี้การ
ปฏิรูปการศึกษา
    ในทศวรรษที่สอง พ.ศ.
2561



                            43
4 เป้าหมาย 20 ตัวบ่งชี้
1. คนไทยและการศึกษาไทย
มีคณภาพ และได้มาตรฐาน
   ุ
ระดับสากล
2. คนไทยใฝ่รู้
3. คนไทยใฝ่ดี
4. คนไทยคิดเป็น ทำาเป็น แก้
ปัญหาได้
                              44
ตัวบ่งชี้และค่าเป้าหมาย เช่น

        1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชา
หลักจาก                 การทดสอบระดับชาต
มีคะแนนเฉลี่ยมากกว่า                ร้อยละ
50
        1.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาด้าน
คณิตศาสตร์                  และวิทยาศาสตร
เพิ่มขึ้นเป็นไม่ตำ่ากว่าค่าเฉลีย
                               ่
        นานาชาติ (ผลทดสอบ PISA)
                                     45
1.3 ความสามารถด้านภาษา
อังกฤษเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 ต่อปี
   1.4 ทักษะด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 ต่อปี
   1.5 สัดส่วนผูเรียน
                 ้
มัธยมศึกษาตอนปลายประเภท
อาชีวศึกษา : สามัญศึกษา เป็น
60 : 40
   1.6 ผูสำาเร็จอาชีวศึกษาและ
         ้
อุดมศึกษามีคณภาพระดับสากล
              ุ
และเป็นไปตามกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิ
                                  46
ตัวบ่งชี้และค่าเป้าหมาย
เช่น

       2.1 อัตราการรู้หนังสือของ
ประชากร                (อายุ 15 - 60
ปี) เป็นร้อยละ 100
       2.2 เด็กปฐมวัยไม่ตำ่ากว่าร้อย
ละ 75 ได้รับ
       การอบรมเลี้ยงดูและพัฒนาให้
มีประสบการณ์
                                   47
2.3 ผู้ด้อยโอกาสได้รับการ
ศึกษาอย่าง
      ครบถ้วน
      2.4 คนไทยใช้เวลาอ่าน
หนังสือนอกเวลา          เรียน/นอก
เวลาทำางาน โดยเฉลี่ยอย่าง
  น้อยวันละ 60 นาที
      2.5 สัดส่วนผู้ที่ใช้
อินเทอร์เน็ตเพื่อการ         เรียนรู้
ต่อประชากรอายุ 10 ปีขนไปเป็น
                          ึ้            48
10 นโยบายเร่งด่วน เพื่อขับเคลือน
                                   ่
ปฏิรูป ปี 2555

    1. พัฒนาให้ผู้เรียนมีทักษะวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี ภาษาไทย ภาษา
อังกฤษ ภาษาต่างประเทศอืน และ ICT
                             ่
    2. ปรับหลักสูตร และกระบวนการเรียน
การสอน และการประเมินผลรูปแบบใหม่
ตังแต่ปฐมวัยจนตลอดชีวิต โดยเน้น
  ้
กิจกรรมและปฏิบัตจริงมากขึ้น ( 70 : 30 )
                     ิ
    3. พัฒนาทักษะครูดานวิทยาศาสตร์
                        ้               49
คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี ภาษาไทย ภาษา
10 นโยบายเร่งด่วน เพื่อขับเคลือน
                                   ่
ปฏิรูป ปี 2555
  4. เร่งรัดผลิตครูพันธ์ใหม่
  5. เร่งผลิตครูสาขาขาดแคลนและครู
วิชาชีพ สนับสนุนคนไทยในต่างแดน
บุคลากรจากภาคอุตสาหกรรมมาเป็นครู
  6. สนับสนุนโรงเรียนดีประจำาตำาบล
อำาเภอ จังหวัด ระบบเครือข่าย และรร.คู่
พัฒนา ส่งเสริมให้ อปท. เข้ามามีบทบาท
มากขึ้น
  7. สร้างโอกาสเข้าถึงมาตรฐานการ    50
10 นโยบายเร่งด่วน เพื่อขับเคลือน
                                   ่
ปฏิรูป ปี 2555
  8. ให้มีข้อตกลงอย่างเป็นทางการ
( MOU ) ระหว่างผู้บริหาร ครู เขตพื้นที่
สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้ เพื่อให้เกิด
ความร่วมมือจัดการเรียนรู้
  9. เพิ่มประสิทธิภาพและลดความสูญ
เปล่าโรงเรียนขนาดเล็ก
  10. สร้างแรงจูงใจให้มผู้เรียน
                       ี
อาชีวศึกษามากขึ้น และขยายการจัด
อาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สู่กลุมวัย
                               ่      51
แรงงาน ผู้อยู่นอกภาคแรงงาน ผู้สูงอายุ
2. แผนกำรศึ ก ษำแห่ ง ชำติ ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง
(พ.ศ.2553-2559)
      เป้ ำ หมำยปี 2559 :
      - ผลสั ม ฤทธิ ์ ท ำงกำรเรี ย นในกลุ ่ ม
สำระหลั ก เกิ น กว่ ำ ร้ อ ยละ 50
      - สถำนศึ ก ษำร้ อ ยละ 100 ได้ ร ั บ กำร
รั บ รองมำตรฐำนจำก สมศ.
      - จำ ำ นวนปี ก ำรศึ ก ษำเฉลี ่ ย ของคน
ไทยเพิ ่ ม สู ง ขึ ้ น จำก 8.7 ปี ใ นปี 2551
เป็ น 12 ปี ใ นปี 2559
      - เอกชนเข้ ำ มำร่ ว มจั ด กำรศึ ก ษำ
มำกขึ ้ น โดยมรสั ด ส่ ว นผู ้ เ รี ย นระหว่ ำ ง
                                             52
นโยบำย : ส่ ง เสริ ม ควำมร่ ว มมื อ ระหว่ ำ งประเทศ
ด้ ำ นกำรศึ ก ษำ พั ฒ นำควำมเป็ น สำกลของกำรศึ ก ษำ
เพื ่ อ รองรั บ กำรเป็ น ประชำคมอำเซี ย น และเพิ ่ ม
ศั ก ยภำพกำรแข่ ง ขั น ของประเทศภำยใต้ ก ระแส
โลกำภิ ว ั ต น์ สำมำรถอยู ้ ร ่ ว มกั บ พลโลกอย่ ำ ง
สั น ติ ส ุ ข อย่ ำ งพึ ่ ง พำอำศั ย และกื ้ อ กู ล กั น
 เป้ ำ หมำย :
         - มี ค วำมร่ ว มมื อ ทำงกำรศึ ก ษำกั บ ประเทศ
สมำชิ ก อำเซี ย นและนำนำชำติ ม ำกขึ ้ น
         - มี ก ำรจั ด หลั ก สู ต รกำรเรี ย นกำรสอน พั ฒ นำ
คุ ณ ภำพมำตรฐำนกำรศึ ก ษำที ่ เ ป็ น สำกล
         - เป็ น ศู น ย์ ก ลำงหรื อ ศู น ย์ เ ครื อ ข่ ำ ยทำงกำร
ศึ ก ษำของภู ม ิ ภ ำคอำเซี ย นและนำนำชำติ
         - มี ก ำรแลกเปลี ่ ย นนั ก เรี ย น นิ ส ิ ต นั ก ศึ ก ษำ
คณำจำรย์ นั ก วิ ช ำกำรและนั ก วิ ช ำชี พ แรงงำนมำก
                                                                  53
ขึ ้ น
- ส่ ง เสริ ม กำรพั ฒ นำประเทศไทยให้ เ ป็ น
ศู น ย์ ก ลำงกำรศึ ก ษำ วิ จ ั ย และพั ฒ นำ และกำร
ฝึ ก อบรมนำนำชำติ ใ นภู ม ิ ภ ำค (Regional
Education Hub) ในสำขำที ่ ม ี ศ ั ก ยภำพในกำร
แข่ ง ขั น โดยสนั บ สนุ น สถำบั น อุ ด มศึ ก ษำมี
บทบำท
        - ส่ ง เสริ ม ควำมร่ ว มมื อ ด้ ำ นกำรศึ ก ษำ
กั บ ประเทศต่ ำ งๆรวมทั ้ ง องค์ ก ำรระหว่ ำ ง
ประเทศทั ้ ง ระดั บ ภู ม ิ ภ ำคและระดั บ สำกล
        - ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น องค์ ก รและสถำบั น
กำรศึ ก ษำของประเทศ ทำ ำ หน้ ำ ที ่ เ ป็ น ศู น ย์
หรื อ เครื อ ข่ ำ ยกำรศึ ก ษำระหว่ ำ งประเทศ ทั ้ ง
ในประชำคมอำเซี ย น ภู ม ิ ภ ำค สำกล
        - ส่ ง เสริ ม กำรวิ จ ั ย และพั ฒ นำกำรศึ ก ษำ54
กรอบกำรดำ ำ เนิ น งำน :
        - ส่ ง เสริ ม กำรเรี ย นกำรสอนภำษำสำกล
เป็ น ภำษำที ่ ส อง ตั ้ ง แต่ ร ะดั บ กำรศึ ก ษำขั ้ น
พื ้ น ฐำน และกำรเรี ย นรู ้ ภ ำษำที ่ ส ำม เช่ น
ภำษำเพื ่ อ นบ้ ำ นในกลุ ่ ม ประเทศอำเซี ย น
ภำษำที ่ ส นใจ เป็ น ต้ น ทั ้ ง สื ่ อ สำรและเปิ ด โลก
ทั ศ น์
        - ส่ ง เสริ ม ให้ ส ถำนศึ ก ษำจั ด หลั ก สู ต ร
นำนำชำติ หรื อ หลั ก สู ต รสมทบ หลั ก สู ต รร่ ว ม
กั บ สถำบั น ต่ ำ งประเทศ เพื ่ อ ควำมเป็ น สำกล
ของกำรศึ ก ษำและรองรั บ ตลำดแรงงำน
นำนำชำติ

                                                     55
- เชื ่ อ มโยงภู ม ิ ป ั ญ ญำไทยกั บ ภู ม ิ ป ั ญ ญำ
สำกล
        - ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น และพั ฒ นำครู
คณำจำรย์ ใ ห้ ม ี ค วำมรู ้ ทั ก ษะ และมี บ ทบำท
ด้ ำ นกำรศึ ก ษำในองค์ ก ำรระหว่ ำ งประเทศ
        - กำ ำ หนดมำตรกำรทั ้ ง เชิ ง รุ ก และรั บ
เพื ่ อ กำรเปิ ด เสรี ท ำงกำรค้ ำ และบริ ก ำรด้ ำ น
กำรศึ ก ษำ ทั ้ ง ระดั บ ทวิ ภ ำคี แ ละพหุ ภ ำคี
        - เตรี ย มควำมพร้ อ มทั ้ ง ด้ ำ น คน เงิ น
เทคโนโลยี ข้ อ มู ล ข่ ำ วสำรและควำมรู ้ เ พื ่ อ
เข้ ำ สู ่ ส ั ง คมเศรษฐกิ จ ฐำนควำมรู ้ อ ย่ ำ งรู ้ เ ท่ ำ
ทั น
                                                               56
3. แนวทางการดำาเนินงานด้านการ
 ศึกษาในกรอบอาเซียนของไทย
1. เผยแพร่ ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร สร้าง
  เจตคติที่ดและความตระหนักเกี่ยวกับ
            ี
  อาเซียน เพื่อสร้างความตระหนักและ
  เตรียมความพร้อมของครู คณาจารย์
  และบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน
  นักศึกษา และประชาชน เพื่อก้าวสู่
  ประชาคมอาเซียน ภายในปี 2558
2. พัฒนาศักยภาพของนักเรียน
 นักศึกษา และประชาชนให้มทักษะที่
                          ี
 เหมาะสม เพื่อเตรียมความพร้อมใน
 การก้าวสู่ประชาคมอาเซียน เช่น ความ
 รูภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน
   ้
 เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะและความ
 ชำานาญการที่สอดคล้องกับการปรับตัว
 และเปลี่ยนแปลงทางอุตสาหกรรมและ
 การเพิ่มโอกาสในการหางานทำาของ
 ประชาชน รวมทังการจัดทำาแผนผลิต
                ้
3. พัฒนามาตรฐานการศึกษาเพื่อส่ง
  เสริมการหมุนเวียนของนักศึกษาและ
  ครูอาจารย์ในอาเซียน รวมทังเพื่อให้มี
                           ้
  การยอมรับในคุณสมบัตทางวิชาการ
                        ิ
  ร่วมกันในอาเซียน การส่งเสริมความ
  ร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษา และ
  การแลกเปลียนเยาวชน
              ่
4. การพัฒนาระบบการศึกษาทางไกล
  ซึงช่วยสนับสนุนการศึกษาตลอดชีวิต
    ่
  การส่งเสริมและปรับปรุงการศึกษาด้าน
5. การเตรียมความพร้อมเพื่อเปิดเสรี
 การศึกษาในอาเซียน เพื่อรองรับการ
 ก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
 ประกอบด้วย การจัดทำาความตกลง
 ยอมรับร่วมด้านการศึกษา การพัฒนา
 ความสามารถ ประสบการณ์ในสาขา
 วิชาชีพสำาคัญต่างๆ เพื่อรองรับการ
 เปิดเสรีการศึกษา ควบคูกับการเปิดเสรี
                         ่
 ด้านการเคลือนย้ายแรงงาน เป็นต้น
             ่
6. การพัฒนาเยาวชนเพื่อเป็นทรัพยากร
 สำาคัญ
 ในการก้าวสูประชาคมอาเซียน เช่น
             ่
 การจัดค่ายนักเรียน นักศึกษา จัดกีฬา
 มหาวิทยาลัยอาเซียน มหกรรมดนตรี
 อาเซียน การจัดสัมมนาวิชาการเพื่อ
 เสริมสร้างบทบาทเยาวชน เปิดโอกาส
 ให้เยาวชนแสดงความคิดเห็นในการ
 ก้าวสู่ประชาคมอาเซียน เป็นต้น
ขอขอบคุ ณ

More Related Content

Featured

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
ThinkNow
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

Education in asean

  • 1. สถานการณ์การบริการด้าน การศึกษาไทย ในประชาคมอาเซียน ดร.สุทธศรี วงษ์สมาน รองเลขาธิการสภาการศึกษา 6 มิถุนายน 2554 1
  • 2. 1.สถานการณ์การศึกษาไทย ในเวทีโลก - อาเซียน  สถาบัน IMD (International Institute for Management Development) เปรียบเทียบ ศักยภาพการแข่งขันของ นานาชาติ ทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2540 รวมทั้งไทย  ปี 2553 มีจำานวนประเทศเข้ารับการ จัดอันดับ 58 ประเทศ เพิ่มจากปี 2
  • 3. IMD พิจารณาองค์ประกอบ 4 ด้านคือ  ผลประกอบการด้าน เศรษฐกิจ  ประสิทธิภาพภาครัฐ  ประสิทธิภาพภาคธุรกิจ  โครงสร้างพื้นฐาน 3
  • 4. ผลการจัดอันดับของ IMD ภาพ รวม ไทยได้ที่ 26 (3) สิงคโปร์ 1 100.000 (2) ฮ่องกง 2 99.357 (23) ไต้หวัน 8 90.441 (18) มาเลเซีย 10 87.228 (20) จีน 18 80.182 (27) เกาหลี 23 76.249 (26) ไทย 26 73.233 (17) ญี่ปุ่น 27 72.093 (30) อินเดีย 31 64.567 (42) อินโดนีเซีย 60.745 (43) ฟิลิปปินส์ 39 56.526 0.000 20.000 40.000 60.000 80.000 100.000 120.000 คะแนน 4
  • 5. ผลการจัดอันดับภาพรวม ของไทย ปี 2548 - 2553 อันดับสมรรถนะ 0 5 10 ภาพรวมของไทย 15 20 25 26 26 25 29 27 30 33 35 2548 2549 2550 2551 2552 2553 (60 (61 (55 (55 (57 (58 ปท.) ปท.) ปท.) ปท.) ปท.) ปท.) 5
  • 6. ผลการจัดอันดับภาพรวม ปี 2549 – 2553 เปรียบเทียบประเทศ อาเซียน 5 ประเทศ 6
  • 8. อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดับ มัธยมศึกษา เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาค (4) จีน 3 เอเชีย-อาเซียน 98.0 (3) ญี่ปน 4 ุ่ 98.0 (6) เกาหลี 8 96.4 (8) สิงคโปร์ 9 95.0 (10) ไต้หวัน 11 94.6 (45) ฮ่องกง 44 79.5 (49) ไทย 47 76.1 (57) อินโดนีเซีย 55 69.7 (52) มาเลเซีย 56 68.7 (56) ฟิลปปินส์ 58 ิ 59.9 % 0.0 20.0 40.0 60.0 80.0 100.0 8
  • 9. อัตราการไม่รู้หนังสือของผู้ใหญ่ อายุ 15 ปีขึ้นไป เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาค (1) ญี่ปุ่น 1 เอเชีย-อาเซียน 1.0 (32) เกาหลี 32 1.7 (35) ไต้หวัน 36 2.4 (41) สิงคโปร์ 43 5.6 (42) ไทย 44 5.9 (44) ฟิลิปปินส์ 45 6.6 (48) มาเลเซีย 50 8.1 (49) จีน 51 8.4 (50) อินโดนีเซีย 52 8.6 (56) อินเดีย 57 34.0 % 0 5 10 15 20 25 30 35 40 9
  • 10. อัตราส่วนนักเรียนต่อครูระดับ ประถมศึกษา เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาค (27) มาเลเซีย 26 เอเชีย-อาเซียน 15.7 (37) ฮ่องกง 32 16.5 (38) ไต้หวัน 38 17.3 (41) ไทย 39 17.7 (44) ญี่ปน 40 ุ่ 18.5 (46) อินโดนีเซีย 18.8 (40) จีน 44 18.8 (49) สิงคโปร์ 47 20.4 (51) เกาหลี 51 25.6 (56) ฟิลปปินส ์์ ิ 33.7 (57) อินเดีย 57 40.2 อัตราส่วน 0.00 5.00 10.00 15.00 20.00 25.00 30.00 35.00 40.00 45.00 10
  • 11. อัตราส่วนนักเรียนต่อครูระดับ มัธยมศึกษา เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาค (27) ญี่ปน 28 ุ่ เอเชีย-อาเซียน 12.2 (22) อินโดนีเซีย 13.0 (43) มาเลเซีย 41 15.5 (44) ฮ่องกง 43 16.3 (47) จีน 44 16.4 (44) ไต้หวัน 46 16.7 (51) สิงคโปร์ 47 17.0 (50) เกาหลี 51 18.1 (52) ไทย 53 21.0 (55) อินเดีย 57 32.7 (57) ฟิลปปินส์ 58 ิ 35.1 อัตราส่วน 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 11
  • 12. ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาค เอเชีย-อาเซียน (1) สิงคโปร์ 1 58.7 (4) เกาหลี 2 56.0 (3) ญี่ปน 4 ุ่ 54.0 (5) ไต้หวัน 5 53.0 (13) ฮ่องกง 10 41.2 (28) ฟิลปปินส์ 31 ิ 27.7 (33) จีน 34 23.0 (40) มาเลเซีย 41 20.2 (43) ไทย 45 18.0 (51) อินเดีย 52 9.5 (53) อินโดนีเซีย 53 5.0 % 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0 70.0 12
  • 13. การประเมินผลสัมฤทธิ์ด้านการ ศึกษา –PISA 2006 เปรียบเทียบไทยกับนานาชาติ อันดับ ประเทศ ผลสัมฤทธิ์ด้านการศึกษา คณิต วิทย์ 1 ฟินแลนด์ 548 563 2 ฮ่องกง 547 542 3 ไต้หวัน 549 532 4 เกาหลี 547 522 7 ญี่ปุ่น 523 531 17 สหราชอาณาจักร 495 515 30 สหรัฐอเมริกา 474 489 40 ไทย 417 421 44 อินโดนีเซีย 391 393 46 บราซิล 370 390 13
  • 14. การอ่าน คณิตศาสต วิทยาศาสต ร์ ร์ ระดับ 5 ระดับ 6 เรียงตาม% นักเรียนที่ ระดับสูง (ระดับ5+ระดับ 6) เรียงลำาดับประเทศตามสัดส่วน นักเรียนกลุ่มสูง (ระดับ 5 หรือ 6) จากมากไปน้อย
  • 15. IS PT PISA 2000- PISA 2009 คณิตศาสตร์ อ่ าน วิทยาศาสตร์ 440 435 430 425 420 415 410 405 PISA 2000 PISA 2003 PISA 2006 PISA 2009
  • 16. การอ่าน คะแนนการอ่ าน PISA 2000 PISA 2009 600 สาธิต 550 500 450 สพฐ. 2 สช. 400 กศท. กทม. อศ. 2 อศ. 1 สพฐ. 1 350
  • 17. ความสามารถในการใช้ภาษา อังกฤษ –TOEFL เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาค (3) สิงคโปร์ 3 เอเชีย-อาเซียน 100 (32) มาเลเซีย 28 88 (25) ฟิลปปินส์ 28 ิ 88 (37) อินเดีย 32 87 (43) ฮ่องกง 46 80 (45) อินโดนีเซีย 79 (48) เกาหลี 48 78 (45) จีน 50 76 (51)ไต้หวัน 53 73 (51) ไทย 54 72 (54) ญี่ปน 55 ุ่ 66 0 20 40 60 80 100 คะแนนเฉลี่ย 17
  • 18. ทักษะด้านภาษาที่ตอบสนองต่อ ความต้องการของผู้ประกอบการ เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาค เอเชีย-อาเซียน (7) สิงคโปร์ 6 8.05 (21) มาเลเซีย 7.41 (11) อินเดีย 17 6.96 (14) ฟิลปปินส์ ิ 6.80 (37) ไต้หวัน 24 6.07 (25) ฮ่องกง 34 5.22 (34) เกาหลี 39 4.98 (43) ไทย 41 4.83 (42) จีน 43 4.55 (44) อินโดนีเซีย 4.42 (55) ญี่ปน 55 ุ่ 3.10 คะแนน 0.00 1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 18
  • 19. การจัด กศ. ทีตอบสนองความ ่ ต้องการภาคธุรกิจ เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาค (4) สิงคโปร์ 2 เอเชีย-อาเซียน 8.0 (18) มาเลเซีย 9 7.2 (13) อินเดีย 13 7.0 (32) ไต้หวัน 16 6.8 (24) ฟิลปปินส์ 21 ิ 6.5 (20) ฮ่องกง 27 5.8 (23) ไทย 30 5.8 (39) อินโดนีเซีย 5.0 (34) ญี่ปน 40 ุ่ 4.9 (42) เกาหลี 43 4.7 (47) จีน 46 4.4 คะแนน 0.0 2.0 4.0 6.0 8.0 10.0 19
  • 20. (3 9) ฟ ิลิป (4 ปิน 4) ( 4 ส 0 2 4 6 8 10 อน 3) ์ 4 ิ โ จ 6 3.6 ดน ีน 4 ( 3 ี เซ 4 3.7 ( 3 0 ) ไ ีย 3 2) ท 6 4.0 เก ย 3 ( 2 าห 2 1) ล 5.0 (1 ญ ี 3 8) ี่ป 1 5.0 ( 1 ฮอ ุ่น 2 4) ่ งก 8 5.4 (2 อน ง 2 3 ) ิ เด 3 (1 ไ ย 5.7 2 ) ต้ห ี 2 มา ว 0 5.9 เล ัน 1 เอเชีย-อาเซียน ( 2 เซ 2 ) ส ีย 6.7 ิงค 10 โป 7.1 ร 3 ์ ์ เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาค 8.1 การแข่งขันของระบบการศึกษา การตอบสนองความสามารถใน 20
  • 21. การแข่งขัน ระดับมหาวิทยาลัย เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาค (3) สิงคโปร์ 1 เอเชีย-อาเซียน 8.3 (21) มาเลเซีย 11 7.0 (28) ไต้หวัน 20 6.4 (18) อินเดีย 22 6.0 (20) ฮ่องกง 23 5.8 (29) ไทย 31 5.3 (31) ฟิลปปินส์ 35 ิ 4.8 (34) ญี่ปน 36 ุ่ 4.8 (47) อินโดนีเซีย 39 4.6 (51) เกาหลี 46 4.3 (52) จีน 49 4.1 คะแนน 0.0 2.0 4.0 6.0 8.0 10.0 21
  • 22. งบประมาณรายจ่ายด้านการศึกษา ต่อจีดีพี เปรียบเทียบไทยกับภูมภาคเอเชีย- ิ อาเซียน (18) มาเลเซีย 9 6.0 (47) ฮ่องกง 31 4.5 (39)ไต้หวัน 33 4.3 (36) เกาหลี 36 4.2 (32) ไทย 35 4.2 (42) ญี่ปน 43 ุ่ 3.9 (50) อินเดีย 47 3.6 (52) สิงคโปร์ 52 3.1 (53) จีน 54 3.0 (54) ฟิลปปินส์ 57 ิ 2.1 (57) อินโดนีเซีย 58 1.1 % 0.0 1.0 2.0 3.0 4.0 5.0 6.0 7.0 22
  • 23. บุคลากรด้านการวิจัยและ เปรียบเทียบไทยกับภูมภาคเอเชีย- ิ พัฒนา อาเซียน (6) ไต้หวัน 6 ต่อประชากร 1,000 คน 8.0 (7) ญี่ปน 8 ุ่ 7.3 (10) สิงคโปร์ 12 6.9 22) เกาหลี 20 5.6 (28) ฮ่องกง 32 3.2 (42) จีน 39 1.5 (47) ไทย 47 0.7 (49) มาเลเซีย 49 0.5 (51) ฟิลปปินส์ 51 ิ 0.2 ต่อพันคน 0.0 2.0 4.0 6.0 8.0 10.0 23
  • 24. งบประมาณด้านการวิจัยและ เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาค พัฒนาต่อหัว (หน่วย: ) เอเชีย-อาเซียน USD (8) ญี่ปน 11 ุ่ 1,180.1 (18) สิงคโปร์ 12 1,041.1 (20) เกาหลี 21 695.2 (21) ไต้หวัน 22 483.7 (28) ฮ่องกง 30 226.2 (43) มาเลเซีย 42 57.2 (45) จีน 45 50.0 (52) ไทย 53 8.9 (54) อินเดีย 55 8.0 (56) ฟิลปปินส์ 57 ิ 1.8 (-) อินโดนีเซีย 58 0.6 US $ 0 200 400 600 800 1,000 1,200 1,400 24
  • 25. การใช้อินเทอร์เน็ตต่อประชากร 1,000 คน เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาค (13) สิงคโปร ์์ เอเชีย-อาเซียน 6 812 (8) ญี่ปน 9 ุ่ 805 (18) ฮ่องกง 10 804 (12) เกาหลี 15 789 (23) ไต้หวัน 25 696 (29) มาเลเซีย 30 635 (53) จีน 51 232 (52)ไทย 53 209 (54) อินโดนีเซีย 55 160 (56) ฟิลปปินส์ 57 ิ 129 (57) อินเดีย 58 107 คน 0 100 200 300 400 500 600 700 800 900 25
  • 26. มหาวิทยาลัย กับภาคธุรกิจ เปรียบเทียบไทยกับภูมิภาคเอเชีย- (3) สิงคโปร์ 5 อาเซียน 6.9 (14) มาเลเซีย 7 6.8 (18) ไต้หวัน 13 6.6 (17) ญี่ปน 19 ุ่ 5.9 (16) ฮ่องกง 21 5.7 (33) เกาหลี 24 5.2 (32) ไทย 31 4.5 (20) อินเดีย 34 4.3 (53) จีน 35 4.2 (25) ฟิลปปินส์ 38 ิ 4.0 (49) อินโดนีเซีย 39 3.9 คะแนน 0.0 1.0 2.0 3.0 4.0 5.0 6.0 7.0 8.0 26
  • 27. 2.ผลสำ ำ รวจเกี ่ ย วกั บ ทั ศ นะคติ และกำรตระหนั ก รู ้ เกี ่ ย วกั บ อำเซี ย น สำ ำ รวจจำกจำ ำ นวนนั ก ศึ ก ษำ 2,170 คน จำกมหำวิ ท ยำลั ย ชั ้ น นำ ำ ในประเทศ
  • 28. ควำมรู ้ ส ึ ก ว่ ำ คุ ณ เป็ น ประชำชนอำเซี ย น 1. ตอบว่ ำ 96.0% ถึ ง มำกที ่ ส ุ ด LAOS มำก 2. Cambodia 92.7% 3. Vietnam 91.7% 4. Malaysia 86.8% 5. Brunei 82.2% 6. Indonesia 73.0% 7. Philippines 69.6% 8. THAILAND 67.0% 9. Myanmar 59.5% 10.Singapore 49.3%
  • 29. ควำมรู ้ เ กี ่ ย วกั บ อำเซี ย น • รู ้ จ ั ก ธงอำเซี ย น • รู ้ ว ่ ำ อำเซี ย นก่ อ 1. Brunei 98.5% 1.ตั ้ ง เมื ่ อ ใด 68.4% Laos 1. Indonesia 92.2% 1. Indonesia 65.6% 1. Laos 87.5% 1. Vietnam 64.7% 1. Myanmar 85.0% 1. Malaysia 53.0% 1. Singapore 81.5% 1. Singapore 47.8% 1. Vietnam 81.3% 1. Brunei 44.3% 1. Malaysia 80.9% 1. Philippines 37.8% 1. Cambodia 63.1% 8. Cambodia 36.6% 1. Philippines 38.6% 1. Myanmar 32.5% 10.THAILAND 38.5% 10. THAILAND 27.5%
  • 30. อยำกรู ้ เ กี ่ ย วกั บ ประเทศอำเซี ย น อื ่ น ๆ ตอบว่ ำ อยำกรู ้ ม ำก ถึ ง มำกที ่ ส ุ ด 1. Laos 100% 1. Cambodia 99.6% 1. Vietnam 98.5% 1. Philippines 97.2% 1. Malaysia 92.9% 1. Indonesia 90.8% 1. THAILAND 87.5% 1. Brunei 86.8% 1. Singapore 84.2% 10. Myanmar 77.8%
  • 31. 3. สถานการณ์ด้านการศึกษา ไทย 1. แรงงานมีการศึกษาระดับ ประถม 21.9 ล้านคน (57.1% ของกำาลัง แรงงาน ทั้งหมด) ระดับ ม.ต้น 5.8 ล้านคน (15.2% ของกำาลังแรงงาน ทั้งหมด) 31
  • 32. 3. ผลสัมฤทธิ์ วิชาหลัก ป.6 ม.3 ม.6 ลดลงตำ่ากว่า 50% และมีความสามารถคิด วิเคราะห์ ร้อยละ 10.4 4. การผลิตกำาลังคนไม่ สอดคล้องกับความต้องการ ทั้งปริมาณและคุณภาพ 32
  • 33. ปีการศึกษา 2552 คะแนนเฉลี่ย O- net ใน 5 กลุ่มสาระ ป.6 คะแนนเฉลี่ยสูงสุดวิชา วิทยาศาสตร์ 38.7 ตำ่าสุดวิชา ภาษาอังกฤษ 31.75 ม.3 คะแนนเฉลี่ยสูงสุดวิชา สังคมศาสตร์ 39.7 ตำ่าสุดวิชา ภาษาอังกฤษ 22.54 ม.6 คะแนนเฉลี่ยสูงสุดวิชา ภาษาไทย 46.47 ตำ่าสุดวิชา 33
  • 34. ปีการศึกษา 2553 คะแนนเฉลี่ย O- net ใน 5 กลุ่มสาระ ป.6 คะแนนเฉลี่ยสูงสุดวิชา สังคมศาสตร์ 47.1 ตำ่าสุดวิชา ภาษาอังกฤษ 21.0 ( 31.75 ) ม.3 คะแนนเฉลี่ยสูงสุดวิชา ภาษาไทย 42.8 ตำ่าสุดวิชาภาษา อังกฤษ 16.2 ( 22.5 ) ม.6 คะแนนเฉลี่ยสูงสุดวิชา สังคมศาสตร์ 46.5 ตำ่าสุดวิชา 34
  • 35. McKinsey Report 2010 “How The World’s Most Improved School Systems Keep Getting Better” • Poor to Fair: เน้นการหนุนให้เด็กสามารถเรียนเลข และอ่านออกเขียนได้ โดยเพิ่มความสามารถครู การ สร้างมาตรฐานขั้นตำ่าของโรงเรียน • Fair to Good: สร้างระบบการเรียนการสอน การ บริหารและการเงินทีดี่ • Good to Great: สร้างครูและผู้บริหารโรงเรียนมือ อาชีพ เทียบเท่ากับแพทย์หรือนักกฎหมาย • Great to Excellent: เน้นการปรับปรุงที่ตัวโรงเรียน มากกว่าส่วนกลาง เน้นนวัตกรรมและแนวทางใหม่ๆ
  • 36. McKinsey Report 2010 “How The World’s Most Improved School Systems Keep Getting Better” • ปัจจัยร่วมสำาหรับการปรับปรุงทุกระดับ – ปรับปรุงหลักสูตรและมาตรฐานการเรียนการ สอน – ปรับค่าตอบแทนครูและผู้บริหารการศึกษาให้ จูงใจผู้มีความสามารถ – เพิมความชำานาญและประสิทธิภาพของครู ่ และผู้บริหารการศึกษา – สร้างระบบข้อมูล ระบบการพัฒนานโยบาย
  • 37. 4. ทิศทางการศึกษาไทยสู่ ประชาคมอาเซียน: 1. การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษ ที่สอง (พ.ศ. 2552 - 2561) 37
  • 38. • กรอบแนวทางการปฏิรปการู ศึกษา 4 ใหม่ พัฒนาคุณภาพคนไทยยุค ใหม่ พัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา และ แหล่งเรียนรูยุคใหม่ ้ พัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการใหม่ 38
  • 39. • การพัฒนาคุณภาพคนไทย ยุคใหม่ ให้มีนิสยใฝ่เรียนรู้ เรียนรู้ได้ด้วย ั ตนเอง แสวงหาความรู้อย่างต่อเนือง ่ ตลอดชีวต สามารถสือสาร คิด ิ ่ วิเคราะห์ แก้ปญหา คิดริเริ่มสร้างสรรค์ ั มีจิตสาธารณะ มีระเบียบวินัย คำานึงถึง ประโยชน์สวนรวม ทำางานเป็นกลุ่มได้ ่ อย่างเป็นกัลยาณมิตร มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสำานึก และความภูมิใจในความเป็นไทย ยึด มั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตย 39 อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
  • 40. • การพัฒนาคุณภาพการศึกษา และเรียนรู้ - พัฒนาและเตรียมความ พร้อมเด็กปฐมวัย - จัดหลักสูตร การเรียน การสอน กิจกรรม การวัดประเมิน ผล เพื่อพัฒนาผู้เรียนรอบด้าน รวม ทังให้มีผลสัมฤทธิทางการเรียนสูง ้ ์ ขึ้น - พัฒนาระบบประกัน คุณภาพภายในทุกระดับ/ประเภท และสนับสนุนประเมินภายนอก เพื่อ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการ 40 ศึกษา
  • 41. • การพัฒนาคุณภาพการศึกษา และเรียนรู้ - พัฒนาคุณภาพ มาตรฐานอาชีวศึกษา - ปฏิรูปอุดมศึกษา เน้น คุณภาพสู่ความเป็นเลิศ จัดกลุ่ม สถาบันตามพันธกิจ พัฒนาการ ศึกษาศิลปะวิทยาศาสตร์ ( liberal Arts Education ) กำาจัดการปลอม แปลงคุณวุฒิและการซื้อขาย ปริญญาบัตร โดยมีมาตรการ ลงโทษทั้งบุคคลและสถาบัน - ส่งเสริมการอนุรักษ์และ 41 ใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง ควบคู่
  • 42. • การผลิตและพัฒนากำาลังคนที่ มีคณภาพ มีสมรรถนะ และ ุ ความรู้ ความสามารถ - พัฒนากรอบมาตรฐาน คุณวุฒิแห่งชาติ เพื่อการรับรอง สมรรถนะ ความรู้ ความสามารถ ของกำาลังคน ผู้สำาเร็จการศึกษาทุก ระดับ/ประเภท - จัดตั้งสถาบันคุณวุฒิ วิชาชีพ - จัดการ อาชีวศึกษา โดยเน้นการปฏิบัติ ขยายทวิภาคี และสหกิจศึกษา - การจัดตั้งสถาบัน 42
  • 44. 4 เป้าหมาย 20 ตัวบ่งชี้ 1. คนไทยและการศึกษาไทย มีคณภาพ และได้มาตรฐาน ุ ระดับสากล 2. คนไทยใฝ่รู้ 3. คนไทยใฝ่ดี 4. คนไทยคิดเป็น ทำาเป็น แก้ ปัญหาได้ 44
  • 45. ตัวบ่งชี้และค่าเป้าหมาย เช่น 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชา หลักจาก การทดสอบระดับชาต มีคะแนนเฉลี่ยมากกว่า ร้อยละ 50 1.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาด้าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร เพิ่มขึ้นเป็นไม่ตำ่ากว่าค่าเฉลีย ่ นานาชาติ (ผลทดสอบ PISA) 45
  • 46. 1.3 ความสามารถด้านภาษา อังกฤษเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 ต่อปี 1.4 ทักษะด้านเทคโนโลยี สารสนเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 ต่อปี 1.5 สัดส่วนผูเรียน ้ มัธยมศึกษาตอนปลายประเภท อาชีวศึกษา : สามัญศึกษา เป็น 60 : 40 1.6 ผูสำาเร็จอาชีวศึกษาและ ้ อุดมศึกษามีคณภาพระดับสากล ุ และเป็นไปตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิ 46
  • 47. ตัวบ่งชี้และค่าเป้าหมาย เช่น 2.1 อัตราการรู้หนังสือของ ประชากร (อายุ 15 - 60 ปี) เป็นร้อยละ 100 2.2 เด็กปฐมวัยไม่ตำ่ากว่าร้อย ละ 75 ได้รับ การอบรมเลี้ยงดูและพัฒนาให้ มีประสบการณ์ 47
  • 48. 2.3 ผู้ด้อยโอกาสได้รับการ ศึกษาอย่าง ครบถ้วน 2.4 คนไทยใช้เวลาอ่าน หนังสือนอกเวลา เรียน/นอก เวลาทำางาน โดยเฉลี่ยอย่าง น้อยวันละ 60 นาที 2.5 สัดส่วนผู้ที่ใช้ อินเทอร์เน็ตเพื่อการ เรียนรู้ ต่อประชากรอายุ 10 ปีขนไปเป็น ึ้ 48
  • 49. 10 นโยบายเร่งด่วน เพื่อขับเคลือน ่ ปฏิรูป ปี 2555 1. พัฒนาให้ผู้เรียนมีทักษะวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี ภาษาไทย ภาษา อังกฤษ ภาษาต่างประเทศอืน และ ICT ่ 2. ปรับหลักสูตร และกระบวนการเรียน การสอน และการประเมินผลรูปแบบใหม่ ตังแต่ปฐมวัยจนตลอดชีวิต โดยเน้น ้ กิจกรรมและปฏิบัตจริงมากขึ้น ( 70 : 30 ) ิ 3. พัฒนาทักษะครูดานวิทยาศาสตร์ ้ 49 คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี ภาษาไทย ภาษา
  • 50. 10 นโยบายเร่งด่วน เพื่อขับเคลือน ่ ปฏิรูป ปี 2555 4. เร่งรัดผลิตครูพันธ์ใหม่ 5. เร่งผลิตครูสาขาขาดแคลนและครู วิชาชีพ สนับสนุนคนไทยในต่างแดน บุคลากรจากภาคอุตสาหกรรมมาเป็นครู 6. สนับสนุนโรงเรียนดีประจำาตำาบล อำาเภอ จังหวัด ระบบเครือข่าย และรร.คู่ พัฒนา ส่งเสริมให้ อปท. เข้ามามีบทบาท มากขึ้น 7. สร้างโอกาสเข้าถึงมาตรฐานการ 50
  • 51. 10 นโยบายเร่งด่วน เพื่อขับเคลือน ่ ปฏิรูป ปี 2555 8. ให้มีข้อตกลงอย่างเป็นทางการ ( MOU ) ระหว่างผู้บริหาร ครู เขตพื้นที่ สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้ เพื่อให้เกิด ความร่วมมือจัดการเรียนรู้ 9. เพิ่มประสิทธิภาพและลดความสูญ เปล่าโรงเรียนขนาดเล็ก 10. สร้างแรงจูงใจให้มผู้เรียน ี อาชีวศึกษามากขึ้น และขยายการจัด อาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สู่กลุมวัย ่ 51 แรงงาน ผู้อยู่นอกภาคแรงงาน ผู้สูงอายุ
  • 52. 2. แผนกำรศึ ก ษำแห่ ง ชำติ ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง (พ.ศ.2553-2559) เป้ ำ หมำยปี 2559 : - ผลสั ม ฤทธิ ์ ท ำงกำรเรี ย นในกลุ ่ ม สำระหลั ก เกิ น กว่ ำ ร้ อ ยละ 50 - สถำนศึ ก ษำร้ อ ยละ 100 ได้ ร ั บ กำร รั บ รองมำตรฐำนจำก สมศ. - จำ ำ นวนปี ก ำรศึ ก ษำเฉลี ่ ย ของคน ไทยเพิ ่ ม สู ง ขึ ้ น จำก 8.7 ปี ใ นปี 2551 เป็ น 12 ปี ใ นปี 2559 - เอกชนเข้ ำ มำร่ ว มจั ด กำรศึ ก ษำ มำกขึ ้ น โดยมรสั ด ส่ ว นผู ้ เ รี ย นระหว่ ำ ง 52
  • 53. นโยบำย : ส่ ง เสริ ม ควำมร่ ว มมื อ ระหว่ ำ งประเทศ ด้ ำ นกำรศึ ก ษำ พั ฒ นำควำมเป็ น สำกลของกำรศึ ก ษำ เพื ่ อ รองรั บ กำรเป็ น ประชำคมอำเซี ย น และเพิ ่ ม ศั ก ยภำพกำรแข่ ง ขั น ของประเทศภำยใต้ ก ระแส โลกำภิ ว ั ต น์ สำมำรถอยู ้ ร ่ ว มกั บ พลโลกอย่ ำ ง สั น ติ ส ุ ข อย่ ำ งพึ ่ ง พำอำศั ย และกื ้ อ กู ล กั น เป้ ำ หมำย : - มี ค วำมร่ ว มมื อ ทำงกำรศึ ก ษำกั บ ประเทศ สมำชิ ก อำเซี ย นและนำนำชำติ ม ำกขึ ้ น - มี ก ำรจั ด หลั ก สู ต รกำรเรี ย นกำรสอน พั ฒ นำ คุ ณ ภำพมำตรฐำนกำรศึ ก ษำที ่ เ ป็ น สำกล - เป็ น ศู น ย์ ก ลำงหรื อ ศู น ย์ เ ครื อ ข่ ำ ยทำงกำร ศึ ก ษำของภู ม ิ ภ ำคอำเซี ย นและนำนำชำติ - มี ก ำรแลกเปลี ่ ย นนั ก เรี ย น นิ ส ิ ต นั ก ศึ ก ษำ คณำจำรย์ นั ก วิ ช ำกำรและนั ก วิ ช ำชี พ แรงงำนมำก 53 ขึ ้ น
  • 54. - ส่ ง เสริ ม กำรพั ฒ นำประเทศไทยให้ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลำงกำรศึ ก ษำ วิ จ ั ย และพั ฒ นำ และกำร ฝึ ก อบรมนำนำชำติ ใ นภู ม ิ ภ ำค (Regional Education Hub) ในสำขำที ่ ม ี ศ ั ก ยภำพในกำร แข่ ง ขั น โดยสนั บ สนุ น สถำบั น อุ ด มศึ ก ษำมี บทบำท - ส่ ง เสริ ม ควำมร่ ว มมื อ ด้ ำ นกำรศึ ก ษำ กั บ ประเทศต่ ำ งๆรวมทั ้ ง องค์ ก ำรระหว่ ำ ง ประเทศทั ้ ง ระดั บ ภู ม ิ ภ ำคและระดั บ สำกล - ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น องค์ ก รและสถำบั น กำรศึ ก ษำของประเทศ ทำ ำ หน้ ำ ที ่ เ ป็ น ศู น ย์ หรื อ เครื อ ข่ ำ ยกำรศึ ก ษำระหว่ ำ งประเทศ ทั ้ ง ในประชำคมอำเซี ย น ภู ม ิ ภ ำค สำกล - ส่ ง เสริ ม กำรวิ จ ั ย และพั ฒ นำกำรศึ ก ษำ54
  • 55. กรอบกำรดำ ำ เนิ น งำน : - ส่ ง เสริ ม กำรเรี ย นกำรสอนภำษำสำกล เป็ น ภำษำที ่ ส อง ตั ้ ง แต่ ร ะดั บ กำรศึ ก ษำขั ้ น พื ้ น ฐำน และกำรเรี ย นรู ้ ภ ำษำที ่ ส ำม เช่ น ภำษำเพื ่ อ นบ้ ำ นในกลุ ่ ม ประเทศอำเซี ย น ภำษำที ่ ส นใจ เป็ น ต้ น ทั ้ ง สื ่ อ สำรและเปิ ด โลก ทั ศ น์ - ส่ ง เสริ ม ให้ ส ถำนศึ ก ษำจั ด หลั ก สู ต ร นำนำชำติ หรื อ หลั ก สู ต รสมทบ หลั ก สู ต รร่ ว ม กั บ สถำบั น ต่ ำ งประเทศ เพื ่ อ ควำมเป็ น สำกล ของกำรศึ ก ษำและรองรั บ ตลำดแรงงำน นำนำชำติ 55
  • 56. - เชื ่ อ มโยงภู ม ิ ป ั ญ ญำไทยกั บ ภู ม ิ ป ั ญ ญำ สำกล - ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น และพั ฒ นำครู คณำจำรย์ ใ ห้ ม ี ค วำมรู ้ ทั ก ษะ และมี บ ทบำท ด้ ำ นกำรศึ ก ษำในองค์ ก ำรระหว่ ำ งประเทศ - กำ ำ หนดมำตรกำรทั ้ ง เชิ ง รุ ก และรั บ เพื ่ อ กำรเปิ ด เสรี ท ำงกำรค้ ำ และบริ ก ำรด้ ำ น กำรศึ ก ษำ ทั ้ ง ระดั บ ทวิ ภ ำคี แ ละพหุ ภ ำคี - เตรี ย มควำมพร้ อ มทั ้ ง ด้ ำ น คน เงิ น เทคโนโลยี ข้ อ มู ล ข่ ำ วสำรและควำมรู ้ เ พื ่ อ เข้ ำ สู ่ ส ั ง คมเศรษฐกิ จ ฐำนควำมรู ้ อ ย่ ำ งรู ้ เ ท่ ำ ทั น 56
  • 57. 3. แนวทางการดำาเนินงานด้านการ ศึกษาในกรอบอาเซียนของไทย 1. เผยแพร่ ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร สร้าง เจตคติที่ดและความตระหนักเกี่ยวกับ ี อาเซียน เพื่อสร้างความตระหนักและ เตรียมความพร้อมของครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา และประชาชน เพื่อก้าวสู่ ประชาคมอาเซียน ภายในปี 2558
  • 58. 2. พัฒนาศักยภาพของนักเรียน นักศึกษา และประชาชนให้มทักษะที่ ี เหมาะสม เพื่อเตรียมความพร้อมใน การก้าวสู่ประชาคมอาเซียน เช่น ความ รูภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน ้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะและความ ชำานาญการที่สอดคล้องกับการปรับตัว และเปลี่ยนแปลงทางอุตสาหกรรมและ การเพิ่มโอกาสในการหางานทำาของ ประชาชน รวมทังการจัดทำาแผนผลิต ้
  • 59. 3. พัฒนามาตรฐานการศึกษาเพื่อส่ง เสริมการหมุนเวียนของนักศึกษาและ ครูอาจารย์ในอาเซียน รวมทังเพื่อให้มี ้ การยอมรับในคุณสมบัตทางวิชาการ ิ ร่วมกันในอาเซียน การส่งเสริมความ ร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษา และ การแลกเปลียนเยาวชน ่ 4. การพัฒนาระบบการศึกษาทางไกล ซึงช่วยสนับสนุนการศึกษาตลอดชีวิต ่ การส่งเสริมและปรับปรุงการศึกษาด้าน
  • 60. 5. การเตรียมความพร้อมเพื่อเปิดเสรี การศึกษาในอาเซียน เพื่อรองรับการ ก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประกอบด้วย การจัดทำาความตกลง ยอมรับร่วมด้านการศึกษา การพัฒนา ความสามารถ ประสบการณ์ในสาขา วิชาชีพสำาคัญต่างๆ เพื่อรองรับการ เปิดเสรีการศึกษา ควบคูกับการเปิดเสรี ่ ด้านการเคลือนย้ายแรงงาน เป็นต้น ่
  • 61. 6. การพัฒนาเยาวชนเพื่อเป็นทรัพยากร สำาคัญ ในการก้าวสูประชาคมอาเซียน เช่น ่ การจัดค่ายนักเรียน นักศึกษา จัดกีฬา มหาวิทยาลัยอาเซียน มหกรรมดนตรี อาเซียน การจัดสัมมนาวิชาการเพื่อ เสริมสร้างบทบาทเยาวชน เปิดโอกาส ให้เยาวชนแสดงความคิดเห็นในการ ก้าวสู่ประชาคมอาเซียน เป็นต้น