SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
ความหมายของ
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินว่า Computare ซึ่งหมายถึง การนับ
หรือ การคานวณ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้
ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า "เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทา
หน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สาหรับแก้ปัญหาต่างๆ ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธี
ทางคณิตศาสตร์"
คอมพิวเตอร์จึงเป็นเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ทางาน
แทนมนุษย์ในด้านการคิดคานวณและสามารถจาข้อมูล ทั้งตัวเลขและ
ตัวอักษรได้เพื่อการเรียกใช้งานในครั้งต่อไป
ลักษณะเด่นของ
คอมพิวเตอร์
เครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้มีจุดเด่น 4 ประการ เพื่อทดแทนข้อจากัดของ
มนุษย์ เรียกว่า 4 S special ดังนี้
1. หน่วยเก็บ (Storage) หมายถึง ความสามารถในการเก็บข้อมูลจานวนมากและ
เป็นเวลานาน นับเป็นจุดเด่นทางโครงสร้างและเป็นหัวใจของการทางานแบบอัตโนมัติ
ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งเป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องด้วย
2. ความเร็ว (Speed) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูล
(Processing Speed) โดยใช้เวลาน้อย เป็นจุดเด่นทางโครงสร้างที่ผู้ใช้
ทั่วไปมีส่วนเกี่ยวข้องน้อยที่สุด เป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่
สาคัญส่วนหนึ่งเช่นกัน
www.themegallery.comLogo
3. ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting) หมายถึง ความสามารถในการ
ประมวลผลข้อมูลตามลาดับขั้นตอนได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่องอย่างอัตโนมัติ
โดยมนุษย์มีส่วนเกี่ยวข้องเฉพาะในขั้นตอนการกาหนดโปรแกรมคาสั่งและ
ข้อมูลก่อนการประมวลผลเท่านั้น
4. ความน่าเชื่อถือ (Sure) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลให้เกิดผล
ลัพธ์ที่ถูกต้อง ความน่าเชื่อถือนับเป็นสิ่งสาคัญที่สุดในการทางานของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ความสามารถนี้เกี่ยวข้องกับโปรแกรมคาสั่งและข้อมูลที่มนุษย์
กาหนดให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง กล่าวคือ หากมนุษย์ป้อนข้อมูลที่ไม่
ถูกต้องให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ก็ย่อมได้ผลลัพธ์ที่ไม่ถูกต้องด้วยเช่นกัน
ประโยชน์ของ
คอมพิวเตอร์
เช่น บริษัท ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า ตลอดจนโรงงานต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการ
ทาบัญชี งานประมวลคา และติดต่อกับหน่วยงานภายนอกผ่านระบบโทรคมนาคม
นอกจากนี้งานอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ก็ใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยในการควบคุมการ
ผลิต และการประกอบชิ้นส่วนของอุปกรณ์ต่างๆ เช่น โรงงานประกอบรถยนต์ ซึ่ง
ทาให้การผลิตมีคุณภาพดีขึ้นบริษัทยังสามารถรับ หรืองานธนาคาร ที่ให้บริการ
ถอนเงินผ่านตู้ฝากถอนเงินอัตโนมัติ ( ATM ) และใช้คอมพิวเตอร์คิดดอกเบี้ย
ให้กับผู้ฝากเงิน และการโอนเงินระหว่างบัญชี เชื่อมโยงกันเป็นระบบเครือข่าย
งานธุรกิจ
สามารถนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในนามาใช้ในส่วนของการคานวณที่
ค่อนข้างซับซ้อน เช่น งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของการ
ส่งจรวดไปสู่อวกาศ หรืองานทะเบียน การเงิน สถิติ และเป็นอุปกรณ์
สาหรับการตรวจรักษาโรคได้ ซึ่งจะให้ผลที่แม่นยากว่าการตรวจด้วยวิธี
เคมีแบบเดิม และให้การรักษาได้รวดเร็วขึ้น
งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข
ในส่วนที่เกี่ยวกับการเดินทาง จะใช้คอมพิวเตอร์ในการจองวันเวลา
ที่นั่ง ซึ่งมีการเชื่อมโยงไปยังทุกสถานีหรือทุกสายการบินได้ ทาให้
สะดวกต่อผู้เดินทางที่ไม่ต้องเสียเวลารอ อีกทั้งยังใช้ในการควบคุม
ระบบการจราจร เช่น ไฟสัญญาณจราจร และ การจราจรทางอากาศ
หรือในการสื่อสารก็ใช้ควบคุมวงโคจรของดาวเทียมเพื่อให้อยู่ในวง
โคจร ซึ่งจะช่วยส่งผลต่อการส่งสัญญาณให้ระบบการสื่อสารมีความ
ชัดเจน
งานคมนาคมและสื่อสาร
สถาปนิกและวิศวกรสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ หรือ
จาลองสภาวะการณ์ ต่างๆ เช่น การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิด
แผ่นดินไหว โดยคอมพิวเตอร์จะคานวณและแสดงภาพสถานการณ์
ใกล้เคียงความจริง รวมทั้งการใช้ควบคุมและติดตามความก้าวหน้าของ
โครงการต่างๆ เช่น คนงาน เครื่องมือ ผลการทางาน
งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม
www.themegallery.comLogo
เป็นหน่วยงานที่มีการใช้คอมพิวเตอร์มากที่สุด โดยมีการใช้หลาย
รูปแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับบทบาทและหน้าที่ของหน่วยงานนั้นๆ เช่น
กระทรวงศึกษาธิการ มีการใช้ระบบประชุมทางไกลผ่านคอมพิวเตอร์ ,
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้จัดระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
เพื่อเชื่อมโยงไปยังสถาบันต่างๆ , กรมสรรพากร ใช้จัดในการจัดเก็บภาษี
บันทึกการเสียภาษี เป็นต้น
งานราชการ
ได้แก่ การใช้คอมพิวเตอร์ทางด้านการเรียนการสอน ซึ่งมีการนา
คอมพิวเตอร์มาช่วยการสอนในลักษณะบทเรียน CAI หรืองานด้าน
ทะเบียน ซึ่งทาให้สะดวกต่อการค้นหาข้อมูลนักเรียน การเก็บข้อมูลยืม
และการส่งคืนหนังสือห้องสมุด
การศึกษา
มนุษย์พยายามสร้างเครื่องมือเพื่อช่วยการคานวณมาตั้งแต่สมัยโบราณ
แล้ว จึงได้พยายามพัฒนาเครื่องมือต่าง ๆ ให้สามารถใช้งานได้ง่ายเพิ่มขึ้น
ตามลาดับ ในระยะ 5,000 ปี ที่ผ่านมา มนุษย์เริ่มรู้จักการใช้นิ้วมือและนิ้วเท้า
ของตน เพื่อช่วยในการคานวณ และพัฒนาเป็นอุปกรณ์อื่น ๆ
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ เริ่มต้นจากวิวัฒนาการของการคานวณ
อุปกรณ์ที่ใช้ในการคานวณ โดยอาจจะเริ่มได้จากการนับจานวนด้วยก้อนหิน,
เศษไม้, กิ่งไม้, การใช้ถ่านขีดเป็นสัญลักษณ์ตามฝาผนัง ทั้งนี้เครื่องคานวณที่
นับเป็นต้นแบบของคอมพิวเตอร์ที่งานในปัจจุบันได้แก่ ลูกคิด (Abacus)
นั่นเอง
ในปัจจุบันการคานวณบางอย่าง ยังใช้ลูกคิดอยู่ถึงแม้นจะมีคอมพิวเตอร์
แท่งเนเปียร์ (Napier's rod) อุปกรณ์คานวณที่ช่วยคูณเลข
คิดค้นโดย จอห์น เนเปียร์ (John Napier : 1550 - 1617)
นักคณิตศาสตร์ชาวสก๊อต มีลักษณะเป็นแท่งไม้ที่ตีเป็นตาราง
และช่องสามเหลี่ยม มีเลขเขียนอยู่บนตาราง
นาฬิกาคานวณ เป็นเครื่องคานวณที่รับอิทธิพลจาก
แท่งเนเปียร์ โดยใช้ตัวเลขของแท่งเนเปียร์บรรจุ
บนทรงกระบอกหกชุด แล้วใช้ฟันเฟืองเป็น
ตัวหมุนทดเวลาคูณเลข ประดิษฐ์โดย
วิลเฮล์ม ชิคการ์ด (1592 - 1635) ซึ่งถือ
ได้ว่าเป็นผู้ที่ประดิษฐ์เครื่องกลไกสาหรับ
คานวณได้เป็นคนแรก
ไม้บรรทัดคานวณ (Slide Rule) วิลเลี่ยม ออทเตรด
(1574 - 1660) ได้นาหลักการลอการิทึมของเนเปียร์มาพัฒนา
เป็น ไม้บรรทัดคานวณ หรือสไลด์รูล โดยการนาค่ลอการิทึม
มาเขียนเป็นสเกลบนแท่งไม้สองอัน เมื่อนามาเลื่อนต่อกัน
ก็จะอ่านค่าเป็นผลคูณหรือผลหารได้ โดยอาศัยการคาดคะเน
ผลลัพธ์
เครื่องคานวณของปาสกาล (Pascal's Pascaline
Calculator) เครื่องคานวณของปาสกาล ประดิษฐ์ในปี 1642
โดย เบลส ปาสกาล (Blaise Pascal :1623 - 1662)
นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส โดยเครื่องคานวณนี้มีลักษณะ
เป็นกล่องสี่เหลี่ยม มีฟันเฟืองสาหรับตั้งและหมุนตัวเลขอยู่
ด้านบน ถือได้ว่าเป็น "เครื่องคานวณใช้เฟืองเครื่องแรก"
ปี ค.ศ. 1801 โจเซฟ แมรี่ แจคคาร์ด (Joseph
Marie Jacuard ) ช่างทอผ้าชาวฝรั่งเศส ได้พัฒนาเครื่อง
ทอผ้าให้ทอลายได้ตามรูปแบบที่ต้องการ โดยการใช้เทป
กระดาษเจาะรูควบคุมการเคลื่อนที่ของเครื่องทอผ้า
www.themegallery.comLogo
www.themegallery.comLogo
ภาพสตรี
ชาวอังกฤษ
www.themegallery.comLogo
อย่างไรก็ตามความคิดของแบบเบจ เกี่ยวกับเครื่องผลต่าง และเครื่องวิเคราะห์ เป็น
ประโยชน์ต่อวงการคอมพิวเตอร์ในยุคต่อมามาก จึงได้รับสมญาว่า "บิดาแห่งคอมพิวเตอร์"
เนื่องจากประกอบด้วยส่วนสาคัญ 4 ส่วน คือ
1. ส่วนเก็บข้อมูล เป็นส่วนที่ใช้ในการเก็บข้อมูลนาเข้าและผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณ
2. ส่วนประมวลผล เป็นส่วนที่ใช้ในการประมวลผลทางคณิตศาสตร์
3. ส่วนควบคุม เป็นส่วนที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายข้อมูลระหว่างส่วนเก็บข้อมูลและส่วน
ประมวลผล
4. ส่วนรับข้อมูลเข้าและแสดงผลลัพธ์ เป็นส่วนที่ใช้รับข้อมูลจากภายนอกเครื่องเข้าสู่ส่วน
เก็บข้อมูล และแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณทาให้เครื่องวิเคราะห์นี้ มีลักษณะใกล้เคียง
กับส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน
วิวัฒนาการ
คอมพิวเตอร์
Mark I เครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ของไอบีเอ็มในปี
1943 บริษัทไอบีเอ็ม (IBM: International Business
Machines Co.,) โดยโธมัส เจ. วัตสัน (Thomas J. Watson) ได้
พัฒนาเครื่องคานวณที่มีความสามารถเทียบเท่ากับคอมพิวเตอร์
เป็นการนาเอาเทคโนโลยีเครื่องวิเคราะห์แบบแบบเบจมา
ปรับปรุง
ENIAC เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกจอห์น
ดับลิว มอชลีย์ (John W. Mauchly) และ เจ เพรสเพอร์ เอค
เกิรต (J. Prespern Eckert) สร้างเครื่องคานวณ ENIAC เมื่อปี
1946 นับว่าเป็น "เครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของ
โลก หรือคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลก" ENIAC เป็นคาย่อ
ของ Electronics Numerical Integrator and Computer
EDVAC หรือ Electronics Discrete Variable
Automatic Computer นับเป็นเครื่อง
คอมพิวเตอร์เครื่องแรก ที่สามารถเก็บคาสั่ง
เอาไว้ทางาน ในหน่วยความจาพัฒนาโดย จอห์น
ฟอน นอยมานน์ (Dr. John Von Neumann)
นักคณิตศาสตร์ชาวฮังการี ร่วมกับทีมมอชลีย์
และเอคเกิรต
UNIVAC เครื่องคอมพิวเตอร์
สาหรับใช้ในงานธุรกิจเครื่องแรกของโลก
มอชลีย์ และเอคเกิรต ในนามบริษัทเรมิงตัน
แรนด์ (Remington Rand) ได้สร้างเครื่อง
คอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งในเวลาต่อมา คือ
UNIVAC (Universal Automatic
Computer) เพื่อใช้งานสามะโนประชากร
ของสหรัฐอเมริกา
ใช่ ไม่ใช่
แบบทดสอบหลังเรียน
เครื่องคานวณเครื่องแรก
ของโลก คือ
เครื่องคอมพิวเตอร์
ใช่หรือไม่?
1
0
ก. ฟอน นอยมานน์ ข. คลิฟฟอร์ด เบอรี
ค. เอดา ออกุสตา ง. ชารลส์ แบบเบจ
บิดาแห่งคอมพิวเตอร์ คือ ใคร?
ให้นักเรียนจับคู่ความหมายที่ตรงกัน
1. งานธุรกิจ A. ลูกคิด
2. บริษัทไอบีเอ็ม B. UNIVAC
3. ชาวจีน C. Mark I
4. คอมพิวเตอร์เครื่องแรก D. ENIAC
ให้นักเรียนจับคู่ภาพ
ให้ตรงกับความหมาย
1. ______________ 2.______________ 3._____________
ลูกคิด
เครื่อง Mark I
เครื่องผลต่าง
เครื่องทอผ้า
เครื่องคิดเลข
ช่วยโยงเส้นจับคู่ให้หน่อยจ้า
1. บิดาคอมพิวเตอร์ เอดา ออกุสตา
2. โปรแกรมเมอร์  ENIAC
3. เครื่องอิเลคทรอนิกส์  ชาวสก็อต
4. ใช้ฟันเฟืองเครื่องแรก ชารลส์ แบบเบจ
5. แท่งเนเปียร์ เบลส ปาสกาล
บทที่1คอมพิวเตอร์

More Related Content

Similar to บทที่1คอมพิวเตอร์

ประวัติของคอมพิวเตอร์ 1
ประวัติของคอมพิวเตอร์ 1ประวัติของคอมพิวเตอร์ 1
ประวัติของคอมพิวเตอร์ 1Natthawan Torkitkarncharern
 
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นบทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นPises Tantimala
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์Sakulrut
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์Sakulrut
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์Sakulrut
 
อานนท์
อานนท์อานนท์
อานนท์Arnon2516
 
กำเนิดคอมพิวเตอร์
กำเนิดคอมพิวเตอร์กำเนิดคอมพิวเตอร์
กำเนิดคอมพิวเตอร์rogozo123
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์phonon701
 
ดช. ภูริปัญญา โสริเวณ แก้0
ดช. ภูริปัญญา โสริเวณ แก้0ดช. ภูริปัญญา โสริเวณ แก้0
ดช. ภูริปัญญา โสริเวณ แก้0lamtan pattawong
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์piyarut084
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์2
ประวัติของคอมพิวเตอร์2ประวัติของคอมพิวเตอร์2
ประวัติของคอมพิวเตอร์2Tewit Chotchang
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์Tewit Chotchang
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์Tewit Chotchang
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นJunya Punngam
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นJunya Punngam
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1warawee
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 

Similar to บทที่1คอมพิวเตอร์ (20)

ประวัติของคอมพิวเตอร์ 1
ประวัติของคอมพิวเตอร์ 1ประวัติของคอมพิวเตอร์ 1
ประวัติของคอมพิวเตอร์ 1
 
ความเป็นมาของคอมพิมเตอร์
ความเป็นมาของคอมพิมเตอร์ความเป็นมาของคอมพิมเตอร์
ความเป็นมาของคอมพิมเตอร์
 
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นบทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
อานนท์
อานนท์อานนท์
อานนท์
 
กำเนิดคอมพิวเตอร์
กำเนิดคอมพิวเตอร์กำเนิดคอมพิวเตอร์
กำเนิดคอมพิวเตอร์
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ดช. ภูริปัญญา โสริเวณ แก้0
ดช. ภูริปัญญา โสริเวณ แก้0ดช. ภูริปัญญา โสริเวณ แก้0
ดช. ภูริปัญญา โสริเวณ แก้0
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์2
ประวัติของคอมพิวเตอร์2ประวัติของคอมพิวเตอร์2
ประวัติของคอมพิวเตอร์2
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 

บทที่1คอมพิวเตอร์