SlideShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน การลดปัญหาการไม่สวมหมวกนิรภัย
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวณัฏฐ์ เศรษฐีธร เลขที่ 11 ชั้น ม.6 ห้อง 9
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม 2
1.นางสาวณัฏฐ์ เศรษฐีธร เลขที่ 11 ชั้น ม.6 ห้อง 9
2.นางสาวสิริภัทร รามณี เลขที่ 24 ชั้น ม.6 ห้อง 9
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การลดปัญหาการไม่สวมหมวกนิรภัยในจังหวัดเชียงใหม่
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Reducing the problem of not wearing a helmet in Chiang Mai
ประเภทโครงงาน โครงงานการสารวจ รวบรวมข้อมูล
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวณัฏฐ์ เศรษฐีธร
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในปัจจุบันการขับขี่บนท้องถนนเป็นสิ่งสาคัญที่ควรระวัง โดยเฉพาะการขับขี่รถจักรยานยนต์ที่ต้องคานึงถึง
ความปลอดภัยของตนเองเป็นหลัก ในการขับขี่ควรจะมีการสวมหมวกนิรภัยเพื่อความปลอดภัยแต่คนเรามักไม่ให้
ความสาคัญกับการสวมหมวกนิรภัย เพราะคิดว่าเป็นการขับขี่เพียงระยะทางสั้นๆ ขี้เกียจใส่ หรือไม่อยากให้ผมเสีย
ทรง แต่ไม่มีการตระหนักถึงความปลอดภัย อาจทาให้เกิดอุบัติเหตุได้ หมวกนิรภัยเป็นอุปกรณ์ที่ช่วยป้องกันศีรษะของ
ผู้ขับขี่ เพื่อรองรับแรงกระแทกเมื่อหัวไปกระแทกกับขอบถนน หรือพื้นแข็งเมื่อเกิดอุบัติเหตุ มีสายรัดคางเพื่อปรับ
ขนาดให้กระชับกับศีรษะ และป้องกันคางแตกได้ ดังนั้นผู้จัดทาโครงงานจึงสนใจที่จะทาโครงงานการลดปัญหาการไม่
ใส่หมวกนิรภัยแต่ศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อเป็นการหาแนวทางลดการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน ส่งเสริมการสวม
หมวกนิรภัยอย่างเคร่งครัด รวมถึงการให้ความรู้ถึงความสาคัญของการสวมหมวกนิรภัย สร้างระเบียบวินัยในการสวม
หมวกนิรภัย และให้คานึงถึงความปลอดภัยในการขับขี่บนท้องถนนเพื่อชีวิตที่ดีขึ้น
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาสถิติการสวมหมวกนิรภัยของคนในเชียงใหม่
2.เพื่อศึกษาการลดลงของอุบัติเหตุจักรยานยนต์ในเชียงใหม่
3.เพื่อศึกษาองค์ประกอบ และคุณสมบัติของหมวกนิรถภัย
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1.สถิติอุบัติเหตุจักรายานยนต์ในเชียงใหม่ของปีล่าสุด
2.สถิติการสวมหมวกนิรภัยในจังหวัดเชียงใหม่ของปีล่าสุด
3
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ย้าเจตนารมณ์องค์กรต้นแบบ การสวมหมวกนิรภัยในการขับขี่รถจักรยานยนต์
หนุนโครงการหมวกกันน็อคล็อกชีวิต
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ สิงฆราช รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ เป็นประธานในพิธีเปิด
กิจกรรม Helmet Day กิจกรรมรณรงค์การสวมหมวกกันน็อก สร้างความปลอดภัยบนท้องถนนในรั้วมหาวิทยาลัย
เพื่อลดจานวนการเกิดอุบัติเหตุ และเป็นส่วนหนึ่งของสังคมคนขับรถดี “หมวกกันน็อกล็อกชีวิต” วันอาทิตย์ ที่ 3
ธันวาคม 2560 ณ ห้องประชุมชั้น 15 อาคาร 90 ปีราชภัฏเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ สิงฆราช รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ รับผิดชอบงานกิจการ
นักศึกษา เปิดเผยว่า หลังจากที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ประกาศเจตนารมณ์องค์กรต้นแบบการสวมหมวกนิรภัย
ในการขับขี่รถจักรยานยนต์ 100 % โดยความร่วมมือขององค์การนักศึกษา สโมสรนักศึกษา และนักศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ทั้งภาคปกติ และภาคพิเศษไปแล้วนั้น ในปีนี้ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ยังคงเน้นย้า
เจตนารมณ์ดังกล่าว และยังคงสานต่อโครงการหมวกกันน็อคล็อกชีวิต สร้างความปลอดภัยบนท้องถนน เพื่อลด
จานวนการเกิดอุบัติเหตุและร่วมเป็นส่วนหนึ่งของสังคมคนขับรถดีสาหรับโครงการรณรงค์หมวกกันน็อคล็อกชีวิตเป็น
โครงการของนักศึกษาภาควิชานิเทศศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ เป็นหนึ่งใน 10 ผลงานรอบสุดท้ายของนิสิต
นักศึกษาจากทั่วประเทศที่เข้าร่วมการประกวดแผนประชาสัมพันธ์และรณรงค์สร้างความปลอดภัยบนท้องถนนในรั้ว
มหาวิทยาลัย นับเป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือที่ดาเนินการโดยมีนักศึกษาเป็นผู้ขับเคลื่อน เพื่อส่งเสริมการสวม
หมวกนิรภัยอย่างเคร่งครัด รวมถึงการให้ความรู้ถึงความสาคัญของการสวมหมวกนิรภัยไปยังชุมชนโดยรอบ
มหาวิทยาลัย ตลอดจนการให้ความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายด้านความปลอดภัยทางถนน เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายแห่ง
ทศวรรษความปลอดภัยทางถนนของประเทศในการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับหมวกกันน็อค
ข้อเท็จจริงจากผลการศึกษาผู้บาดเจ็บจากการใช้รถจักรยานยนต์ในประเทศไทย และต่างประเทศยืนยันชัดเจน
ตรงกัน การสวมหมวกนิรภัยสามารถช่วยได้ คือ
1.ช่วยลดความเสี่ยง และความรุนแรงของการบาดเจ็บที่ศีรษะลงได้ 72%
2.ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตได้ถึง 39% ในกรณีที่ใช้ความเร็วไม่สูงมากนักขณะเกิดอุบัติเหตุ
3.ลดค่ารักษาพยาบาล และลดจานวนวันที่ต้องพักรักษาตัวในโรงพยาบาล
กลไกการทางานของหมวกกันน็อค
การป้องกันและลดแรงกระแทกขั้นแรกของหมวกกันน็อค เริ่มที่ส่วนเปลือกนอกของหมวกซึ่งจะออกแบบให้ผลิตจาก
วัสดุที่มีความแข็งแรงทนทานต่อแรงกระแทก และสามารถจัดการกับพลังงานที่เกิดขึ้นจากการชน จากนั้นจะเป็น
หน้าที่ของวัสดุภายในหมวกกันน็อคซึ่งมักทาจากโฟมซึ่งมีคุณสมบัติพิเศษ สามารถยืดหยุ่นได้เมื่อถูกกระแทก โดย
สามารถดูดซับ และกระจายแรงกระแทกอันจะช่วยยืดช่วงเวลาก่อนที่ศีรษะจะหยุดการเคลื่อนไหวออกไปอีกประมาณ
6 มิลลิวินาที ซึ่งแม้จะเป็นระยะเวลาที่สั้นมากแต่ก็มีประโยชน์มาก เพราะสามารถช่วยลดแรงกระแทกไม่ให้ไปรวม ณ
พื้นที่เล็กๆ ส่วนใดส่วนหนึ่งของกะโหลกศีรษะ ลดแรงกระแทกต่อเนื้อสมองโดยรวม ลดแรงหมุน ตลอดจนลดความตึง
เครียดภายในได้
4
องค์ประกอบของหมวกกันน็อค
เปลือกนอก - ทาจากวัสดุชนิดพิเศษ จะต้องแข็งแรง น้าหนักเบา เพื่อสามารถทนแรงกระแทกจากของแข็ง และของมี
คมได้โดยไม่แตก หรือทะลุได้ง่าย
รองใน - เป็นชั้นบุที่ทามาจากวัสดุที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเป็นพิเศษ มีคุณสมบัติอ่อนนุ่ม ยืดหยุ่น ความหนาแน่นสูง
สามารถรับและกระจายแรงกระแทกได้ดี ส่วนใหญ่ทาจากแผ่นโฟมชนิดโพลีสไตรีนที่ยืดออก หรือเรียกว่า "สไตโรโฟม"
แผ่นกันลม - ติดอยู่ด้านหน้าของหมวกกันน็อค สาหรับป้องกันแสง ฝุ่น ฝน แมลง ฯลฯ ที่จะเข้าตาในขณะขับขี่
รถจักรยานยนต์ มีทั้งชนิดใส เพื่อใช้ในเวลากลางคืน และชนิดทึบเพื่อใช้ในเวลากลางวันที่มีแดดจัด สามารถถอด
เปลี่ยนได้
เบาะหุ้มภายใน - ส่วนประกอบที่เพิ่มความอ่อนนุ่มขณะสวมใส่ สามารถถอดออกได้เพื่อทาความสะอาด
สายรัดคาง - ทาหน้าที่รัดให้หมวกกันน็อคติดแนบกับศีรษะไม่หลุดง่าย แต่ต้องรัดให้ถูกวิธี หากรัดไว้หลวมๆ หรือไม่
รัด หมวกอาจหลุดออกจากศีรษะโดยง่ายเป็นเหตุให้ศีรษะยังคงเสี่ยงที่จะได้รับอันตราย และบาดเจ็บเสมือนไม่ได้สวม
หมวก
ช่องระบายอากาศ - ทาหน้าที่ถ่ายเทความร้อนภายในหมวกให้ผู้สวมใส่รู้สึกสบายขณะที่สวมใส่ จะต้องมีขนาดไม่เกิน
1 เซ็นติเมตร และต้องออกแบบอยู่ในตาแหน่งที่ปลอดภัย
ทาไมหมวกนิรภัยจาเป็น สาหรับผู้ขับขี่ และโดยสารรถจักรยานยนต์
เคยทราบไหมว่าเมืองไทยมีจักรยานยนต์มากเป็นอันดับที่ 8 ของโลก หรือ 17ล้านคัน จักรยานยนต์ เป็นหนึ่งใน
ยานพาหนะที่ได้รับความนิยมและ มีการใช้อย่างแพร่หลายทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศไทย คนไทยใช้ จักรยานยนต์
มากที่สุดเป็นอันดับ 8 ของโลก ราว 17 ล้านคัน คิดเป็น ร้อยละ 62 ของรถจดทะเบียนสะสมทั้งหมดของประเทศ
สัดส่วนการ ถือครองจักรยานยนต์สูงถึง 4 คนต่อคัน เพราะราคาไม่แพงและมีความ คล่องตัวในการใช้ “หมวกนิรภัย”
ใส่ก่อนบิด
เราทราบไหมว่า..รถจักรยานยนต์ คือ.ภัยเงียบ ที่...คร่าชีวิตคนไทยชั่วโมงละ 1 คน และทุก 2 ชั่วโมงจะมี
ผู้พิการเพิ่มขึ้น อีก1 คน
• ประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนเฉลี่ยวันละ 30 คน ร้อยละ 70 - 80 เกิดจากขับขี่และซ้อนท้าย
รถจักรยานยนต์
• เฉลี่ยผู้เสียชีวิตจากการขับขี่และซ้อนท้ายจักรยานยนต์ อยู่ที่ ประมาณวันละ 24 คน หรือในแต่ละชั่วโมง มีผู้เสียชีวิต
1 คน
• ขณะที่ข้อมูลการเฝ้าระวังการบาดเจ็บของกระทรวงสาธารณสุข ผู้บาดเจ็บที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลกว่าปีละ
1 แสนคน โดยร้อยละ 6 กลายเป็นผู้พิการ ครึ่งหนึ่งของการบาดเจ็บรุนแรง เป็นการบาดเจ็บที่ ศีรษะ
• เฉลี่ยในทุก 2 ชั่วโมงจะมีผู้พิการเพิ่มขึ้น 1 คน
5
“หมวกกันน็อค” ช่วยชีวิตได้จริงหรือ?
ข้อเท็จจริง จากผลการศึกษาผู้บาดเจ็บจากการใช้รถจักรยานยนต์ในประเทศ ไทยและต่างประเทศยืนยันชัดเจน
ตรงกัน การสวมหมวกนิรภัยจะช่วย • ลดความเสี่ยงและความรุนแรงของการบาดเจ็บที่ศีรษะลงได้ 72%
• ลดความเสี่ยงการเสียชีวิตได้ถึง 39% ในกรณีที่ใช้ความเร็วไม่ สูงมากนักขณะเกิดอุบัติเหตุ
• ลดค่ารักษาพยาบาลและลดจานวนวันที่ต้องพักรักษาตัวในโรง พยาบาล
หมวกกันน็อคดี...เลือกอย่างไร
1. หมวกกันน็อคแบบปิดเต็มหน้าดีที่สุด บังลม กันฝุ่น ให้ความ ปลอดภัยทั้งศีรษะ ไม่ต้องกลัวหายใจไม่ออกหรือไม่ได้
ยินเสียง เพราะมี การเจาะรูไว้ให้เรียบร้อยแล้ว
2. เลือกหมวกกันน็อคที่มีตรามาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.369- 2539) ที่อยู่ของผู้ผลิตที่มีรายชื่อว่าได้รับมาตรฐาน
ของสมอ. และคา แนะนาวิธีใช้ หมวกที่มีตราสมอ.อย่างเดียว ของปลอมแน่นอน ใครก็ทาได้ สติ๊กเกอร์ง่าย ๆ
3. หมวกมีมาตรฐานแต่ละแบบน้าหนักจะมากกว่าหมวกกันน็อคที่ ไม่ได้มาตฐานเล็กน้อย ไม่ถึงกับทาให้หนักศีรษะ ใส่
ไปนาน ๆ ก็คุ้นเอง
4. ของแถมของฟรีที่จากร้านขายรถจักรยานยนต์ อาจเป็นหมวกที่ ไม่มีมาตรฐาน ใช้แล้วอาจยุบหรือเจ็บตัวได้แม้เกิด
อุบัติเหตุไม่รุนแรงก็ตาม
5. เลือกสีที่ทาให้เห็นเด่นชัดแต่ไกล ไม่ต้องกลัวตารวจจะจาได้ง่าย ห่วงเรื่องความปลอดภัยดีกว่า เช่น สีเหลือง ส้ม
แดง รถอื่นเห็นง่ายเขาจะได้ระวัง
6. หมวกดีแค่ไหน แต่ถ้าไม่รัดสายรัดคาง หรือสวมหมวกแบบใส่ หัวโขนก็ไม่มีประโยชน์ เพราะหากเกิดอุบัติเหตุ
หมวกจะกระเด็นออกจาก ศีรษะ ไม่สามารถป้องกันการบาดเจ็บได้
7. ความเร็ว ที่ค่อนข้างปลอดภัยในการขับขี่ไม่ควรเกิน 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เป็นความเร็วที่หมวกกันน็อคที่ได้
มาตรฐานพอจะรับ ได้ หากใช้ความเร็วสูงกว่านี้ อย่าประมาท เป็นดีที่สุด และถ้าเกิน 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมงขึ้นไป นั่น
เท่ากับว่าคุณกาลังขับจักรยานยนต์บนเส้น ด้ายไหม้ไฟแล้วล่ะ
จากการศึกษาเปรียบเทียบข้อมูลจานวนประชากรและจานวนบ้านเรือน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
และข้อมูลจานวนรถจดทะเบียน กรมการขนส่งทางบก กระทรวงคมนาคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 พบว่าประเทศ
ไทยมีจานวนประชากรทั้งสิ้นเท่ากับ 63,525,062 คน (ผู้หญิง 32,231,966 คน ผู้ชาย 31,293,096 คน) มีจานวน
บ้านเรือนรวมทั้งสิ้น 21,143,975 หลัง ส่วนจานวนรถจดทะเบียนสะสมทั้งสิ้น 27,184,577 คัน เป็น
รถจักรยานยนต์ 16,706,451 คัน (แยกเป็นรถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล 16,549,307 คัน รถจักรยานยนต์
สาธารณะ 157,144 คัน) คิดเป็นร้อยละ 61.45 ของจานวนรถทั้งหมด เฉลี่ยแล้วสัดส่วนการใช้รถจักรยานยนต์ของคน
ไทย 4 คนต่อรถจักรยานยนต์ 1 คัน หรือเกือบทุกหลังคาเรือนมีรถจักรยานยนต์ใช้ 1 คัน
เมื่อความนิยมในการใช้รถจักรยานยนต์มีเป็นจานวนมาก และกระจายอยู่ทั่วทุกพื้นที่ในประเทศไทย
ผลกระทบร้ายแรงที่เกิดขึ้นตามมาอย่างเห็นได้ชัดเจน คือ ปัญหาอุบัติเหตุทางถนน ซึ่งข้อมูลจากหลายแหล่งยืนยัน
ตรงกันว่า “รถจักรยานยนต์” เป็นยานพาหนะที่เกิดอุบัติเหตุทางถนนมากที่สุด ถึงแม้จะแสดงจานวนที่แตกต่างกันไป
ตามลักษณะของการเก็บข้อมูลก็ตาม ข้อมูลจากโรงพยาบาลเครือข่ายเฝ้าระวังการบาดเจ็บระดับชาติ 28 แห่ง ซึ่งเป็น
ข้อมูลผู้บาดเจ็บรุนแรงจากอุบัติเหตุทางถนน พบว่า ยานพาหนะของผู้บาดเจ็บ เป็นรถจักรยานยนต์มากที่สุด คิดเป็น
ร้อยละ 83.20 รองลงมา คือ รถกระบะหรือรถตู้ ร้อยละ 7.03 และรถจักรยานและสามล้อ ร้อยละ 4.20 ข้อมูลจาก
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศกลาง สานักงานตารวจแห่งชาติ พบว่า ยานพาหนะที่เกิดอุบัติเหตุมากที่สุด คือ
รถจักรยานยนต์ ร้อยละ 41.69 รองลงมาคือ รถยนต์ส่วนบุคคล ร้อยละ 24.89 และรถปิกอัพ ร้อยละ 17.63
และข้อมูลจากศูนย์อานวยการความปลอดภัยทางถนน รายงานอุบัติเหตุทางถนนในช่วงเทศกาลปีใหม่และ
สงกรานต์ พบว่า รถจักรยานยนต์เป็นยานพาหนะที่เกิดอุบัติเหตุมากที่สุด ร้อยละ 85 – 87 และลักษณะการบาดเจ็บ
ของผู้ที่ใช้รถจักรยานยนต์ส่วนใหญ่ พบว่า แขนขาเป็นอวัยวะที่มีการบาดเจ็บมากที่สุด รองลงไปคือ ศีรษะและคอ แต่
6
สาหรับในรายที่พิการและเสียชีวิต พบว่า มีการบาดเจ็บรุนแรงที่ศีรษะและคอมากที่สุด นอกจากนี้พฤติกรรมเสี่ยง
สาคัญของผู้บาดเจ็บจากการใช้รถจักรยานยนต์ ยังพบว่า ส่วนใหญ่เป็นผู้ขับขี่ร้อยละ 89 มีการดื่มเครื่องดื่ม
แอลกอฮอล์มากถึงร้อยละ 43.99 และไม่ได้สวมหมวกนิรภัยมากถึงร้อยละ 86.21 (ผู้ขับขี่ไม่สวมหมวกนิรภัยร้อย
ละ 84.30 ผู้โดยสารไม่สวมหมวกนิรภัยร้อยละ 93.87)
การสวมหมวกนิรภัยในผู้ใช้รถจักรยานยนต์ เป็นที่ยอมรับโดยข้อมูลจากการศึกษาวิจัยในหลายประเทศ
ว่า สามารถป้องกันการตายหรือการบาดเจ็บสาหัสจากอุบัติเหตุจากการขับขี่รถจักรยานยนต์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-การศึกษาที่สหรัฐอเมริกา โดย Johnson et al.,1996 พบว่า การสวมหมวกนิรภัย
ลดการบาดเจ็บทางสมองได้ร้อยละ 67
-การศึกษาที่อิตาลี โดย Servadei et al.2003 พบว่า การสวมหมวกนิรภัยลดการ
บาดเจ็บทางสมองได้ร้อยละ 30 ในทวีปเอเชีย
-การศึกษาที่ประเทศไทย โดย วีระ กสานติกุล (2002) พบว่า ผู้ที่ไม่สวมหมวก
นิรภัยมีโอกาสบาดเจ็บทางสมองสูงกว่าผู้ที่สวมหมวกนิรภัยถึง 6 เท่า
-การศึกษาของ Deuterman (2004) พบว่า การสวมหมวกนิรภัยช่วยลดการตาย
จากอุบัติเหตุรถจักรยานยนต์ได้ร้อยละ 37
ในประเทศไทยได้มีการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาหมวกนิรภัยทั่วประเทศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 แต่ใน
สภาพความเป็นจริงพบว่า ผู้ขับขี่และผู้โดยสารรถจักรยานยนต์ยังมีการสวมหมวกนิรภัยอยู่ในเกณฑ์ที่ค่อนข้างต่ามาก
จากข้อมูลการสารวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บของสานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวง
สาธารณสุข ปี พ.ศ. 2550 พบว่า ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์มีการสวมหมวกนิรภัย ร้อยละ 54.0 ส่วนผู้โดยสารมีการสวม
หมวกนิรภัยเพียงร้อยละ 30.9 เท่านั้น
ถึงแม้ปัจจุบันรัฐบาลจะให้ความสาคัญในการแก้ปัญหาอุบัติเหตุทางถนน โดยมีการประกาศนโยบายและ
กาหนดมาตรการต่างๆ หลายมาตรการ หรือแม้กระทั่งจะมีการประกาศขององค์การสหประชาชาติให้ปี ค.ศ. 2011 –
2020 เป็นปีทศวรรษแห่งความปลอดภัยบนท้องถนน โดยตั้งเป้าหมายในการลดอัตราการตายจากอุบัติเหตุทางถนน
ให้ลดลงร้อยละ 50 โดยขอความร่วมมือจากประเทศสมาชิกทุกประเทศ ซึ่งหนึ่งในมาตรการหรือแนวทางหลักในการ
ดาเนินงาน คือ การใช้หมวกนิรภัยกับรถจักรยานยนต์ก็ตาม ที่ผ่านมาหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ได้มี
กิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัยบ้างเป็นบางช่วง บางสถานการณ์หรือลงลึกในบางพื้นที่ แต่ยังไม่มีการ
พบว่า เกิดเป็นกระแสสังคมไทยที่กว้างขวางและเห็นผลอย่างเป็นรูปธรรม
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
-ปรึกษาเลือกหัวข้อ
-นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
-ศึกษารวบรวมข้อมูล
-จัดทารายงาน
-ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-คอมพิวเตอร์
-อินเตอร์เน็ต
7
-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.ผู้ศึกษาได้รับความเข้าในในหัวข้อโครงงานมากขึ้น
2.สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้
3.สามารถนาความรู้ไปเผยแพร่เพื่อประโยชน์ของสังคมได้
สถานที่ดาเนินการ
ห้องเรียนคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา (หน้าที่พลเมือง)
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
http://civil.eng.cmu.ac.th/research/in/2555/2353 (สืบค้นเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2561)
https://www.cmru.ac.th/news/2171- (สืบค้นเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2561)
https://www.checkraka.com/knowledge/motorcycle-15- (สืบค้นเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2561)
http://www.roadsafetythai.org/uploads/userfiles/file_20150819055001.pdf (สืบค้นเมื่อวันที่ 22
พฤศจิกายน 2561)
http://www.thaihealth.or.th/Content/21242- (สืบค้นเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2561)
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน

More Related Content

Similar to Nat

โครงร่างโครงงาน Interesting expressions in english
โครงร่างโครงงาน Interesting expressions in englishโครงร่างโครงงาน Interesting expressions in english
โครงร่างโครงงาน Interesting expressions in englishnatjira
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
midfill69
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI 2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
เซฟ หัวเกรียน
 
10
1010
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
praewaphrueksawan
 
งานเดี่ยว
งานเดี่ยวงานเดี่ยว
งานเดี่ยว
09nattakarn
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Ajchariya Sitthikaew
 
Natnicha 2561-project
Natnicha 2561-projectNatnicha 2561-project
Natnicha 2561-project
muthita jantapatad
 
Water problem
Water problemWater problem
Water problem
KamontipKumjen
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
Kalyarat Kanyano
 
โครงร่างโครงงาน Interesting expressions in english
โครงร่างโครงงาน Interesting expressions in englishโครงร่างโครงงาน Interesting expressions in english
โครงร่างโครงงาน Interesting expressions in englishnatjira
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์4315609
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ninjynoppy39
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
Sirada Thipdararat
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
Sirada Thipdararat
 
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Guy Prp
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
mintra_duangsamorn
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
Brian Fristline
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
ต่อ ขี้เกียจ
 
Chon;acahrt monta sarong
Chon;acahrt  monta sarongChon;acahrt  monta sarong
Chon;acahrt monta sarong
pichayarakdeekhankam
 

Similar to Nat (20)

โครงร่างโครงงาน Interesting expressions in english
โครงร่างโครงงาน Interesting expressions in englishโครงร่างโครงงาน Interesting expressions in english
โครงร่างโครงงาน Interesting expressions in english
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI 2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
 
10
1010
10
 
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานเดี่ยว
งานเดี่ยวงานเดี่ยว
งานเดี่ยว
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Natnicha 2561-project
Natnicha 2561-projectNatnicha 2561-project
Natnicha 2561-project
 
Water problem
Water problemWater problem
Water problem
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
โครงร่างโครงงาน Interesting expressions in english
โครงร่างโครงงาน Interesting expressions in englishโครงร่างโครงงาน Interesting expressions in english
โครงร่างโครงงาน Interesting expressions in english
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
Chon;acahrt monta sarong
Chon;acahrt  monta sarongChon;acahrt  monta sarong
Chon;acahrt monta sarong
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

Nat

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน การลดปัญหาการไม่สวมหมวกนิรภัย ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวณัฏฐ์ เศรษฐีธร เลขที่ 11 ชั้น ม.6 ห้อง 9 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 2 1.นางสาวณัฏฐ์ เศรษฐีธร เลขที่ 11 ชั้น ม.6 ห้อง 9 2.นางสาวสิริภัทร รามณี เลขที่ 24 ชั้น ม.6 ห้อง 9 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การลดปัญหาการไม่สวมหมวกนิรภัยในจังหวัดเชียงใหม่ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Reducing the problem of not wearing a helmet in Chiang Mai ประเภทโครงงาน โครงงานการสารวจ รวบรวมข้อมูล ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวณัฏฐ์ เศรษฐีธร ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในปัจจุบันการขับขี่บนท้องถนนเป็นสิ่งสาคัญที่ควรระวัง โดยเฉพาะการขับขี่รถจักรยานยนต์ที่ต้องคานึงถึง ความปลอดภัยของตนเองเป็นหลัก ในการขับขี่ควรจะมีการสวมหมวกนิรภัยเพื่อความปลอดภัยแต่คนเรามักไม่ให้ ความสาคัญกับการสวมหมวกนิรภัย เพราะคิดว่าเป็นการขับขี่เพียงระยะทางสั้นๆ ขี้เกียจใส่ หรือไม่อยากให้ผมเสีย ทรง แต่ไม่มีการตระหนักถึงความปลอดภัย อาจทาให้เกิดอุบัติเหตุได้ หมวกนิรภัยเป็นอุปกรณ์ที่ช่วยป้องกันศีรษะของ ผู้ขับขี่ เพื่อรองรับแรงกระแทกเมื่อหัวไปกระแทกกับขอบถนน หรือพื้นแข็งเมื่อเกิดอุบัติเหตุ มีสายรัดคางเพื่อปรับ ขนาดให้กระชับกับศีรษะ และป้องกันคางแตกได้ ดังนั้นผู้จัดทาโครงงานจึงสนใจที่จะทาโครงงานการลดปัญหาการไม่ ใส่หมวกนิรภัยแต่ศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อเป็นการหาแนวทางลดการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน ส่งเสริมการสวม หมวกนิรภัยอย่างเคร่งครัด รวมถึงการให้ความรู้ถึงความสาคัญของการสวมหมวกนิรภัย สร้างระเบียบวินัยในการสวม หมวกนิรภัย และให้คานึงถึงความปลอดภัยในการขับขี่บนท้องถนนเพื่อชีวิตที่ดีขึ้น วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาสถิติการสวมหมวกนิรภัยของคนในเชียงใหม่ 2.เพื่อศึกษาการลดลงของอุบัติเหตุจักรยานยนต์ในเชียงใหม่ 3.เพื่อศึกษาองค์ประกอบ และคุณสมบัติของหมวกนิรถภัย ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1.สถิติอุบัติเหตุจักรายานยนต์ในเชียงใหม่ของปีล่าสุด 2.สถิติการสวมหมวกนิรภัยในจังหวัดเชียงใหม่ของปีล่าสุด
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ย้าเจตนารมณ์องค์กรต้นแบบ การสวมหมวกนิรภัยในการขับขี่รถจักรยานยนต์ หนุนโครงการหมวกกันน็อคล็อกชีวิต ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ สิงฆราช รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ เป็นประธานในพิธีเปิด กิจกรรม Helmet Day กิจกรรมรณรงค์การสวมหมวกกันน็อก สร้างความปลอดภัยบนท้องถนนในรั้วมหาวิทยาลัย เพื่อลดจานวนการเกิดอุบัติเหตุ และเป็นส่วนหนึ่งของสังคมคนขับรถดี “หมวกกันน็อกล็อกชีวิต” วันอาทิตย์ ที่ 3 ธันวาคม 2560 ณ ห้องประชุมชั้น 15 อาคาร 90 ปีราชภัฏเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ สิงฆราช รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ รับผิดชอบงานกิจการ นักศึกษา เปิดเผยว่า หลังจากที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ประกาศเจตนารมณ์องค์กรต้นแบบการสวมหมวกนิรภัย ในการขับขี่รถจักรยานยนต์ 100 % โดยความร่วมมือขององค์การนักศึกษา สโมสรนักศึกษา และนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ทั้งภาคปกติ และภาคพิเศษไปแล้วนั้น ในปีนี้ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ยังคงเน้นย้า เจตนารมณ์ดังกล่าว และยังคงสานต่อโครงการหมวกกันน็อคล็อกชีวิต สร้างความปลอดภัยบนท้องถนน เพื่อลด จานวนการเกิดอุบัติเหตุและร่วมเป็นส่วนหนึ่งของสังคมคนขับรถดีสาหรับโครงการรณรงค์หมวกกันน็อคล็อกชีวิตเป็น โครงการของนักศึกษาภาควิชานิเทศศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ เป็นหนึ่งใน 10 ผลงานรอบสุดท้ายของนิสิต นักศึกษาจากทั่วประเทศที่เข้าร่วมการประกวดแผนประชาสัมพันธ์และรณรงค์สร้างความปลอดภัยบนท้องถนนในรั้ว มหาวิทยาลัย นับเป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือที่ดาเนินการโดยมีนักศึกษาเป็นผู้ขับเคลื่อน เพื่อส่งเสริมการสวม หมวกนิรภัยอย่างเคร่งครัด รวมถึงการให้ความรู้ถึงความสาคัญของการสวมหมวกนิรภัยไปยังชุมชนโดยรอบ มหาวิทยาลัย ตลอดจนการให้ความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายด้านความปลอดภัยทางถนน เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายแห่ง ทศวรรษความปลอดภัยทางถนนของประเทศในการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับหมวกกันน็อค ข้อเท็จจริงจากผลการศึกษาผู้บาดเจ็บจากการใช้รถจักรยานยนต์ในประเทศไทย และต่างประเทศยืนยันชัดเจน ตรงกัน การสวมหมวกนิรภัยสามารถช่วยได้ คือ 1.ช่วยลดความเสี่ยง และความรุนแรงของการบาดเจ็บที่ศีรษะลงได้ 72% 2.ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตได้ถึง 39% ในกรณีที่ใช้ความเร็วไม่สูงมากนักขณะเกิดอุบัติเหตุ 3.ลดค่ารักษาพยาบาล และลดจานวนวันที่ต้องพักรักษาตัวในโรงพยาบาล กลไกการทางานของหมวกกันน็อค การป้องกันและลดแรงกระแทกขั้นแรกของหมวกกันน็อค เริ่มที่ส่วนเปลือกนอกของหมวกซึ่งจะออกแบบให้ผลิตจาก วัสดุที่มีความแข็งแรงทนทานต่อแรงกระแทก และสามารถจัดการกับพลังงานที่เกิดขึ้นจากการชน จากนั้นจะเป็น หน้าที่ของวัสดุภายในหมวกกันน็อคซึ่งมักทาจากโฟมซึ่งมีคุณสมบัติพิเศษ สามารถยืดหยุ่นได้เมื่อถูกกระแทก โดย สามารถดูดซับ และกระจายแรงกระแทกอันจะช่วยยืดช่วงเวลาก่อนที่ศีรษะจะหยุดการเคลื่อนไหวออกไปอีกประมาณ 6 มิลลิวินาที ซึ่งแม้จะเป็นระยะเวลาที่สั้นมากแต่ก็มีประโยชน์มาก เพราะสามารถช่วยลดแรงกระแทกไม่ให้ไปรวม ณ พื้นที่เล็กๆ ส่วนใดส่วนหนึ่งของกะโหลกศีรษะ ลดแรงกระแทกต่อเนื้อสมองโดยรวม ลดแรงหมุน ตลอดจนลดความตึง เครียดภายในได้
  • 4. 4 องค์ประกอบของหมวกกันน็อค เปลือกนอก - ทาจากวัสดุชนิดพิเศษ จะต้องแข็งแรง น้าหนักเบา เพื่อสามารถทนแรงกระแทกจากของแข็ง และของมี คมได้โดยไม่แตก หรือทะลุได้ง่าย รองใน - เป็นชั้นบุที่ทามาจากวัสดุที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเป็นพิเศษ มีคุณสมบัติอ่อนนุ่ม ยืดหยุ่น ความหนาแน่นสูง สามารถรับและกระจายแรงกระแทกได้ดี ส่วนใหญ่ทาจากแผ่นโฟมชนิดโพลีสไตรีนที่ยืดออก หรือเรียกว่า "สไตโรโฟม" แผ่นกันลม - ติดอยู่ด้านหน้าของหมวกกันน็อค สาหรับป้องกันแสง ฝุ่น ฝน แมลง ฯลฯ ที่จะเข้าตาในขณะขับขี่ รถจักรยานยนต์ มีทั้งชนิดใส เพื่อใช้ในเวลากลางคืน และชนิดทึบเพื่อใช้ในเวลากลางวันที่มีแดดจัด สามารถถอด เปลี่ยนได้ เบาะหุ้มภายใน - ส่วนประกอบที่เพิ่มความอ่อนนุ่มขณะสวมใส่ สามารถถอดออกได้เพื่อทาความสะอาด สายรัดคาง - ทาหน้าที่รัดให้หมวกกันน็อคติดแนบกับศีรษะไม่หลุดง่าย แต่ต้องรัดให้ถูกวิธี หากรัดไว้หลวมๆ หรือไม่ รัด หมวกอาจหลุดออกจากศีรษะโดยง่ายเป็นเหตุให้ศีรษะยังคงเสี่ยงที่จะได้รับอันตราย และบาดเจ็บเสมือนไม่ได้สวม หมวก ช่องระบายอากาศ - ทาหน้าที่ถ่ายเทความร้อนภายในหมวกให้ผู้สวมใส่รู้สึกสบายขณะที่สวมใส่ จะต้องมีขนาดไม่เกิน 1 เซ็นติเมตร และต้องออกแบบอยู่ในตาแหน่งที่ปลอดภัย ทาไมหมวกนิรภัยจาเป็น สาหรับผู้ขับขี่ และโดยสารรถจักรยานยนต์ เคยทราบไหมว่าเมืองไทยมีจักรยานยนต์มากเป็นอันดับที่ 8 ของโลก หรือ 17ล้านคัน จักรยานยนต์ เป็นหนึ่งใน ยานพาหนะที่ได้รับความนิยมและ มีการใช้อย่างแพร่หลายทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศไทย คนไทยใช้ จักรยานยนต์ มากที่สุดเป็นอันดับ 8 ของโลก ราว 17 ล้านคัน คิดเป็น ร้อยละ 62 ของรถจดทะเบียนสะสมทั้งหมดของประเทศ สัดส่วนการ ถือครองจักรยานยนต์สูงถึง 4 คนต่อคัน เพราะราคาไม่แพงและมีความ คล่องตัวในการใช้ “หมวกนิรภัย” ใส่ก่อนบิด เราทราบไหมว่า..รถจักรยานยนต์ คือ.ภัยเงียบ ที่...คร่าชีวิตคนไทยชั่วโมงละ 1 คน และทุก 2 ชั่วโมงจะมี ผู้พิการเพิ่มขึ้น อีก1 คน • ประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนเฉลี่ยวันละ 30 คน ร้อยละ 70 - 80 เกิดจากขับขี่และซ้อนท้าย รถจักรยานยนต์ • เฉลี่ยผู้เสียชีวิตจากการขับขี่และซ้อนท้ายจักรยานยนต์ อยู่ที่ ประมาณวันละ 24 คน หรือในแต่ละชั่วโมง มีผู้เสียชีวิต 1 คน • ขณะที่ข้อมูลการเฝ้าระวังการบาดเจ็บของกระทรวงสาธารณสุข ผู้บาดเจ็บที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลกว่าปีละ 1 แสนคน โดยร้อยละ 6 กลายเป็นผู้พิการ ครึ่งหนึ่งของการบาดเจ็บรุนแรง เป็นการบาดเจ็บที่ ศีรษะ • เฉลี่ยในทุก 2 ชั่วโมงจะมีผู้พิการเพิ่มขึ้น 1 คน
  • 5. 5 “หมวกกันน็อค” ช่วยชีวิตได้จริงหรือ? ข้อเท็จจริง จากผลการศึกษาผู้บาดเจ็บจากการใช้รถจักรยานยนต์ในประเทศ ไทยและต่างประเทศยืนยันชัดเจน ตรงกัน การสวมหมวกนิรภัยจะช่วย • ลดความเสี่ยงและความรุนแรงของการบาดเจ็บที่ศีรษะลงได้ 72% • ลดความเสี่ยงการเสียชีวิตได้ถึง 39% ในกรณีที่ใช้ความเร็วไม่ สูงมากนักขณะเกิดอุบัติเหตุ • ลดค่ารักษาพยาบาลและลดจานวนวันที่ต้องพักรักษาตัวในโรง พยาบาล หมวกกันน็อคดี...เลือกอย่างไร 1. หมวกกันน็อคแบบปิดเต็มหน้าดีที่สุด บังลม กันฝุ่น ให้ความ ปลอดภัยทั้งศีรษะ ไม่ต้องกลัวหายใจไม่ออกหรือไม่ได้ ยินเสียง เพราะมี การเจาะรูไว้ให้เรียบร้อยแล้ว 2. เลือกหมวกกันน็อคที่มีตรามาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.369- 2539) ที่อยู่ของผู้ผลิตที่มีรายชื่อว่าได้รับมาตรฐาน ของสมอ. และคา แนะนาวิธีใช้ หมวกที่มีตราสมอ.อย่างเดียว ของปลอมแน่นอน ใครก็ทาได้ สติ๊กเกอร์ง่าย ๆ 3. หมวกมีมาตรฐานแต่ละแบบน้าหนักจะมากกว่าหมวกกันน็อคที่ ไม่ได้มาตฐานเล็กน้อย ไม่ถึงกับทาให้หนักศีรษะ ใส่ ไปนาน ๆ ก็คุ้นเอง 4. ของแถมของฟรีที่จากร้านขายรถจักรยานยนต์ อาจเป็นหมวกที่ ไม่มีมาตรฐาน ใช้แล้วอาจยุบหรือเจ็บตัวได้แม้เกิด อุบัติเหตุไม่รุนแรงก็ตาม 5. เลือกสีที่ทาให้เห็นเด่นชัดแต่ไกล ไม่ต้องกลัวตารวจจะจาได้ง่าย ห่วงเรื่องความปลอดภัยดีกว่า เช่น สีเหลือง ส้ม แดง รถอื่นเห็นง่ายเขาจะได้ระวัง 6. หมวกดีแค่ไหน แต่ถ้าไม่รัดสายรัดคาง หรือสวมหมวกแบบใส่ หัวโขนก็ไม่มีประโยชน์ เพราะหากเกิดอุบัติเหตุ หมวกจะกระเด็นออกจาก ศีรษะ ไม่สามารถป้องกันการบาดเจ็บได้ 7. ความเร็ว ที่ค่อนข้างปลอดภัยในการขับขี่ไม่ควรเกิน 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เป็นความเร็วที่หมวกกันน็อคที่ได้ มาตรฐานพอจะรับ ได้ หากใช้ความเร็วสูงกว่านี้ อย่าประมาท เป็นดีที่สุด และถ้าเกิน 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมงขึ้นไป นั่น เท่ากับว่าคุณกาลังขับจักรยานยนต์บนเส้น ด้ายไหม้ไฟแล้วล่ะ จากการศึกษาเปรียบเทียบข้อมูลจานวนประชากรและจานวนบ้านเรือน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย และข้อมูลจานวนรถจดทะเบียน กรมการขนส่งทางบก กระทรวงคมนาคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 พบว่าประเทศ ไทยมีจานวนประชากรทั้งสิ้นเท่ากับ 63,525,062 คน (ผู้หญิง 32,231,966 คน ผู้ชาย 31,293,096 คน) มีจานวน บ้านเรือนรวมทั้งสิ้น 21,143,975 หลัง ส่วนจานวนรถจดทะเบียนสะสมทั้งสิ้น 27,184,577 คัน เป็น รถจักรยานยนต์ 16,706,451 คัน (แยกเป็นรถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล 16,549,307 คัน รถจักรยานยนต์ สาธารณะ 157,144 คัน) คิดเป็นร้อยละ 61.45 ของจานวนรถทั้งหมด เฉลี่ยแล้วสัดส่วนการใช้รถจักรยานยนต์ของคน ไทย 4 คนต่อรถจักรยานยนต์ 1 คัน หรือเกือบทุกหลังคาเรือนมีรถจักรยานยนต์ใช้ 1 คัน เมื่อความนิยมในการใช้รถจักรยานยนต์มีเป็นจานวนมาก และกระจายอยู่ทั่วทุกพื้นที่ในประเทศไทย ผลกระทบร้ายแรงที่เกิดขึ้นตามมาอย่างเห็นได้ชัดเจน คือ ปัญหาอุบัติเหตุทางถนน ซึ่งข้อมูลจากหลายแหล่งยืนยัน ตรงกันว่า “รถจักรยานยนต์” เป็นยานพาหนะที่เกิดอุบัติเหตุทางถนนมากที่สุด ถึงแม้จะแสดงจานวนที่แตกต่างกันไป ตามลักษณะของการเก็บข้อมูลก็ตาม ข้อมูลจากโรงพยาบาลเครือข่ายเฝ้าระวังการบาดเจ็บระดับชาติ 28 แห่ง ซึ่งเป็น ข้อมูลผู้บาดเจ็บรุนแรงจากอุบัติเหตุทางถนน พบว่า ยานพาหนะของผู้บาดเจ็บ เป็นรถจักรยานยนต์มากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 83.20 รองลงมา คือ รถกระบะหรือรถตู้ ร้อยละ 7.03 และรถจักรยานและสามล้อ ร้อยละ 4.20 ข้อมูลจาก ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศกลาง สานักงานตารวจแห่งชาติ พบว่า ยานพาหนะที่เกิดอุบัติเหตุมากที่สุด คือ รถจักรยานยนต์ ร้อยละ 41.69 รองลงมาคือ รถยนต์ส่วนบุคคล ร้อยละ 24.89 และรถปิกอัพ ร้อยละ 17.63 และข้อมูลจากศูนย์อานวยการความปลอดภัยทางถนน รายงานอุบัติเหตุทางถนนในช่วงเทศกาลปีใหม่และ สงกรานต์ พบว่า รถจักรยานยนต์เป็นยานพาหนะที่เกิดอุบัติเหตุมากที่สุด ร้อยละ 85 – 87 และลักษณะการบาดเจ็บ ของผู้ที่ใช้รถจักรยานยนต์ส่วนใหญ่ พบว่า แขนขาเป็นอวัยวะที่มีการบาดเจ็บมากที่สุด รองลงไปคือ ศีรษะและคอ แต่
  • 6. 6 สาหรับในรายที่พิการและเสียชีวิต พบว่า มีการบาดเจ็บรุนแรงที่ศีรษะและคอมากที่สุด นอกจากนี้พฤติกรรมเสี่ยง สาคัญของผู้บาดเจ็บจากการใช้รถจักรยานยนต์ ยังพบว่า ส่วนใหญ่เป็นผู้ขับขี่ร้อยละ 89 มีการดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์มากถึงร้อยละ 43.99 และไม่ได้สวมหมวกนิรภัยมากถึงร้อยละ 86.21 (ผู้ขับขี่ไม่สวมหมวกนิรภัยร้อย ละ 84.30 ผู้โดยสารไม่สวมหมวกนิรภัยร้อยละ 93.87) การสวมหมวกนิรภัยในผู้ใช้รถจักรยานยนต์ เป็นที่ยอมรับโดยข้อมูลจากการศึกษาวิจัยในหลายประเทศ ว่า สามารถป้องกันการตายหรือการบาดเจ็บสาหัสจากอุบัติเหตุจากการขับขี่รถจักรยานยนต์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ -การศึกษาที่สหรัฐอเมริกา โดย Johnson et al.,1996 พบว่า การสวมหมวกนิรภัย ลดการบาดเจ็บทางสมองได้ร้อยละ 67 -การศึกษาที่อิตาลี โดย Servadei et al.2003 พบว่า การสวมหมวกนิรภัยลดการ บาดเจ็บทางสมองได้ร้อยละ 30 ในทวีปเอเชีย -การศึกษาที่ประเทศไทย โดย วีระ กสานติกุล (2002) พบว่า ผู้ที่ไม่สวมหมวก นิรภัยมีโอกาสบาดเจ็บทางสมองสูงกว่าผู้ที่สวมหมวกนิรภัยถึง 6 เท่า -การศึกษาของ Deuterman (2004) พบว่า การสวมหมวกนิรภัยช่วยลดการตาย จากอุบัติเหตุรถจักรยานยนต์ได้ร้อยละ 37 ในประเทศไทยได้มีการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาหมวกนิรภัยทั่วประเทศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 แต่ใน สภาพความเป็นจริงพบว่า ผู้ขับขี่และผู้โดยสารรถจักรยานยนต์ยังมีการสวมหมวกนิรภัยอยู่ในเกณฑ์ที่ค่อนข้างต่ามาก จากข้อมูลการสารวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บของสานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสุข ปี พ.ศ. 2550 พบว่า ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์มีการสวมหมวกนิรภัย ร้อยละ 54.0 ส่วนผู้โดยสารมีการสวม หมวกนิรภัยเพียงร้อยละ 30.9 เท่านั้น ถึงแม้ปัจจุบันรัฐบาลจะให้ความสาคัญในการแก้ปัญหาอุบัติเหตุทางถนน โดยมีการประกาศนโยบายและ กาหนดมาตรการต่างๆ หลายมาตรการ หรือแม้กระทั่งจะมีการประกาศขององค์การสหประชาชาติให้ปี ค.ศ. 2011 – 2020 เป็นปีทศวรรษแห่งความปลอดภัยบนท้องถนน โดยตั้งเป้าหมายในการลดอัตราการตายจากอุบัติเหตุทางถนน ให้ลดลงร้อยละ 50 โดยขอความร่วมมือจากประเทศสมาชิกทุกประเทศ ซึ่งหนึ่งในมาตรการหรือแนวทางหลักในการ ดาเนินงาน คือ การใช้หมวกนิรภัยกับรถจักรยานยนต์ก็ตาม ที่ผ่านมาหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ได้มี กิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัยบ้างเป็นบางช่วง บางสถานการณ์หรือลงลึกในบางพื้นที่ แต่ยังไม่มีการ พบว่า เกิดเป็นกระแสสังคมไทยที่กว้างขวางและเห็นผลอย่างเป็นรูปธรรม วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน -ปรึกษาเลือกหัวข้อ -นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน -ศึกษารวบรวมข้อมูล -จัดทารายงาน -ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -คอมพิวเตอร์ -อินเตอร์เน็ต
  • 7. 7 -เอกสารที่เกี่ยวข้อง งบประมาณ - ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.ผู้ศึกษาได้รับความเข้าในในหัวข้อโครงงานมากขึ้น 2.สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ 3.สามารถนาความรู้ไปเผยแพร่เพื่อประโยชน์ของสังคมได้ สถานที่ดาเนินการ ห้องเรียนคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา (หน้าที่พลเมือง) 2.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) http://civil.eng.cmu.ac.th/research/in/2555/2353 (สืบค้นเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2561) https://www.cmru.ac.th/news/2171- (สืบค้นเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2561) https://www.checkraka.com/knowledge/motorcycle-15- (สืบค้นเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2561) http://www.roadsafetythai.org/uploads/userfiles/file_20150819055001.pdf (สืบค้นเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2561) http://www.thaihealth.or.th/Content/21242- (สืบค้นเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2561) ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน