SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
ปัจจุบันการสร้างสรรค์ภาระงาน ชิน้งาน หรือ กิจกรรมต่างๆ จาก 
คอมพิวเตอร์สามารถทาได้ง่ายขึน้ เนื่องจากคอมพิวเตอร์มีคุณภาพสูง ราคาถูก 
และเป็นแหล่งค้นข้อมูลที่มีประสิทธิภาพจากการใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์หรือ 
อินเทอร์เน็ต แต่ในขณะเดียวกันการใช้เทคโนโลยีดังกล่าวทาให้เกิดผลเสียในการ 
คัดลอกหรือนาภาระงาน ชิน้งาน หรือกิจกรมต่างๆ เหล่านัน้ไปใช้โดนไม่ได้รับ 
อนุญาตได้ง่ายขึน้ กระทรวงพาณิชย์ก่อตัง้เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ 2535 ให้มี 
หน้าที่ดังนี้ 
1.สนับสนุนให้เกิดการสร้างสรรค์ทรัพย์สินทางปัญญา 
2.ส่งเสริมการบริหารจัดการและใช้ประโยชน์ทรัพย์สินทางปัญญาเชิงพาณิชย์ 
3.พัฒนาการให้บริการด้านทรัพย์สินทางปัญญาอย่างมีประสิทธิภาพอย่างทวั่ถึง 
4.พัฒนาระบบการคุ้มครองสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาให้ครอบคลุมทวั่ถึง 
5.ส่งเสริมการใช้สิทธิอย่างเป็นธรรมและป้องปรามการละเมิดทรัพย์สินทาง 
ปัญญา 
6.สร้างเครือข่ายด้านทรัพย์สินทางปัญญาทัง้ในประเทศและต่างประเทศ
ลิขสิทธิ์ (Copyrighy) คือ สิทธิในผลงานที่ได้จากการสร้างสรรค์งาน 9 
ประเภทตามที่กฎหมายกาหนด ได้แก่ 
1.งานวรรณกรรม เช่น หนังสือ จุลสาร งานเขียน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 
2.งานนาฏกรรม เช่น ผลงานด้านการรา การเต้น การแสดงท่าทาง 
3.งานศิลปกรรม เช่น งานจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ ภาพถ่าย 
4.งานดนตรีกรรม เช่น ทานอง เนือ้เพลง การเรียบเรียงประสานเสียง 
5.งานโสตทัศนวัสดุ เช่น วิดีโอเทป 
6.งานภาพยนตร์ เช่น ภาพยนตร์ต่างๆ 
7.งานสิ่งบันทึกเสียง เช่น เทปเพลง แผ่น CD Mini-CD 
8.งานแพร่เสียงแพร่ภาพ เช่น การนาผลงานลิขสิทธิ์ออกเผยแพร่ทาง 
วิทยุกระจายเสียง สถานีโทรทัศน์ 
9.ผลงานความคิดสร้างสรรค์ด้านอื่นๆ เช่น ผลงานด้านวรรณคดี
ลิขสิทธิ์จะเกิดขึน้หลังจากที่ได้สร้างผลงาน โดยไม่ต้องไปดาเนินการจดทะเบียน 
คุ้มครองลิขสิทธิ์ 
กฎหมายสาคัญที่ใช้ในการกากับดูแลเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ คือ พระราชบัญญัติลิขสิทธ์ 
พ.ศ.2537 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณา 
โปรดเกล้าฯ ให้ปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์ พ.ศ.2521 โดยเฉพาะการพัฒนา 
และขยายตัวทางเศรษฐกิจ การค้า และอุตสาหกรรม ซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้ 
1.มาตรา 1-5 กล่าวถึงข้อกาหนดการใช้และความหมายของคาสาคัญที่เกี่ยว 
ข้อกับพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ 
2.หมวด 1 ลิขสิทธ์ิ แบ่งเป็น 6 ส่วนได้ดันี้ 
2.1 ส่วนที่ 1 งานอันมีลิขสิทธิ์ มาตรา 6-7 กล่าวถึงลักษณะ ของผลงานที่ 
ได้รับ 
2.2 ส่วนที่ 2 การได้มาซึ่งลิขสิทธิ์ มาตรา 8-14 กล่าวถึงเงื่อนไขในการให้สิทธิ 
ผู้สร้างสรรค์ผลงาน
2.3 ส่วนที่ 3 การคุ้มครองลิขสิทธิ์ มาตรา 15-18 กล่าวถึงราบละเอียดที่ผู้มี 
สิทธิสามารถปฏิบัติเกี่ยวกับผลงานของตนเองได้ 
2.4 ส่วนที่ 4 อายุแห่งการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มาตรา 19-26 กล่าวถึงระยะเวลา 
ในการคุ้มครอง 
2.5 ส่วนที่ 5 การละเมิดลิขสิทธิ์ มาตรา 27-31 กล่าวถึง ลักษณะของการ 
กระทาที่ก่อให้เกิดความผิด 
2.6 ส่วนที่ 6 ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ มาตรา 32-44 กล่าวถึงลักษณะของ 
การนาผลงานที่มีลิขสิทธิ์ไปใช้โดยไม่จัดว่าเป็นการละเมิกลิขสิทธิ์ 
3.หมวด 2 สิทธิของนักแสดง มาตรา 45-53 กล่าวถึงลักษณะการกระทาของ 
นักแสดงในผลงานที่ได้รับลิขสิทธิ์ที่ไม่เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ 
4.หมวด 3 การใช้ลิขสิทธ์ิในพฤติการณ์พิเศษ มาตรา 54-55 กล่าวถึงการ 
ขออนุญาตในผลงานที่มีลิขสิทธิ์แก่อธิบดี 
5.หมวด 4 คณะกรรมการลิสิทธ์ิ มาตรา 56-60 กล่าวถึงลักษณะ การสรรหา 
และการแต่งตัง้บุคคลเพื่อทาหน้าที่เป็นคณะกรรมการลิขสิทธิ์
6.หมวด 5 ลิขสิทธ์ิและสิทธิของนักแสงระหว่างประเทศ มาตรา61 สรุปได้ว่า 
ผลงานที่มีลิขสิทธิ์ของผู้สร้างสรรค์และนักแสดงของประเทศที่เป็นภาคีแห่งอนุสัญญา 
ด้วยการคุ้มครองลิขสิทธิ์ 
7.หมวด 6 คดีเกี่ยวกับลิขสิทธ์ิและสิทธิของนักแสดง มาตรา 62-66 กล่าวถึง 
ลักษณะการดาเนินคดีเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ของนักแสดง 
8.หมวด 7 พนักงานเจ้าหน้าที่ มาตรา 67-68 กล่าวถึงอานาจและหน้าที่ของ 
พนักงานเจ้าหน้าที่ 
9.หมวด 8 บทกา หนดโทษ มาตรา 69-77 กล่าวถึงโทษที่ผู้กระทาความผิดต้องได้รับ 
เมื่อกกระทาความผิดตามที่พระราชบัญญัตินีไ้ด้ 
10.บทเฉพาะกาลมาตรา 78 สรุปได้ว่า ผลงานที่มีลิขสิทธิ์อยู่แล้วตามพระราชบัญญัติ 
คุ้มครองวรรณกรรมและศิลปกรรม
สิทธิบัตร (Patent) คือ หนังสือสาคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ 
การออกแบบผลิตภัณฑ์ และผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์ที่เป็นความคิดสร้างสรรค์ 
เกี่ยวกับลักษณะองค์ประกอบ โครงสร้าง หรือกลไก 
กฎหมายสาคัญที่ใช้ในการกากับดูแลเกี่ยวกับการใช้ลิขสิทธิ์บัตร คือ 
พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ 2522 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ 
ดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ตราพระราชบัญญัติขึน้ไว้เพื่อคุ้มครองการ 
ประดิษฐ์
1.มาตรา 1-2 
2.หมวด 1 บททวั่ไป 
3.หมวด 2 สิทธิบัตรการประดิษฐ์ 
4.หมวด 3 สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ 
5.หมวด 3 ทวิ 
6.หมวด 4 คณะกรรมการสิทธิบัตร 
7.หมวด 5 เบ็ดเตล็ด 
8.หมวด 6 ความผิดและกาหนดโทษ
เครื่องหมายการค้า คือ เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ที่แสดงความเป็นเจ้าของ 
ของสินค้านัน้ๆ โดยจะต้องมีลักษณะบ่งเฉพาะหรือหมายถึงลักษณะที่ทาให้ 
ประชาชนหรือผู้ใช้สินค้าทราบและเข้าใจได้ว่าสินค้านัน้แตกต่างกัน 
เครื่องหมายการค้าแบ่งเป็น 4 ประเภทดังนี้ 
1.เครื่องหมายการค้า (Trademark) 
2.เครื่องหมายบริการ (Service Mark) 
3.เครื่องหมายรับรอง (Certification Mark) 
4.เครื่องหมายร่วม (Collective Mark) 
กฎหมายสาคัญที่ใช้ในการกากับดูแลเกี่ยวกับการใช้เครื่องหมายการค้า คือ 
พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติ 
บัญญัติแห่งชาติ สรุปได้ดังนี้
1.มาตรา 1-5 
2.หมวด 1 เครื่องหมายการค้า 
3.หมวด 2 เครื่องหมายบริการและเครื่องหมายรับรอง 
4.หมวด 3 เครื่องมายร่วม 
5.หมวด 4 คณะกรรมการเครื่องหมายการค้า 
6.หมวด 5 เบ็ดเตล็ด 
7.หมวด 6 บทกาหนดโทษ 
8.บทเฉพาะกาล
กฎหมายอื่นๆที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ 
1.พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 
2.พระราชบัญญัติการผลิตผลิตภัณฑ์ซีดี พ.ศ.2548
สมาชิกกลุ่ม 6 
1.นาย ชัชพงษ์ นาสา เลขที่ 11 
2.นาย ธนาภพ วิจิตรศิริโชติ เลขที่ 12 
3.นางสาว ธันยพร โอภากุลวงษ์ เลขที่ 25 
4.นางสาว นันทิพร คาลือปลูก เลขที่ 27 
5.นางสาว สุพรรณษา ปลีบุตร เลขที่ 31 
6.นางสาว อภิชญา เพ็งอุดม เลขที่ 32 
7.นาย วีรภัทร มาติวงษ์ เลขที่ 39 
มัธยมศึกษาปีที่ 5/3

More Related Content

Similar to ทรัพย์สินทางปัญญา

Creative Commons, Legal Issues, and Podcast
Creative Commons, Legal Issues, and PodcastCreative Commons, Legal Issues, and Podcast
Creative Commons, Legal Issues, and PodcastSarinee Achavanuntakul
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศKruBeeKa
 
ลิขสิทธิ์ และ สิทธิบัตร [มัณฑนศิลป์ ศิลปากร]
ลิขสิทธิ์ และ สิทธิบัตร [มัณฑนศิลป์ ศิลปากร]ลิขสิทธิ์ และ สิทธิบัตร [มัณฑนศิลป์ ศิลปากร]
ลิขสิทธิ์ และ สิทธิบัตร [มัณฑนศิลป์ ศิลปากร]Arthit Suriyawongkul
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Connectivism Learning
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Connectivism Learning
 
ร่างพรบคอม 2011
ร่างพรบคอม 2011ร่างพรบคอม 2011
ร่างพรบคอม 2011Poramate Minsiri
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์Thalatchanan Netboot
 
เรื่อง ทรัพย์ทางปัญญา อ. ทรงศักดิ์
เรื่อง ทรัพย์ทางปัญญา  อ. ทรงศักดิ์เรื่อง ทรัพย์ทางปัญญา  อ. ทรงศักดิ์
เรื่อง ทรัพย์ทางปัญญา อ. ทรงศักดิ์AY Un
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1Nukaem Ayoyo
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1Kamonchapat Boonkua
 
คุณธรรม จริยธรรมในการใช้งานอินเทอร์เน็ตและ
คุณธรรม จริยธรรมในการใช้งานอินเทอร์เน็ตและคุณธรรม จริยธรรมในการใช้งานอินเทอร์เน็ตและ
คุณธรรม จริยธรรมในการใช้งานอินเทอร์เน็ตและphataravarin89
 
บทท 11 จรรยาบรรณท__เก__ยวก_บการร_กษา
บทท   11 จรรยาบรรณท__เก__ยวก_บการร_กษาบทท   11 จรรยาบรรณท__เก__ยวก_บการร_กษา
บทท 11 จรรยาบรรณท__เก__ยวก_บการร_กษาJ-Kitipat Vatinivijet
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์Chutima Tongnork
 

Similar to ทรัพย์สินทางปัญญา (19)

Creative Commons, Legal Issues, and Podcast
Creative Commons, Legal Issues, and PodcastCreative Commons, Legal Issues, and Podcast
Creative Commons, Legal Issues, and Podcast
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ลิขสิทธิ์ และ สิทธิบัตร [มัณฑนศิลป์ ศิลปากร]
ลิขสิทธิ์ และ สิทธิบัตร [มัณฑนศิลป์ ศิลปากร]ลิขสิทธิ์ และ สิทธิบัตร [มัณฑนศิลป์ ศิลปากร]
ลิขสิทธิ์ และ สิทธิบัตร [มัณฑนศิลป์ ศิลปากร]
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
 
ร่างพรบคอม 2011
ร่างพรบคอม 2011ร่างพรบคอม 2011
ร่างพรบคอม 2011
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
เรื่อง ทรัพย์ทางปัญญา อ. ทรงศักดิ์
เรื่อง ทรัพย์ทางปัญญา  อ. ทรงศักดิ์เรื่อง ทรัพย์ทางปัญญา  อ. ทรงศักดิ์
เรื่อง ทรัพย์ทางปัญญา อ. ทรงศักดิ์
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
 
คุณธรรม จริยธรรมในการใช้งานอินเทอร์เน็ตและ
คุณธรรม จริยธรรมในการใช้งานอินเทอร์เน็ตและคุณธรรม จริยธรรมในการใช้งานอินเทอร์เน็ตและ
คุณธรรม จริยธรรมในการใช้งานอินเทอร์เน็ตและ
 
Petty  patent.pptx
Petty  patent.pptxPetty  patent.pptx
Petty  patent.pptx
 
บทท 11 จรรยาบรรณท__เก__ยวก_บการร_กษา
บทท   11 จรรยาบรรณท__เก__ยวก_บการร_กษาบทท   11 จรรยาบรรณท__เก__ยวก_บการร_กษา
บทท 11 จรรยาบรรณท__เก__ยวก_บการร_กษา
 
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูลจริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
 
ปิยะวุฒิ
ปิยะวุฒิปิยะวุฒิ
ปิยะวุฒิ
 
ปิยะวุฒิ
ปิยะวุฒิปิยะวุฒิ
ปิยะวุฒิ
 
พอน1ok
พอน1okพอน1ok
พอน1ok
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
รายงานคอม12
รายงานคอม12รายงานคอม12
รายงานคอม12
 

ทรัพย์สินทางปัญญา

  • 1.
  • 2. ปัจจุบันการสร้างสรรค์ภาระงาน ชิน้งาน หรือ กิจกรรมต่างๆ จาก คอมพิวเตอร์สามารถทาได้ง่ายขึน้ เนื่องจากคอมพิวเตอร์มีคุณภาพสูง ราคาถูก และเป็นแหล่งค้นข้อมูลที่มีประสิทธิภาพจากการใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์หรือ อินเทอร์เน็ต แต่ในขณะเดียวกันการใช้เทคโนโลยีดังกล่าวทาให้เกิดผลเสียในการ คัดลอกหรือนาภาระงาน ชิน้งาน หรือกิจกรมต่างๆ เหล่านัน้ไปใช้โดนไม่ได้รับ อนุญาตได้ง่ายขึน้ กระทรวงพาณิชย์ก่อตัง้เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ 2535 ให้มี หน้าที่ดังนี้ 1.สนับสนุนให้เกิดการสร้างสรรค์ทรัพย์สินทางปัญญา 2.ส่งเสริมการบริหารจัดการและใช้ประโยชน์ทรัพย์สินทางปัญญาเชิงพาณิชย์ 3.พัฒนาการให้บริการด้านทรัพย์สินทางปัญญาอย่างมีประสิทธิภาพอย่างทวั่ถึง 4.พัฒนาระบบการคุ้มครองสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาให้ครอบคลุมทวั่ถึง 5.ส่งเสริมการใช้สิทธิอย่างเป็นธรรมและป้องปรามการละเมิดทรัพย์สินทาง ปัญญา 6.สร้างเครือข่ายด้านทรัพย์สินทางปัญญาทัง้ในประเทศและต่างประเทศ
  • 3.
  • 4. ลิขสิทธิ์ (Copyrighy) คือ สิทธิในผลงานที่ได้จากการสร้างสรรค์งาน 9 ประเภทตามที่กฎหมายกาหนด ได้แก่ 1.งานวรรณกรรม เช่น หนังสือ จุลสาร งานเขียน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2.งานนาฏกรรม เช่น ผลงานด้านการรา การเต้น การแสดงท่าทาง 3.งานศิลปกรรม เช่น งานจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ ภาพถ่าย 4.งานดนตรีกรรม เช่น ทานอง เนือ้เพลง การเรียบเรียงประสานเสียง 5.งานโสตทัศนวัสดุ เช่น วิดีโอเทป 6.งานภาพยนตร์ เช่น ภาพยนตร์ต่างๆ 7.งานสิ่งบันทึกเสียง เช่น เทปเพลง แผ่น CD Mini-CD 8.งานแพร่เสียงแพร่ภาพ เช่น การนาผลงานลิขสิทธิ์ออกเผยแพร่ทาง วิทยุกระจายเสียง สถานีโทรทัศน์ 9.ผลงานความคิดสร้างสรรค์ด้านอื่นๆ เช่น ผลงานด้านวรรณคดี
  • 5. ลิขสิทธิ์จะเกิดขึน้หลังจากที่ได้สร้างผลงาน โดยไม่ต้องไปดาเนินการจดทะเบียน คุ้มครองลิขสิทธิ์ กฎหมายสาคัญที่ใช้ในการกากับดูแลเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ คือ พระราชบัญญัติลิขสิทธ์ พ.ศ.2537 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้ปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์ พ.ศ.2521 โดยเฉพาะการพัฒนา และขยายตัวทางเศรษฐกิจ การค้า และอุตสาหกรรม ซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้ 1.มาตรา 1-5 กล่าวถึงข้อกาหนดการใช้และความหมายของคาสาคัญที่เกี่ยว ข้อกับพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ 2.หมวด 1 ลิขสิทธ์ิ แบ่งเป็น 6 ส่วนได้ดันี้ 2.1 ส่วนที่ 1 งานอันมีลิขสิทธิ์ มาตรา 6-7 กล่าวถึงลักษณะ ของผลงานที่ ได้รับ 2.2 ส่วนที่ 2 การได้มาซึ่งลิขสิทธิ์ มาตรา 8-14 กล่าวถึงเงื่อนไขในการให้สิทธิ ผู้สร้างสรรค์ผลงาน
  • 6. 2.3 ส่วนที่ 3 การคุ้มครองลิขสิทธิ์ มาตรา 15-18 กล่าวถึงราบละเอียดที่ผู้มี สิทธิสามารถปฏิบัติเกี่ยวกับผลงานของตนเองได้ 2.4 ส่วนที่ 4 อายุแห่งการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มาตรา 19-26 กล่าวถึงระยะเวลา ในการคุ้มครอง 2.5 ส่วนที่ 5 การละเมิดลิขสิทธิ์ มาตรา 27-31 กล่าวถึง ลักษณะของการ กระทาที่ก่อให้เกิดความผิด 2.6 ส่วนที่ 6 ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ มาตรา 32-44 กล่าวถึงลักษณะของ การนาผลงานที่มีลิขสิทธิ์ไปใช้โดยไม่จัดว่าเป็นการละเมิกลิขสิทธิ์ 3.หมวด 2 สิทธิของนักแสดง มาตรา 45-53 กล่าวถึงลักษณะการกระทาของ นักแสดงในผลงานที่ได้รับลิขสิทธิ์ที่ไม่เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ 4.หมวด 3 การใช้ลิขสิทธ์ิในพฤติการณ์พิเศษ มาตรา 54-55 กล่าวถึงการ ขออนุญาตในผลงานที่มีลิขสิทธิ์แก่อธิบดี 5.หมวด 4 คณะกรรมการลิสิทธ์ิ มาตรา 56-60 กล่าวถึงลักษณะ การสรรหา และการแต่งตัง้บุคคลเพื่อทาหน้าที่เป็นคณะกรรมการลิขสิทธิ์
  • 7. 6.หมวด 5 ลิขสิทธ์ิและสิทธิของนักแสงระหว่างประเทศ มาตรา61 สรุปได้ว่า ผลงานที่มีลิขสิทธิ์ของผู้สร้างสรรค์และนักแสดงของประเทศที่เป็นภาคีแห่งอนุสัญญา ด้วยการคุ้มครองลิขสิทธิ์ 7.หมวด 6 คดีเกี่ยวกับลิขสิทธ์ิและสิทธิของนักแสดง มาตรา 62-66 กล่าวถึง ลักษณะการดาเนินคดีเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ของนักแสดง 8.หมวด 7 พนักงานเจ้าหน้าที่ มาตรา 67-68 กล่าวถึงอานาจและหน้าที่ของ พนักงานเจ้าหน้าที่ 9.หมวด 8 บทกา หนดโทษ มาตรา 69-77 กล่าวถึงโทษที่ผู้กระทาความผิดต้องได้รับ เมื่อกกระทาความผิดตามที่พระราชบัญญัตินีไ้ด้ 10.บทเฉพาะกาลมาตรา 78 สรุปได้ว่า ผลงานที่มีลิขสิทธิ์อยู่แล้วตามพระราชบัญญัติ คุ้มครองวรรณกรรมและศิลปกรรม
  • 8.
  • 9. สิทธิบัตร (Patent) คือ หนังสือสาคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ และผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์ที่เป็นความคิดสร้างสรรค์ เกี่ยวกับลักษณะองค์ประกอบ โครงสร้าง หรือกลไก กฎหมายสาคัญที่ใช้ในการกากับดูแลเกี่ยวกับการใช้ลิขสิทธิ์บัตร คือ พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ 2522 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ ดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ตราพระราชบัญญัติขึน้ไว้เพื่อคุ้มครองการ ประดิษฐ์
  • 10. 1.มาตรา 1-2 2.หมวด 1 บททวั่ไป 3.หมวด 2 สิทธิบัตรการประดิษฐ์ 4.หมวด 3 สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ 5.หมวด 3 ทวิ 6.หมวด 4 คณะกรรมการสิทธิบัตร 7.หมวด 5 เบ็ดเตล็ด 8.หมวด 6 ความผิดและกาหนดโทษ
  • 11.
  • 12. เครื่องหมายการค้า คือ เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ที่แสดงความเป็นเจ้าของ ของสินค้านัน้ๆ โดยจะต้องมีลักษณะบ่งเฉพาะหรือหมายถึงลักษณะที่ทาให้ ประชาชนหรือผู้ใช้สินค้าทราบและเข้าใจได้ว่าสินค้านัน้แตกต่างกัน เครื่องหมายการค้าแบ่งเป็น 4 ประเภทดังนี้ 1.เครื่องหมายการค้า (Trademark) 2.เครื่องหมายบริการ (Service Mark) 3.เครื่องหมายรับรอง (Certification Mark) 4.เครื่องหมายร่วม (Collective Mark) กฎหมายสาคัญที่ใช้ในการกากับดูแลเกี่ยวกับการใช้เครื่องหมายการค้า คือ พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติ บัญญัติแห่งชาติ สรุปได้ดังนี้
  • 13. 1.มาตรา 1-5 2.หมวด 1 เครื่องหมายการค้า 3.หมวด 2 เครื่องหมายบริการและเครื่องหมายรับรอง 4.หมวด 3 เครื่องมายร่วม 5.หมวด 4 คณะกรรมการเครื่องหมายการค้า 6.หมวด 5 เบ็ดเตล็ด 7.หมวด 6 บทกาหนดโทษ 8.บทเฉพาะกาล
  • 15. สมาชิกกลุ่ม 6 1.นาย ชัชพงษ์ นาสา เลขที่ 11 2.นาย ธนาภพ วิจิตรศิริโชติ เลขที่ 12 3.นางสาว ธันยพร โอภากุลวงษ์ เลขที่ 25 4.นางสาว นันทิพร คาลือปลูก เลขที่ 27 5.นางสาว สุพรรณษา ปลีบุตร เลขที่ 31 6.นางสาว อภิชญา เพ็งอุดม เลขที่ 32 7.นาย วีรภัทร มาติวงษ์ เลขที่ 39 มัธยมศึกษาปีที่ 5/3