SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
ทฤษฏีการวางทฤษฏีการวาง
เงื่อนไขแบบเงื่อนไขแบบ
คลาสสิคของพาคลาสสิคของพา
ฟลอฟฟลอฟ
ชื่อ อีวาน เปโตรวิช ปาฟลอฟ (Ivan
Petrovich Pavlov)
ชื่อ อีวาน เปโตรวิช ปาฟลอฟ (Ivan
Petrovich Pavlov)เกิด 14 กันยายน ค.ศ.1849
เสียชีวิต 27 กุมภาพันธ์
ค.ศ.1936 (อายุ 86 ปี)
เกิด 14 กันยายน ค.ศ.1849
เสียชีวิต 27 กุมภาพันธ์
ค.ศ.1936 (อายุ 86 ปี)ที่พำานัก จักรวรรดิรัสเซีย ,
สหภาพโซเวียต
เชื้อชาติ รัสเซีย , โซเวียต
ที่พำานัก จักรวรรดิรัสเซีย ,
สหภาพโซเวียต
เชื้อชาติ รัสเซีย , โซเวียตสาขาวิชา สรีรวิทยา ,
จิตวิทยา , แพทย์
สถาบันที่อยู่ สถาบันการ
แพทย์ทหาร
สาขาวิชา สรีรวิทยา ,
จิตวิทยา , แพทย์
สถาบันที่อยู่ สถาบันการ
แพทย์ทหารเกียรติประวัติ รางวัลโนเบล
สาขาสรีรวิทยา หรือการแพทย์
( ค.ศ.1904 )
เกียรติประวัติ รางวัลโนเบล
สาขาสรีรวิทยา หรือการแพทย์
( ค.ศ.1904 )
พาฟลอฟ เชื่อว่า การเรียนรู้ของ
สิ่งมีชีวิตเกิดจากการวาง
เงื่อนไข(Conditioning) กล่าวคือ การ
ตอบสนองหรือการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นต่อสิ่ง
เร้านั้น ๆ ต้องมีเงื่อนไขหรือมีการสร้าง
สถานการณ์ให้เกิดขึ้น ซึ่งในธรรมชาติ
หรือในชีวิตประจำาวันจะไม่ตอบสนองเช่น
นั้นเลย เช่น คนได้ยินเสียงไซเรน จะ
คิดถึงไฟไหม้ เป็นต้น เสียงไซเรน เป็นสิ่ง
เร้า พาฟลอฟ เรียกว่า สิ่งเร้าที่วาง
เงื่อนไข(Conditioned stumulus) และ
การคิดถึงไฟไหม้ เป็นการตอบสนอง ที่
เรียกว่าการตอบสนองที่ถูกวาง
เงื่อนไข(Conditioned response) ซึ่ง
เป็นพฤติกรรมแสดงถึงการเรียนรู้จากการ
ก่อนวางเงื่อนไข
เสียงกระดิ่ง (cs) ไม่มีนำ้าลาย
เนื้อ (ucs)
นำ้าลายไหล (ucr)
วางเงื่อนไข
เนื้อ+ กระดิ่ง
นำ้าลายไหล
หลังวางเงื่อนไข
เสียงกระดิ่ง (cs) นำ้าลายไหล (cr)
แผนภูมิแสดงการ
ทดลองทฤษฎี
เงื่อนไขแบบ
คลาสสิค
แผนภูมิแสดงการ
ทดลองทฤษฎี
เงื่อนไขแบบ
คลาสสิค
UCS : Unconditioning
Stimulus
สิ่งเร้าที่ไม่ต้องวาง
เงื่อนไข
UCR : Unconditioning
Response
การตอบสนองที่ไม่ต้อง
วางเงื่อนไข
CS : Conditioning Stimulus
สิ่งเร้าที่ต้องวางเงื่อนไข
รเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมโดยวางเงื่อน
จากสิ่งที่เกิดขึ้นในการทดลอง
พาฟลอฟ ได้สรุปเป็นกฎ 4 ข้อ
คือ
จากสิ่งที่เกิดขึ้นในการทดลอง
พาฟลอฟ ได้สรุปเป็นกฎ 4 ข้อ
คือ
1.กฎการลบพฤติกรรม (Law of
extinction)มีความว่า ความเข้มข้น
ของการตอบสนอง จะลดน้อยลงเรื่อยๆ
ถ้าให้ร่างกายได้รับสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข
อย่างเดียว
2.กฎแห่งการคืนกลับ (Low of
spontaneous recovery) การตอบสนองที่
เกิดจากการวางเงื่อนไข (CR) ที่ลดลงเพราะได้
รับแต่สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (CS) เพียงอย่างเดียว
จะกลับปรากฏขึ้นอีกและเพิ่มมากขึ้นๆ ถ้าร่างกาย
มีการเรียนรู้อย่างแท้จริง โดยไม่ต้องมีสิ่งเร้าที่ไม่
วางเงื่อนไข (UCS) มาเข้าช่วย
3. กฎความคล้ายคลึงกัน ถ้าร่างกายมีการ
เรียนรู้โดยแสดงอาการตอบสนอง จากการวาง
เงื่อนไขต่อสิ่งเร้า ที่วางเงื่อนไขหนึ่งแล้ว ถ้ามี
สิ่งเร้าอื่นที่มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกันกับสิ่งเร้าที่
 วางเงื่อนไข เดิม ร่างกายจะตอบสนองเหมือน
กับสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขนั้น
4. กฎแห่งการจำาแนก ถ้าร่างกายมีการเรียนรู้
โดยแสดงอาการตอบสนอง จากการวางเงื่อนไขต่อ
สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขเดิม ถ้าสิ่งเร้าอื่นที่มีคุณสมบัติ
แตกต่างจากสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขเดิม ร่างกายจะ
ตอบสนองแตกต่างไปจากสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขนั้น
ขอบจบการนำาเสนอ
เพียงเท่านี้ค่ะ
ขอบคุณค่ะ

More Related Content

Viewers also liked (7)

A.T.A.A.-2014/15
A.T.A.A.-2014/15A.T.A.A.-2014/15
A.T.A.A.-2014/15
 
Vol4
Vol4Vol4
Vol4
 
EPICENTER-Transition brief
EPICENTER-Transition briefEPICENTER-Transition brief
EPICENTER-Transition brief
 
GUTSA info session 2016
GUTSA info session 2016GUTSA info session 2016
GUTSA info session 2016
 
урок подорож
урок подорожурок подорож
урок подорож
 
מצגת קמ"ח עברית ספטמבר 2015
מצגת קמ"ח עברית ספטמבר 2015מצגת קמ"ח עברית ספטמבר 2015
מצגת קמ"ח עברית ספטמבר 2015
 
DAS BAUSYMPOSIUM 13 DBS
DAS BAUSYMPOSIUM 13 DBSDAS BAUSYMPOSIUM 13 DBS
DAS BAUSYMPOSIUM 13 DBS
 

More from mekshak

ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์mekshak
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์mekshak
 
ทฤษฎีพัฒนาการของอีริค อีริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการของอีริค อีริคสันทฤษฎีพัฒนาการของอีริค อีริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการของอีริค อีริคสันmekshak
 
ทฤษฎีพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ส
ทฤษฎีพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์สทฤษฎีพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ส
ทฤษฎีพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์สmekshak
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์mekshak
 
ทฤษฎีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์ทฤษฎีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์mekshak
 
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของจอห์นบี วัตสัน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของจอห์นบี วัตสันทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของจอห์นบี วัตสัน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของจอห์นบี วัตสันmekshak
 
ทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์กmekshak
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์mekshak
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์mekshak
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเบนดูราทฤษฎีการเรียนรู้ของเบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเบนดูราmekshak
 

More from mekshak (11)

ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
 
ทฤษฎีพัฒนาการของอีริค อีริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการของอีริค อีริคสันทฤษฎีพัฒนาการของอีริค อีริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการของอีริค อีริคสัน
 
ทฤษฎีพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ส
ทฤษฎีพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์สทฤษฎีพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ส
ทฤษฎีพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ส
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์
 
ทฤษฎีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์ทฤษฎีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
 
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของจอห์นบี วัตสัน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของจอห์นบี วัตสันทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของจอห์นบี วัตสัน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของจอห์นบี วัตสัน
 
ทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์ก
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเบนดูราทฤษฎีการเรียนรู้ของเบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเบนดูรา
 

ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ

  • 2. ชื่อ อีวาน เปโตรวิช ปาฟลอฟ (Ivan Petrovich Pavlov) ชื่อ อีวาน เปโตรวิช ปาฟลอฟ (Ivan Petrovich Pavlov)เกิด 14 กันยายน ค.ศ.1849 เสียชีวิต 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1936 (อายุ 86 ปี) เกิด 14 กันยายน ค.ศ.1849 เสียชีวิต 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1936 (อายุ 86 ปี)ที่พำานัก จักรวรรดิรัสเซีย , สหภาพโซเวียต เชื้อชาติ รัสเซีย , โซเวียต ที่พำานัก จักรวรรดิรัสเซีย , สหภาพโซเวียต เชื้อชาติ รัสเซีย , โซเวียตสาขาวิชา สรีรวิทยา , จิตวิทยา , แพทย์ สถาบันที่อยู่ สถาบันการ แพทย์ทหาร สาขาวิชา สรีรวิทยา , จิตวิทยา , แพทย์ สถาบันที่อยู่ สถาบันการ แพทย์ทหารเกียรติประวัติ รางวัลโนเบล สาขาสรีรวิทยา หรือการแพทย์ ( ค.ศ.1904 ) เกียรติประวัติ รางวัลโนเบล สาขาสรีรวิทยา หรือการแพทย์ ( ค.ศ.1904 )
  • 3. พาฟลอฟ เชื่อว่า การเรียนรู้ของ สิ่งมีชีวิตเกิดจากการวาง เงื่อนไข(Conditioning) กล่าวคือ การ ตอบสนองหรือการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นต่อสิ่ง เร้านั้น ๆ ต้องมีเงื่อนไขหรือมีการสร้าง สถานการณ์ให้เกิดขึ้น ซึ่งในธรรมชาติ หรือในชีวิตประจำาวันจะไม่ตอบสนองเช่น นั้นเลย เช่น คนได้ยินเสียงไซเรน จะ คิดถึงไฟไหม้ เป็นต้น เสียงไซเรน เป็นสิ่ง เร้า พาฟลอฟ เรียกว่า สิ่งเร้าที่วาง เงื่อนไข(Conditioned stumulus) และ การคิดถึงไฟไหม้ เป็นการตอบสนอง ที่ เรียกว่าการตอบสนองที่ถูกวาง เงื่อนไข(Conditioned response) ซึ่ง เป็นพฤติกรรมแสดงถึงการเรียนรู้จากการ
  • 4. ก่อนวางเงื่อนไข เสียงกระดิ่ง (cs) ไม่มีนำ้าลาย เนื้อ (ucs) นำ้าลายไหล (ucr) วางเงื่อนไข เนื้อ+ กระดิ่ง นำ้าลายไหล หลังวางเงื่อนไข เสียงกระดิ่ง (cs) นำ้าลายไหล (cr) แผนภูมิแสดงการ ทดลองทฤษฎี เงื่อนไขแบบ คลาสสิค แผนภูมิแสดงการ ทดลองทฤษฎี เงื่อนไขแบบ คลาสสิค
  • 5.
  • 6. UCS : Unconditioning Stimulus สิ่งเร้าที่ไม่ต้องวาง เงื่อนไข UCR : Unconditioning Response การตอบสนองที่ไม่ต้อง วางเงื่อนไข CS : Conditioning Stimulus สิ่งเร้าที่ต้องวางเงื่อนไข รเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมโดยวางเงื่อน
  • 7. จากสิ่งที่เกิดขึ้นในการทดลอง พาฟลอฟ ได้สรุปเป็นกฎ 4 ข้อ คือ จากสิ่งที่เกิดขึ้นในการทดลอง พาฟลอฟ ได้สรุปเป็นกฎ 4 ข้อ คือ 1.กฎการลบพฤติกรรม (Law of extinction)มีความว่า ความเข้มข้น ของการตอบสนอง จะลดน้อยลงเรื่อยๆ ถ้าให้ร่างกายได้รับสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข อย่างเดียว
  • 8. 2.กฎแห่งการคืนกลับ (Low of spontaneous recovery) การตอบสนองที่ เกิดจากการวางเงื่อนไข (CR) ที่ลดลงเพราะได้ รับแต่สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (CS) เพียงอย่างเดียว จะกลับปรากฏขึ้นอีกและเพิ่มมากขึ้นๆ ถ้าร่างกาย มีการเรียนรู้อย่างแท้จริง โดยไม่ต้องมีสิ่งเร้าที่ไม่ วางเงื่อนไข (UCS) มาเข้าช่วย
  • 9. 3. กฎความคล้ายคลึงกัน ถ้าร่างกายมีการ เรียนรู้โดยแสดงอาการตอบสนอง จากการวาง เงื่อนไขต่อสิ่งเร้า ที่วางเงื่อนไขหนึ่งแล้ว ถ้ามี สิ่งเร้าอื่นที่มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกันกับสิ่งเร้าที่  วางเงื่อนไข เดิม ร่างกายจะตอบสนองเหมือน กับสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขนั้น
  • 10. 4. กฎแห่งการจำาแนก ถ้าร่างกายมีการเรียนรู้ โดยแสดงอาการตอบสนอง จากการวางเงื่อนไขต่อ สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขเดิม ถ้าสิ่งเร้าอื่นที่มีคุณสมบัติ แตกต่างจากสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขเดิม ร่างกายจะ ตอบสนองแตกต่างไปจากสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขนั้น