SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
สวัสดีค่ะ
ทฤษฏีกลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt’s Theory)
ประวัติ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัลท์ เกิดจากนักจิตวิทยาชาวเยอรมัน
ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1912 โดยมีผู้นากลุ่มคือ เวอร์ไทเมอร์ (Wertheimer) โคล
เลอร์ (Kohler) คอฟฟ์กา (Koffka) และเลวิน (Lewin) ทั้งกลุ่มนี้มี
แนวคิดว่าการเรียนรู้เกิดจาการประสบการณ์ทั้งหลาย ที่อยู่กระจัด
กระจายให้มารวมกันเสียก่อน แล้วพิจารณาส่วนย่อยต่อไป
หลักการเรียนรู้
1. การรับรู้ (Perception) เป็นการแปลความหมายจากการสัมผัสด้วยอวัยวะรับสัมผัส
ทั้ง 5 ส่วน คือ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง
กลุ่มเกสตัลท์จึงจัดระเบียบการรับรู้โดยแบ่งเป็น 6 กฎ เรียกว่า กฎแห่งการจัด
ระเบียบ (The Law of Organizatio)
ต่อ
1. กฎแห่งความแน่นอนหรือชัดเจน (clearness) เพราะผู้เรียนมีประสบการณ์
เดิมแตกต่างกัน
เมื่อต้องการให้เกิดการเรียนรู้อย่างเดียวกัน ไม่ว่าจะมีประสบการณ์เดิมอย่างไร
การเรียนรู้ที่ดีต้องมีความชัดเจนและแน่นอน
ต่อ
ต่อ
2.กฎแห่งความคล้ายคลึง (Law of Similarity) เป็นการวางหลักการรับรู้ในสิ่งที่
คล้ายคลึงกัน เพื่อจะได้รู่ว่าสามารถจัดเข้ากลุ่มเดียวกัน (Law of proximity)
ต่อ
3.กฎแห่งความใกล้ชิด เป็นการกล่าวถึงว่า ถ้าสิ่งใดหรือสถานการณ์ใดที่มีความ
ใกล้ชิดกัน ผู้เรียนมีแนวโน้มที่จะรับรู้สิ่งนั้นไว้เป็นแบบเดียวกัน หรือเป็นหมวด
หมู่เดียวกัน
4. กฎแห่งการสิ้นสุด (Law of Closure) สาระสาคัญของกฎนี้มีอยู่ว่า “ แม้ว่า
สถานการณ์หรือปัญหายังไม่สมบูรณ์ อินทรีย์ก็จะเกิดการเรียนรู้ได้ได้จาก
ประสบการณ์เดิมต่อจากสถานการณ์นั้น”
ต่อ
5.กฎแห่งความต่อเนื่อง (Law of Continuity) สิ่งเร้าที่มีทิศทางในแนวเดียวกัน
ซึ่งผู้เรียนจะรับรู้ว่าเป็นพวกเดียวกัน
ต่อ
6.กฎแห่งความสมบูรณ์ (Law of Closer) สิ่งเร้าที่ขาดหายไปผู้เรียน
สามารถรับรู้ให้เป็นภาพสมบูรณ์ได้ โดยอาศัยประสบการณ์เดิม
2. การหยั่งเห็น (Insight) หมายถึง การเกิดความ
แวบขึ้นทันทีทันใด ในขณะที่ประสบปัญหา โดยมองเห็น
ทางในการแก้ไขตั้งแต่เริ่มแรกเป็นขั้นตอนจนสามารถ
แก้ปัญหาได้
การทดลองของกลุ่มเกสตัลท์ ที่จะได้เข้าใจวิธีการแนวคิดของ
นักจิตวิทยากลุ่มนี้เกี่ยวกับการเรียนรู้ด้วยการหยั่งเห็น จะยกตัวอย่างการ
ทดลองของโคล์เลอร์ ระหว่างปี ค.ศ.1913-1917 ซึ่งทดลองกับลิงชิงแปนซี
ซึ่งการทดลองครั้งแรกเป็นการทดลองในเยอรมัน แต่ต่อมาเข้าได้ย้ายมาตั้ง
ถิ่นฐานที่อเมริกา การทดลองส่วนใหญ่ระยะหลังจึงเกิดขึ้นในห้องปฏิบัติการ
ในประเทศอเมริกา
การนาทฤษฎีประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน
1. การเน้นภาพรวม ในการสอนครูควรจัดทาบทเรียนให้เป็นหมวดหมู่
2. คุณค่าของบทเรียน ครูควรเน้นให้ผู้เรียนเห็นถึงความสาคัญตระหนักใน
คุณค่าที่จะได้จากบทเรียน
3. ประสบการณ์เดิมของผู้เรียน ในการสอนครูควรคานึงถึงพื้นฐาน
ประสบการณ์ของผู้เรียน
ต่อ
4. ประสบการณ์การเรียนรู้ ครูผู้สอนพึงเห็นความสาคัญของประสบการณ์ที่จัด
ให้ผู้เรียน และควรสร้างประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน
5. ความแตกต่างทางสติปัญญา ผู้เรียนแต่ละคนย่อมมีสติปัญญาที่ต่างกัน
สมาชิกในกลุ่ม
 นางสาว อามานี ดอเลาะ 405710010
 นางสาว นูรมา นิมะ 405710016
 นางสาว ตัสนีม นิหมัด 405710017
 นางสาว กามีละห์ ยามา 405710032
 นางสาว กูฟียาร์ กูแต 405710033
 นางสาว อริสรา คงแก้ว 405710038
จบการนาเสนอ
ขอบคุณค่ะ

More Related Content

Viewers also liked

Wissen Products catalouge
Wissen Products catalougeWissen Products catalouge
Wissen Products catalougeAnkur Bhugra
 
Mu0015 compensation and benefits
Mu0015 compensation and benefitsMu0015 compensation and benefits
Mu0015 compensation and benefitsconsult4solutions
 
Ahmad Reza Khawar - Midterm Assignment SIBM Feb 2016
Ahmad Reza Khawar - Midterm Assignment SIBM Feb 2016Ahmad Reza Khawar - Midterm Assignment SIBM Feb 2016
Ahmad Reza Khawar - Midterm Assignment SIBM Feb 2016Reza Khawar
 
Trabajo Practico Instituciones
Trabajo Practico InstitucionesTrabajo Practico Instituciones
Trabajo Practico InstitucionesAlex Elia
 
Facultad de ingenieria industrial
Facultad de ingenieria industrialFacultad de ingenieria industrial
Facultad de ingenieria industrialUmberto Mori
 
LCDS Community Partnership 2017-18
LCDS Community Partnership 2017-18LCDS Community Partnership 2017-18
LCDS Community Partnership 2017-18Aileen Hawkins
 
Deni_Afandi_2016_Common_Resume (with photo)
Deni_Afandi_2016_Common_Resume (with photo)Deni_Afandi_2016_Common_Resume (with photo)
Deni_Afandi_2016_Common_Resume (with photo)Deni Afandi
 
RESUME_RHOWTON_02FEB2017
RESUME_RHOWTON_02FEB2017RESUME_RHOWTON_02FEB2017
RESUME_RHOWTON_02FEB2017Roza Howton
 
Master Carmen Ionescu Universitatea Națională de Artă Bucuresti
Master Carmen Ionescu Universitatea Națională de Artă BucurestiMaster Carmen Ionescu Universitatea Națională de Artă Bucuresti
Master Carmen Ionescu Universitatea Națională de Artă BucurestiLiliana Mustata
 
1 presentation by dauren
1 presentation by dauren1 presentation by dauren
1 presentation by daurenDaurenHSE
 

Viewers also liked (12)

Wissen Products catalouge
Wissen Products catalougeWissen Products catalouge
Wissen Products catalouge
 
Mu0015 compensation and benefits
Mu0015 compensation and benefitsMu0015 compensation and benefits
Mu0015 compensation and benefits
 
Ahmad Reza Khawar - Midterm Assignment SIBM Feb 2016
Ahmad Reza Khawar - Midterm Assignment SIBM Feb 2016Ahmad Reza Khawar - Midterm Assignment SIBM Feb 2016
Ahmad Reza Khawar - Midterm Assignment SIBM Feb 2016
 
Trabajo Practico Instituciones
Trabajo Practico InstitucionesTrabajo Practico Instituciones
Trabajo Practico Instituciones
 
Facultad de ingenieria industrial
Facultad de ingenieria industrialFacultad de ingenieria industrial
Facultad de ingenieria industrial
 
LCDS Community Partnership 2017-18
LCDS Community Partnership 2017-18LCDS Community Partnership 2017-18
LCDS Community Partnership 2017-18
 
RecargaYA
RecargaYA RecargaYA
RecargaYA
 
Deni_Afandi_2016_Common_Resume (with photo)
Deni_Afandi_2016_Common_Resume (with photo)Deni_Afandi_2016_Common_Resume (with photo)
Deni_Afandi_2016_Common_Resume (with photo)
 
RESUME_RHOWTON_02FEB2017
RESUME_RHOWTON_02FEB2017RESUME_RHOWTON_02FEB2017
RESUME_RHOWTON_02FEB2017
 
Master Carmen Ionescu Universitatea Națională de Artă Bucuresti
Master Carmen Ionescu Universitatea Națională de Artă BucurestiMaster Carmen Ionescu Universitatea Națională de Artă Bucuresti
Master Carmen Ionescu Universitatea Națională de Artă Bucuresti
 
1 presentation by dauren
1 presentation by dauren1 presentation by dauren
1 presentation by dauren
 
Multivibrator bistabil
Multivibrator bistabilMultivibrator bistabil
Multivibrator bistabil
 

More from mekshak

ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟmekshak
 
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์mekshak
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์mekshak
 
ทฤษฎีพัฒนาการของอีริค อีริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการของอีริค อีริคสันทฤษฎีพัฒนาการของอีริค อีริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการของอีริค อีริคสันmekshak
 
ทฤษฎีพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ส
ทฤษฎีพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์สทฤษฎีพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ส
ทฤษฎีพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์สmekshak
 
ทฤษฎีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์ทฤษฎีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์mekshak
 
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของจอห์นบี วัตสัน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของจอห์นบี วัตสันทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของจอห์นบี วัตสัน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของจอห์นบี วัตสันmekshak
 
ทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์กmekshak
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์mekshak
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์mekshak
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเบนดูราทฤษฎีการเรียนรู้ของเบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเบนดูราmekshak
 

More from mekshak (11)

ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
 
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
 
ทฤษฎีพัฒนาการของอีริค อีริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการของอีริค อีริคสันทฤษฎีพัฒนาการของอีริค อีริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการของอีริค อีริคสัน
 
ทฤษฎีพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ส
ทฤษฎีพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์สทฤษฎีพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ส
ทฤษฎีพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ส
 
ทฤษฎีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์ทฤษฎีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
 
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของจอห์นบี วัตสัน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของจอห์นบี วัตสันทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของจอห์นบี วัตสัน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของจอห์นบี วัตสัน
 
ทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการของโคลเบิร์ก
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเบนดูราทฤษฎีการเรียนรู้ของเบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเบนดูรา
 

ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์