SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
1




     สาระสําคัญ

       สารกึ่งตัวนํา คือ สารที่มีสภาพระหวางตัวนํากับฉนวน นํา
ไปใชในการสรางอุปกรณทางอิเล็กทรอนิกสตางๆ เชน ไดโอด
ทรานซิสเตอร ฯลฯ การคนพบสารกึ่งตัวนํานับเปนการคนพบที่ยิ่ง
ใหญ จนอาจกลาวไดวาเปนการปฏิวัตอตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส
                                     ิุ
เลยทีเดียว




สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                    โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
2




        ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
                 บอกคําจํากัดความของสารกึ่งตัวนําได
                อธิบายความแตกตางระหวางสารกึ่งตัวนําชนิด P และ ชนิด N ได
                บอกโครงสรางและเขียนสัญลักษณของไดโอดทรานซิสเตอรได
                อธิบายหลักการทํางานของไดโอดและทรานซิสเตอรได
                ยกตัวอยางการนําไดโอดและทรานซิสเตอรไปใชงานได
                สามารถตรวจสอบไดโอดและทรานซิสเตอรดวยมัลติมิเตอรได
                บอกชื่อและหนาที่ของไดโอดชนิดตางๆได
                บอกชื่อและหนาที่ของทรานซิสเตอรชนิดตางๆได




สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                                  โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
3



 สารกึ่งตัวนําคืออะไร

                                 อิเล็กตรอน
                                 นิวเคลียส



                  ตัวนํา                      สารกึ่งตัวนํา   ฉนวน

               รูปที่ 7.1 แสดงโครงสรางของสสารแตละประเภท

      สารกึ่งตัวนํา ชนิด P และ ชนิด N
         สารกึ่งตัวนํา บริสุทธิ์ (Intrinsic Semiconductor) จะมี
สภาพการนําไฟฟาที่ไมดี เพราะอิเล็กตรอนวงนอกจะจับตัวรวม
กัน โดยใชอิเล็กตรอนรวมกัน เพื่อใหเกิดภาวะเสถียร เสมือนมี
อิเล็กตรอนวงนอก 8 ตัวจึงไมเหมาะตอการใชงาน ดังนั้นในทาง
ปฏิบติจึงมีการเติมสารอื่นเขาไป เพื่อใหเกิดสภาพนําไฟฟาที่ดีกวา
      ั
เดิมเหมาะกับการใชงาน โดยการเติมสารหรือที่เรียกกันทับศัพท
วา การโดป(Doping) สารนั้น จะมีได 2 ลักษณะคือ


สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                                  โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
4


             เติมสารที่มีอิเล็กตรอนวงนอก 3 ตัว เชน อลูมเิ นียม หรือ
   แกลเลียม ลงไป              ทําใหเกิดสภาวะขาดอิเล็กตรอนคือจะมีที่วาง
   ของอิเล็กตรอนซึ่งเรียกวา โฮล (Hole) มากกวาจํานวนอิเล็กตรอน
   อิสระ ดวยเหตุที่โฮลมีสภาพเปนประจุไฟฟาบวกและเปนพาหะสวน
   ใหญของสาร สวนอิเล็กตรอนจะเปนพาหะสวนนอย เราจึงเรียกสาร
   กึ่งตัวนําประเภทนี้วา สารกึ่งตัวนําชนิด P (P-type Semiconductor)
             เติมสารที่มีอิเล็กตรอนวงนอก 5 ตัว เชน สารหนู หรือ
   ฟอสฟอรัส ลงไป ทํ าใหเกิดสภาวะมีอิเล็กตรอนอิสระมากกวา
   จํ านวนของโฮล ดวยเหตุที่อิเล็กตรอนมีประจุไฟฟาลบและเปน
   พาหะสวนใหญ สวนโฮลเปนพาหะสวนนอยของสารเราจึงเรียกวา
   เปน สารกึ่งตัวนําชนิด N (N-type Semiconductor)

                                       P                   N
                                                                         โฮล

                                 โฮล       อิเล็กตรอน       อิเล็กตรอน

                     รูปที่ 7.2 แสดงสารกึ่งตัวนําชนิด P และ ชนิด N




สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                                โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
5


   รอยตอ PN




                                              บริเวณปลอดพาหะ
                                              (Depletion Region)


                      รูปที่ 7.3 แสดงโครงสรางของรอยตอ P-N

   การไบอัสรอยตอ PN
                                     โฮล                           อิเล็กตรอน




                                 กระแสอิเล็กตรอน               แบตเตอรี่        กระแสอิเล็กตรอน




                                 รูปที่ 7.4 แสดงการไบอัสตรง

สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                                                                    โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
6



        ในทางตรงกันขามหากเราทําการจายแรงดันสลับดาน โดย
ใหขั้วบวกของแบตเตอรี่ตอเขากับสารกึ่งตัวนําชนิด N และตอขั้ว
ลบเขากับสารกึ่งตัวนําชนิด P จะทําใหมีการฉุดรั้งอิเล็กตรอนไม
ใหขามมายังฝงตรงขาม ทําใหไมเกิดกระแสไหล เราเรียกลักษณะ
การตอแรงดันในลักษณะนี้วา การไบอัสกลับ (Reveres Bias)
                                           โฮล อิเล็กตรอน
                                         อิออนลบ อิออนบวก




                                            เขตปลอดประจุ




                                 รูปที่ 7.5 แสดงการไบอัสกลับ




สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                                 โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
7



    ไดโอด
       จากคุณลักษณะของรอยตอ PN ของสารกึ่งตัวนํา เราจึงนํา
มาสรางอุปกรณที่เรียกวา ไดโอดขึ้น โดยเรียกขั้วที่ตอกับสาร P
วา อาโนด(Anode) และเรียกขั้วที่ตอกับสาร N วา คาโถด
(Cathode) โดยจะมีรูปลักษณะและสัญลักษณดังรูปที่ 7.6




          รูปที่ 7.6 แสดงรูปลักษณะ และ สัญลักษณ ของไดโอด




สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                      โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
8


    การตรวจสอบไดโอด

     วิธการตรวจสอบไดโอดวาดีหรือเสียและตรวจสอบขั้วของ
        ี
ไดโอดทําไดโดยอาศัยคุณสมบัติของการไบอัสไดโอด           โดย
สามารถทําไดดังนี้ คือ
     1. ใชมัลติมิเตอรตั้งยานวัดโอหม R X 1
     2. ใชปลายสายวัดตอเขากับขั้วตอแตละดานของไดโอด
     3. สังเกตเข็มมิเตอรวาขึ้นหรือไม
     4. จากนั้นทํ าการสลับขั้วสายวัดแลวสังเกตเข็มมิเตอรอีก
        ครั้ง




                 รูปที่ 7.7 แสดงการตรวจสอบไดโอดดวยมิเตอร

1. การปองกันการตอแบตเตอรี่ผิดขั้ว

สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                          โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
9


การปองกันการตอแบตเตอรี่ผิดขั้ว
             +                                      +
วงจร                                    วงจร
อิเล็กทรอนิกส                          อิเล็กทรอนิกส
              -

ตอถูกขั้ว กระแสไหล                    ตอผิดขั้ว กระแสไมไหล
วงจรทํางาน                             วงจรไมทํางาน


                     รูปที่ 7.9 แสดงการตอแบตเตอรี่เขากับวงจร



การแปลงไฟสลับเปนไฟตรง




                   รูปที่ 7.10 แสดงการแปลงไฟสลับเปนไฟตรง



สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                                   โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
10


    ไดโอดชนิดตางๆ
ไดโอดดีเท็คเตอร ( Detector Diode)
ไดโอดเร็กติฟาย (Rectifier Diode)
ไดโอดกําลัง ( Power Diode)
ซีเนอรไดโอด ( Zener Diode)
ไดโอดเปลงแสง (Light Emitting Diode)
ไดโอดรับแสง (Photo Diode)




                           รูปที่ 7.11 แสดงไดโอดประเภทตางๆ




สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                                โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
11


  ขอควรระวังในการใชงานไดโอด
        1. ในการใชงานไบอัสตรงจะตองมีตัวตานทานจํากัดกระแสตอไวเสมอ
        2. การใชงานในสภาวะไบอัสกลับจะตองระวังไมใหไดโอดไดรบแรงดัน
                                                                ั
ไบอัสกลับเกินกวาคาแรงดันไบอัสกลับสูงสุดที่ทนได
        3. การใชงานไดโอดเปลงแสงหรือแอลอีดี จะตองระวังไมใหกระแสเกิน
กวา 20 mA
        4. ไมควรใหแอลอีดีไดรับแรงดันไบอัสกลับ
        5. คาแรงดันที่ตกครอมแอลอีดีในสภาวะทํางานจะแตกตางกันไปตามสารที่
ใชทํา




สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                               โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
12

     ทรานซิสเตอร
      ทรานซิสเตอร (Transistor) เปนอุปกรณอิเล็กทรอนิกส
ชนิดหนึ่ง ที่สรางมาจากสารกึ่งตัวนํา 3 ชิ้น มาเชื่อมตอกัน คือ
      ชิ้นแรก เรียกวา อิมิตเตอร (Emitter)
      ชิ้นที่สอง เรียกวา เบส (Base) จะเปนชิ้นสารบางๆ
      ชิ้นที่สาม เรียกวา คอลเล็กเตอร (Collector)




                                 รอยตอ PN ระหวาง     รอยตอ PN ระหวาง เบส
                                  เบส กับ อิมิตเตอร      กับ คอลเล็กเตอร



                   รูปที่ 7.12 แสดงโครงสรางของทรานซิสเตอร




สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                                                 โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
13




               โครงสรางของทรานซิสเตอรชนิด PNP และ NPN




                                 PNP        NPN



               สัญลักษณ ของทรานซิสเตอรชนิด PNP และ NPN




สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                       โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
14



      การทํางานของทรานซิสเตอร
                                        รอยตอ PN        รอยตอ PN
                                       เบส-อิมิตเตอร   เบส-คอลเล็ก




                    -                                                        +
                           VBE                                                 VCE
                    +                                                        -



                   รูปที่ 7.14 แสดงการทํางานของทรานซิสเตอร
      การไบอัส


                                                                                     ไบอัสแบบแบงแรงดัน
                         ไบอัสคงที่
                                                                                     (Voltage Divider Bias)
                        (Fixed Bias)




                                                               ไบอัสตัวเอง
                                                               (Self Bias)




สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                                                         โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
15



      การตรวจสอบทรานซิสเตอร
                   การตรวจวาทรานซิสเตอรดีหรือเสีย
             1. กอนอื่นตองทราบกอนวา ทรานซิสเตอรเปนประเภทอะไร และขาใดเปนขา
                อะไร ถาทรานซิสเตอร เปนชนิด NPN ใหตอขั้วลบของมิเตอรไวที่ขาคอลเล็ก
                                                              
                เตอร ใหตอขั้วบวกไวที่ขาอิมิตเตอร แตถาเปนชนิดPNP ใหสลับกันคือ ตอขั้ว
                             
                บวกของมิเตอรไวที่ขาคอลเล็กเตอรและตอขั้วลบไวที่ขาอิมิตเตอร
             2. ตั้งมัลติมเิ ตอรในยานวัดโอหม R X 10
             3. ดูเข็มของมิเตอรวาขึ้นหรือไม ถาขึ้นแสดงวาอาจชอตหรือมีกระแสรั่วไหลสูง
             4. จากนั้นใชนิ้วมือแตะระหวางขาคอลเล็กเตอรและขาเบส(แทนตัวตานทาน Rb)
             5. สังเกตวาเข็มขึ้นจากเดิมหรือไม ถาขึ้นแสดงวาใชได โดยถาขึ้นสูงแสดงวาอัตรา
                ขยายกระแสสู ง (ในการวั ด เพื่ อ เปรี ย บเที ย บอั ต ราการขยายกระแสของ
                ทรานซิสเตอรแตละตัว ควรใชอุปกรณการวัดทรานซิสเตอรที่ใหมากับมัลติ
                มิเตอร จะชวยใหมีความเที่ยงตรงมากยิ่งขึ้น)




สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                                                 โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
16

                   การตรวจหาขาและชนิดของทรานซิสเตอร
             1. ตั้งมัลติมเิ ตอรยานวัดโอหม R X 10
             2. ตรวจสอบหาขาเบสของทรานซิสเตอร โดยพิจารณาทรานซิสเตอรในลักษณะ
                ของไดโอดดังรูป




                                 PNP                            NPN

                          รูปที่ 7.16 แสดงการตรวจหาขาเบสของทรานซิสเตอร

             3. ใชขาใดขาหนึ่งเปนหลัก โดยสมมุติใหเปนขาเบส แลวตอสายวัดไว จากนั้นใช
                สายวัดอีกเสน แตะที่ขาทั้งสองที่เหลือ ถามิเตอรขึ้น ทั้ง 2 ครั้ง แสดงวามีแนว
                โนมที่จะเปนขาเบส จากนั้นใหสลับสายวัดแลวลองทําซํ้าตามเดิมอีกครั้ง ถาไม
                ขึนทั้งสองขา แสดงวาเปนขาเบสแนนอน
                  ้
             4. เมื่อหาขาเบสไดก็จะรูชนิดของทรานซิสเตอรคือ ถาในสภาวะขึ้นทั้ง 2 ขา ขั้ว
                บวกของมิเตอรตออยูกับขาเบส แสดงวา เปนทรานซิสเตอร PNP แตถาเปนขั้ว
                ลบตออยูที่ขาเบสตอนเข็มมิเตอรขึ้น 2 ครั้ง แสดงวาเปนชนิด NPN
             5. หลังจากหาขาเบสไดแลวใหลองหาขาคอลเล็กเตอรและอิมิตเตอร ตามหลักการ
                ไบอัสทรานซิสเตอร เชนเดียวกับวิธีหาวาทรานซิสเตอรดีหรือเสีย ถาตอถูกตอง
                เข็มจะขึ้นสูงเมื่อใชนิ้วมือแตะระหวางขา เบสและคอลเล็กเตอร




สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                                                 โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
17



    การนําไปใชงาน
                                              220   R1

                                 100k   R2
                                                     LED


                                                             BATTERY

                                                    2N2002    9V




                                  LDR    R3




                แสดงการนําทรานซิสเตอรไปตอเปนวงจรสวิตช

      ทรานซิสเตอรชนิดตางๆ
ทรานซิสเตอรสัญญาณตํ่า (Small Signal Transistor)
ทรานซิสเตอรกําลัง (Power Transistor)
ทรานซิสเตอรชนิดทํางานความถี่สูง
โฟโตทรานซิสเตอร (Photo Transister)




สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                                         โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี

More Related Content

More from กนกวรรณ โพธิ์ทอง (9)

sun
sunsun
sun
 
นาโนเทคโนโลยี
นาโนเทคโนโลยีนาโนเทคโนโลยี
นาโนเทคโนโลยี
 
การประกอบวงจร
การประกอบวงจรการประกอบวงจร
การประกอบวงจร
 
ไดโอดและทรานซิสเตอร์
ไดโอดและทรานซิสเตอร์ไดโอดและทรานซิสเตอร์
ไดโอดและทรานซิสเตอร์
 
ตัวเก็บประจุ
ตัวเก็บประจุตัวเก็บประจุ
ตัวเก็บประจุ
 
ตัวต้านทาน
ตัวต้านทานตัวต้านทาน
ตัวต้านทาน
 
ตัวต้านทาน
ตัวต้านทานตัวต้านทาน
ตัวต้านทาน
 
สังเกตดาวศุกร์
สังเกตดาวศุกร์สังเกตดาวศุกร์
สังเกตดาวศุกร์
 
ballloon
ballloonballloon
ballloon
 

ไดโอดและทรานซิสเตอร์

  • 1. 1 สาระสําคัญ สารกึ่งตัวนํา คือ สารที่มีสภาพระหวางตัวนํากับฉนวน นํา ไปใชในการสรางอุปกรณทางอิเล็กทรอนิกสตางๆ เชน ไดโอด ทรานซิสเตอร ฯลฯ การคนพบสารกึ่งตัวนํานับเปนการคนพบที่ยิ่ง ใหญ จนอาจกลาวไดวาเปนการปฏิวัตอตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส ิุ เลยทีเดียว สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 2. 2 ผลการเรียนรูที่คาดหวัง บอกคําจํากัดความของสารกึ่งตัวนําได อธิบายความแตกตางระหวางสารกึ่งตัวนําชนิด P และ ชนิด N ได บอกโครงสรางและเขียนสัญลักษณของไดโอดทรานซิสเตอรได อธิบายหลักการทํางานของไดโอดและทรานซิสเตอรได ยกตัวอยางการนําไดโอดและทรานซิสเตอรไปใชงานได สามารถตรวจสอบไดโอดและทรานซิสเตอรดวยมัลติมิเตอรได บอกชื่อและหนาที่ของไดโอดชนิดตางๆได บอกชื่อและหนาที่ของทรานซิสเตอรชนิดตางๆได สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 3. 3 สารกึ่งตัวนําคืออะไร อิเล็กตรอน นิวเคลียส ตัวนํา สารกึ่งตัวนํา ฉนวน รูปที่ 7.1 แสดงโครงสรางของสสารแตละประเภท สารกึ่งตัวนํา ชนิด P และ ชนิด N สารกึ่งตัวนํา บริสุทธิ์ (Intrinsic Semiconductor) จะมี สภาพการนําไฟฟาที่ไมดี เพราะอิเล็กตรอนวงนอกจะจับตัวรวม กัน โดยใชอิเล็กตรอนรวมกัน เพื่อใหเกิดภาวะเสถียร เสมือนมี อิเล็กตรอนวงนอก 8 ตัวจึงไมเหมาะตอการใชงาน ดังนั้นในทาง ปฏิบติจึงมีการเติมสารอื่นเขาไป เพื่อใหเกิดสภาพนําไฟฟาที่ดีกวา ั เดิมเหมาะกับการใชงาน โดยการเติมสารหรือที่เรียกกันทับศัพท วา การโดป(Doping) สารนั้น จะมีได 2 ลักษณะคือ สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 4. 4 เติมสารที่มีอิเล็กตรอนวงนอก 3 ตัว เชน อลูมเิ นียม หรือ แกลเลียม ลงไป ทําใหเกิดสภาวะขาดอิเล็กตรอนคือจะมีที่วาง ของอิเล็กตรอนซึ่งเรียกวา โฮล (Hole) มากกวาจํานวนอิเล็กตรอน อิสระ ดวยเหตุที่โฮลมีสภาพเปนประจุไฟฟาบวกและเปนพาหะสวน ใหญของสาร สวนอิเล็กตรอนจะเปนพาหะสวนนอย เราจึงเรียกสาร กึ่งตัวนําประเภทนี้วา สารกึ่งตัวนําชนิด P (P-type Semiconductor) เติมสารที่มีอิเล็กตรอนวงนอก 5 ตัว เชน สารหนู หรือ ฟอสฟอรัส ลงไป ทํ าใหเกิดสภาวะมีอิเล็กตรอนอิสระมากกวา จํ านวนของโฮล ดวยเหตุที่อิเล็กตรอนมีประจุไฟฟาลบและเปน พาหะสวนใหญ สวนโฮลเปนพาหะสวนนอยของสารเราจึงเรียกวา เปน สารกึ่งตัวนําชนิด N (N-type Semiconductor) P N โฮล โฮล อิเล็กตรอน อิเล็กตรอน รูปที่ 7.2 แสดงสารกึ่งตัวนําชนิด P และ ชนิด N สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 5. 5 รอยตอ PN บริเวณปลอดพาหะ (Depletion Region) รูปที่ 7.3 แสดงโครงสรางของรอยตอ P-N การไบอัสรอยตอ PN โฮล อิเล็กตรอน กระแสอิเล็กตรอน แบตเตอรี่ กระแสอิเล็กตรอน รูปที่ 7.4 แสดงการไบอัสตรง สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 6. 6 ในทางตรงกันขามหากเราทําการจายแรงดันสลับดาน โดย ใหขั้วบวกของแบตเตอรี่ตอเขากับสารกึ่งตัวนําชนิด N และตอขั้ว ลบเขากับสารกึ่งตัวนําชนิด P จะทําใหมีการฉุดรั้งอิเล็กตรอนไม ใหขามมายังฝงตรงขาม ทําใหไมเกิดกระแสไหล เราเรียกลักษณะ การตอแรงดันในลักษณะนี้วา การไบอัสกลับ (Reveres Bias) โฮล อิเล็กตรอน อิออนลบ อิออนบวก เขตปลอดประจุ รูปที่ 7.5 แสดงการไบอัสกลับ สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 7. 7 ไดโอด จากคุณลักษณะของรอยตอ PN ของสารกึ่งตัวนํา เราจึงนํา มาสรางอุปกรณที่เรียกวา ไดโอดขึ้น โดยเรียกขั้วที่ตอกับสาร P วา อาโนด(Anode) และเรียกขั้วที่ตอกับสาร N วา คาโถด (Cathode) โดยจะมีรูปลักษณะและสัญลักษณดังรูปที่ 7.6 รูปที่ 7.6 แสดงรูปลักษณะ และ สัญลักษณ ของไดโอด สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 8. 8 การตรวจสอบไดโอด วิธการตรวจสอบไดโอดวาดีหรือเสียและตรวจสอบขั้วของ ี ไดโอดทําไดโดยอาศัยคุณสมบัติของการไบอัสไดโอด โดย สามารถทําไดดังนี้ คือ 1. ใชมัลติมิเตอรตั้งยานวัดโอหม R X 1 2. ใชปลายสายวัดตอเขากับขั้วตอแตละดานของไดโอด 3. สังเกตเข็มมิเตอรวาขึ้นหรือไม 4. จากนั้นทํ าการสลับขั้วสายวัดแลวสังเกตเข็มมิเตอรอีก ครั้ง รูปที่ 7.7 แสดงการตรวจสอบไดโอดดวยมิเตอร 1. การปองกันการตอแบตเตอรี่ผิดขั้ว สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 9. 9 การปองกันการตอแบตเตอรี่ผิดขั้ว + + วงจร วงจร อิเล็กทรอนิกส อิเล็กทรอนิกส - ตอถูกขั้ว กระแสไหล ตอผิดขั้ว กระแสไมไหล วงจรทํางาน วงจรไมทํางาน รูปที่ 7.9 แสดงการตอแบตเตอรี่เขากับวงจร การแปลงไฟสลับเปนไฟตรง รูปที่ 7.10 แสดงการแปลงไฟสลับเปนไฟตรง สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 10. 10 ไดโอดชนิดตางๆ ไดโอดดีเท็คเตอร ( Detector Diode) ไดโอดเร็กติฟาย (Rectifier Diode) ไดโอดกําลัง ( Power Diode) ซีเนอรไดโอด ( Zener Diode) ไดโอดเปลงแสง (Light Emitting Diode) ไดโอดรับแสง (Photo Diode) รูปที่ 7.11 แสดงไดโอดประเภทตางๆ สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 11. 11 ขอควรระวังในการใชงานไดโอด 1. ในการใชงานไบอัสตรงจะตองมีตัวตานทานจํากัดกระแสตอไวเสมอ 2. การใชงานในสภาวะไบอัสกลับจะตองระวังไมใหไดโอดไดรบแรงดัน ั ไบอัสกลับเกินกวาคาแรงดันไบอัสกลับสูงสุดที่ทนได 3. การใชงานไดโอดเปลงแสงหรือแอลอีดี จะตองระวังไมใหกระแสเกิน กวา 20 mA 4. ไมควรใหแอลอีดีไดรับแรงดันไบอัสกลับ 5. คาแรงดันที่ตกครอมแอลอีดีในสภาวะทํางานจะแตกตางกันไปตามสารที่ ใชทํา สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 12. 12 ทรานซิสเตอร ทรานซิสเตอร (Transistor) เปนอุปกรณอิเล็กทรอนิกส ชนิดหนึ่ง ที่สรางมาจากสารกึ่งตัวนํา 3 ชิ้น มาเชื่อมตอกัน คือ ชิ้นแรก เรียกวา อิมิตเตอร (Emitter) ชิ้นที่สอง เรียกวา เบส (Base) จะเปนชิ้นสารบางๆ ชิ้นที่สาม เรียกวา คอลเล็กเตอร (Collector) รอยตอ PN ระหวาง รอยตอ PN ระหวาง เบส เบส กับ อิมิตเตอร กับ คอลเล็กเตอร รูปที่ 7.12 แสดงโครงสรางของทรานซิสเตอร สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 13. 13 โครงสรางของทรานซิสเตอรชนิด PNP และ NPN PNP NPN สัญลักษณ ของทรานซิสเตอรชนิด PNP และ NPN สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 14. 14 การทํางานของทรานซิสเตอร รอยตอ PN รอยตอ PN เบส-อิมิตเตอร เบส-คอลเล็ก - + VBE VCE + - รูปที่ 7.14 แสดงการทํางานของทรานซิสเตอร การไบอัส ไบอัสแบบแบงแรงดัน ไบอัสคงที่ (Voltage Divider Bias) (Fixed Bias) ไบอัสตัวเอง (Self Bias) สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 15. 15 การตรวจสอบทรานซิสเตอร การตรวจวาทรานซิสเตอรดีหรือเสีย 1. กอนอื่นตองทราบกอนวา ทรานซิสเตอรเปนประเภทอะไร และขาใดเปนขา อะไร ถาทรานซิสเตอร เปนชนิด NPN ใหตอขั้วลบของมิเตอรไวที่ขาคอลเล็ก  เตอร ใหตอขั้วบวกไวที่ขาอิมิตเตอร แตถาเปนชนิดPNP ใหสลับกันคือ ตอขั้ว  บวกของมิเตอรไวที่ขาคอลเล็กเตอรและตอขั้วลบไวที่ขาอิมิตเตอร 2. ตั้งมัลติมเิ ตอรในยานวัดโอหม R X 10 3. ดูเข็มของมิเตอรวาขึ้นหรือไม ถาขึ้นแสดงวาอาจชอตหรือมีกระแสรั่วไหลสูง 4. จากนั้นใชนิ้วมือแตะระหวางขาคอลเล็กเตอรและขาเบส(แทนตัวตานทาน Rb) 5. สังเกตวาเข็มขึ้นจากเดิมหรือไม ถาขึ้นแสดงวาใชได โดยถาขึ้นสูงแสดงวาอัตรา ขยายกระแสสู ง (ในการวั ด เพื่ อ เปรี ย บเที ย บอั ต ราการขยายกระแสของ ทรานซิสเตอรแตละตัว ควรใชอุปกรณการวัดทรานซิสเตอรที่ใหมากับมัลติ มิเตอร จะชวยใหมีความเที่ยงตรงมากยิ่งขึ้น) สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 16. 16 การตรวจหาขาและชนิดของทรานซิสเตอร 1. ตั้งมัลติมเิ ตอรยานวัดโอหม R X 10 2. ตรวจสอบหาขาเบสของทรานซิสเตอร โดยพิจารณาทรานซิสเตอรในลักษณะ ของไดโอดดังรูป PNP NPN รูปที่ 7.16 แสดงการตรวจหาขาเบสของทรานซิสเตอร 3. ใชขาใดขาหนึ่งเปนหลัก โดยสมมุติใหเปนขาเบส แลวตอสายวัดไว จากนั้นใช สายวัดอีกเสน แตะที่ขาทั้งสองที่เหลือ ถามิเตอรขึ้น ทั้ง 2 ครั้ง แสดงวามีแนว โนมที่จะเปนขาเบส จากนั้นใหสลับสายวัดแลวลองทําซํ้าตามเดิมอีกครั้ง ถาไม ขึนทั้งสองขา แสดงวาเปนขาเบสแนนอน ้ 4. เมื่อหาขาเบสไดก็จะรูชนิดของทรานซิสเตอรคือ ถาในสภาวะขึ้นทั้ง 2 ขา ขั้ว บวกของมิเตอรตออยูกับขาเบส แสดงวา เปนทรานซิสเตอร PNP แตถาเปนขั้ว ลบตออยูที่ขาเบสตอนเข็มมิเตอรขึ้น 2 ครั้ง แสดงวาเปนชนิด NPN 5. หลังจากหาขาเบสไดแลวใหลองหาขาคอลเล็กเตอรและอิมิตเตอร ตามหลักการ ไบอัสทรานซิสเตอร เชนเดียวกับวิธีหาวาทรานซิสเตอรดีหรือเสีย ถาตอถูกตอง เข็มจะขึ้นสูงเมื่อใชนิ้วมือแตะระหวางขา เบสและคอลเล็กเตอร สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 17. 17 การนําไปใชงาน 220 R1 100k R2 LED BATTERY 2N2002 9V LDR R3 แสดงการนําทรานซิสเตอรไปตอเปนวงจรสวิตช ทรานซิสเตอรชนิดตางๆ ทรานซิสเตอรสัญญาณตํ่า (Small Signal Transistor) ทรานซิสเตอรกําลัง (Power Transistor) ทรานซิสเตอรชนิดทํางานความถี่สูง โฟโตทรานซิสเตอร (Photo Transister) สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี