SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
การสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุด
เครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุดเป็นเรื่องที่มีมาช้านานแล้ว จากแนวความคิดที่ต้องการ
ให้เกิดการใช้ทรัพยากรและบริการร่วมกัน เนื่องจากแทบจะเป็นไปไม่ได้เลยที่ห้องสมุดแต่ละแห่งจะมี
ทรัพยากรมากเพียงพอและครอบคลุมถึงความต้องการของผู้ใช้ ซึ่งนอกจากส่วนของการให้บริการแล้ว
ยังอาจรวมถึงการดาเนินงานบางอย่างของห้องสมุดด้วย
ความหมายของ “เครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุด” อาจสรุปรวบยอดได้ว่าคือการทางาน
ร่วมกันของห้องสมุดตั้งแต่สองแห่งขึ้นไป เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง แต่การที่จะไปถึง
จุดนั้นจาเป็นต้องมีกรอบการทางานบางอย่างที่เป็นข้อตกลงร่วมกันเสียก่อน เนื่องจากห้องสมุดแต่ละ
แห่งอาจมีนโยบายหรือข้อกาหนดที่ไม่เหมือนกัน แม้ว่าบางครั้งจะอยู่ภายใต้การบริหารงานขององค์กร
เดียวกันก็ตาม ซึ่งการสร้างเครือข่ายความร่วมมือฯ อาจเป็นไปอย่างเป็นทางการหรือไม่ก็ได้
ยกตัวอย่างเช่น การสร้างมาตรฐานการลงรายการบรรณานุกรมสิ่งพิมพ์ หรือ MARC Format ก็
นับได้ว่าเป็นการสร้างเครือข่ายรูปแบบหนึ่งที่เกิดจากความพยายามทาให้เกิดรูปแบบการทางานที่
ตรงกันทั่วโลก เมื่อมีการทางานในรูปแบบเดียวกัน การเชื่อมโยงข้อมูลหรือการเข้าถึงทรัพยากรของ
ห้องสมุดแต่ละแห่ง จึงเป็นที่เข้าใจตรงกันและเกิดการประสานความร่วมมือได้ง่ายยิ่งขึ้น
แต่ในความหมายของความร่วมมือฯ โดยส่วนใหญ่ยังคงพุ่งเป้าไปที่ทรัพยากรและการให้บริการ
เป็นสาคัญ ในประเทศไทยมีการสร้างเครือข่ายห้องสมุดอยู่หลายแห่ง อาทิ เครือข่ายความร่วมมือ
ระหว่างห้องสมุดในส่วนภูมิภาค (PULINET) เครือข่ายความร่วมมือพัฒนาห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา
(ThaiLIS) ฯลฯ ซึ่งเกิดจากการการจับมือเป็นพันธมิตรระหว่างห้องสมุดที่มีความคล้ายกันในด้านต่างๆ
หรือห้องสมุดที่อยู่เขตพื้นที่ใกล้เคียง หรือกระทั่งห้องสมุดที่มีความแตกต่างกันในทุกด้าน แต่มุ่งเน้น
ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการ เพราะแม้ว่าจะเป็นห้องสมุดเฉพาะ แต่ความต้องการของผู้ใช้ที่
เกินกว่าขอบเขตทรัพยากรของห้องสมุด จึงจาเป็นต้องสร้างพันธมิตรขึ้นมาเพื่อการนี้
ทาไมต้องมีเครือข่ายความร่วมมือฯ
ประเด็นหลักของการสร้างเครือข่ายความร่วมมือฯ ได้แก่
1) เพื่อพัฒนาการดาเนินงานของห้องสมุดพันธมิตร
2) ส่งเสริมให้เกิดการใช้ทรัพยากรและบริการร่วมกัน
3) แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและส่งเสริมให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาชีพ
บางเครือข่ายความร่วมมือฯ อาจเพิ่มประเด็นของนโยบายการทางาน ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว
เป็นไปได้ยากที่ห้องสมุดแต่ละแห่งจะปรับเปลี่ยนนโยบายให้เหมือนกันหรือสอดคล้องกัน เนื่องจาก
ห้องสมุดทุกแห่งต่างต้องดาเนินการตามนโยบายของต้นสังกัดซึ่งไม่มีทางที่จะตรงกันได้ทั้งหมด
เว้นเสียแต่จะเป็นห้องสมุดที่อยู่ภายใต้องค์กรเดียวกัน
ดังนั้นโดยส่วนใหญ่ความร่วมมือระหว่างห้องสมุดจึงมุ่งเน้นไปที่ทรัพยากรและการให้บริการดังที่
ได้กล่าวมาแล้ว ขณะที่ส่วนอื่นๆ สามารถดาเนินการให้เป็นไปตามจุดประสงค์ได้ในขอบเขตที่จากัด แต่ก็
มิได้เป็นอุปสรรคต่อการทางานของเครือข่ายฯ มากนัก อีกทั้งจุดมุ่งหมายหลักที่แม้จะไม่ได้ระบุไว้ชัดเจน
แต่ห้องสมุดทุกแห่งล้วนคานึงถึงเป็นอย่างดีนั่นคือ ผู้ใช้บริการ
แต่ในยุคปัจจุบันที่เป็นยุคแห่งข้อมูลข่าวสาร ประกอบกับการเจริญเติบโตของเทคโนโลยีทาง
สารสนเทศ ทาให้ห้องสมุดไม่ใช่ทางเลือกแรกสาหรับผู้ใช้บริการอีกต่อไปในการค้นหาข้อมูล ห้องสมุด
จาเป็นต้องปรับเปลี่ยนบทบาทของตนเองไปตามพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปของผู้ใช้ ซึ่งหากห้องสมุดใดยังคง
ดาเนินการแบบเดิมๆ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ก็เท่ากับว่าห้องสมุดกาลังถูกเปลี่ยนให้กลายเป็นเพียงห้อง
อ่านหนังสือหรือจุดนัดพบเพียงเท่านั้น
สาหรับห้องสมุดที่ดาเนินงานภายใต้องค์กร จาเป็นต้องหาข้อสรุปที่ชัดเจนให้ได้ว่าผู้ใช้บริการ
หลักต้องการอะไรจากห้องสมุดกันแน่ เพราะห้องสมุดในองค์กรมีความแตกต่างจากห้องสมุด
มหาวิทยาลัย หรือ ห้องสมุดสาธารณะ ห้องสมุดในองค์กรจาเป็นต้องเน้นสาระที่ตอบโจทย์การทางาน
ของคนในองค์กร (หรือผู้ใช้สาธารณะตามแต่นโยบายของห้องสมุด) ขณะที่ห้องสมุดอื่นจาเป็นต้องสนอง
ความต้องการของผู้ใช้ทั้งด้าน Contents และ Space เมื่อผู้ใช้ในองค์กรไม่ได้ให้ความสาคัญกับพื้นที่มาก
นัก ห้องสมุดจึงต้องหันมาใส่ใจเรื่อง Contents ให้มากขึ้น การสร้างเครือข่ายความร่วมมือฯ จึงเป็น
สิ่งจาเป็น
การเติบโตของเทคโนโลยีทางสารสนเทศก็อาจช่วยให้เครือข่ายความร่วมมือฯ พัฒนาไปได้ด้วย
เช่นกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสะดวกในการเข้าถึงสารสนเทศ แต่ในทางกลับกัน ความสะดวกอาจ
ตามมาด้วยความเสี่ยงบางประการด้วย อาทิ การละเมิดลิขสิทธิ์ การนาสารสนเทศไปใช้อย่างผิด
วัตถุประสงค์ เป็นต้น
ห้องสมุดต้องมีความแตกต่าง
หากห้องสมุดทุกแห่งเหมือนกันหมด แล้วจะสร้างเครือข่ายความร่วมมือไปเพื่ออะไร
ห้องสมุดก็ไม่ควรขาดเอกลักษณ์ของตนเอง ยิ่งเมื่อมีความร่วมมือด้วยกันแล้ว การที่ห้องสมุดแต่
ละแห่งไม่มีความต่างกัน ความร่วมมือก็ไม่อาจบังเกิดขึ้น
ทรัพยากรห้องสมุดยุคใหม่ถูกเปลี่ยนมาเป็นรูปแบบดิจิทัลมากขึ้น โอกาสในการบอกรับจึงมี
ความคล้ายคลึงกันมากขึ้น ข้อแตกต่างมีเพียงประการเดียวคือปริมาณการบอกรับ บางครั้งจึงเกิดความ
ร่วมมือในการบอกรับทรัพยากรร่วมกัน ซึ่งเป็นการตอบโจทย์ที่ดีว่าทาไมถึงต้องมีเครือข่ายฯ เพื่อลดการ
บอกรับที่ซ้าซ้อนกันนั่นเอง
ในยุคที่ห้องสมุดไม่ใช่ตัวเลือกแรกในการค้นหาข้อมูล ห้องสมุดจึงจาเป็นต้องสร้างความโดดเด่น
ค้นหาจุดแข็งของตนเองเพื่อสร้างเหตุผลและความจาเป็นในการมีอยู่
ห้องสมุดแต่ละแห่งควรแสวงหาความโดดเด่นของตนเองให้เจอ โดยเฉพาะการสร้าง Contents
ที่เป็นประโยชน์และต่างจากห้องสมุดอื่น ห้องสมุดในส่วนภูมิภาคเป็นตัวอย่างที่ดี สังเกตได้ว่าห้องสมุด
ในส่วนภูมิภาคส่วนใหญ่มักมีการจัด Collection หรือรวบรวมจัดเก็บข้อมูลในท้องถิ่น สิ่งนี้คือตัวอย่างที่
เด่นชัดในการสร้างความโดดเด่นที่ห้องสมุดอื่นไม่มีทางมีเหมือน
หากจะกล่าวว่าเครือข่ายความร่วมมือฯ ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อการแบ่งปัน ก็คงไม่ผิดนัก การ
แบ่งปันนี้ประกอบไปด้วย สาระความรู้ (Contents) ความคิดสร้างสรรค์ (Idea) และ ประสบการณ์
(Experience) ห้องสมุดควรสร้างความโดดเด่นเพื่อเป็นจุดได้เปรียบ และประสานความร่วมมือให้
แข็งแกร่งและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ทุกอย่างที่เป็นประโยชน์สามารถแบ่งปันถึงกันได้ โดยอาจไม่
จาเป็นต้องสร้างเครือข่ายฯ ที่เป็นทางการ การสร้างเครือข่ายฯ แบบหลวมๆ โดยอาศัยความสัมพันธ์
ระหว่างบุคลากร ก็สามารถพัฒนาการดาเนินงานของห้องสมุดได้ไม่แพ้กัน
ประเมินตนเอง สารวจผู้อื่น ผู้ใช้เป็นโจทย์
เมื่อการสร้างเครือข่ายความร่วมมือฯ เกิดจากห้องสมุดตั้งแต่สองแห่งขึ้นไป ย่อมจะเกิดการ
เปรียบเทียบระหว่างกันในทุกๆ ด้าน ดังนั้น ก่อนที่จะจับมือเป็นพันธมิตรกับห้องสมุดอื่น เราเองก็ควร
จะต้องรู้จักตนเองให้มากที่สุดเสียก่อน ตอบตนเองให้เสียก่อนว่าห้องสมุดของเราโดดเด่นในเรื่องใด ถ้า
จะสร้างเครือข่ายความร่วมมือฯ เรามีอะไรไปแบ่งปันให้ผู้อื่นหรือเรามีสิ่งใดที่จะดึงดูดให้ห้องสมุดอื่น
อยากจะเชื่อมโยงกับเรา
จุดเริ่มต้นที่ต้องทาอย่างที่สุดคือการพัฒนาสิ่งที่เป็นอยู่ให้ดียิ่งขึ้นและให้ดีที่สุดเสียก่อน แล้วจึง
ค่อยคิดพัฒนาไปสู่ความร่วมมือกับห้องสมุดอื่น คิดแบบง่ายๆ ว่าถ้าเป็นเรา เราอยากจะสร้างเคือข่ายกับ
ห้องสมุดอื่นหรือไม่ เพราะอะไร
การเปิดโลกก็เป็นเรื่องสาคัญ นอกจากรู้จักตัวเองแล้วยังต้องเปิดหูเปิดตา โครงการการศึกษาดู
งานเป็นสิ่งที่จาเป็น ไม่ใช่เพียงการไปเที่ยวเปลี่ยนบรรยากาศ แต่คือโอกาสที่ดีที่สุดในการศึกษาเรียนรู้
จากห้องสมุดอื่นๆ อาจช่วยให้เราเกิดประกายความคิดใหม่ๆ ที่จะนามาพัฒนาห้องสมุดของเราให้
ก้าวหน้ายิ่งขึ้น
ปัญหาที่พบบ่อยสาหรับการศึกษาดูงานคือคาถามที่ว่า ดูงานแล้วได้อะไร
บางห้องสมุดสามารถเขียนรายงานการศึกษาดูงานได้เป็นเล่มๆ สามารถพรีเซนต์ให้ผู้บริหารฟัง
ได้เป็นวันๆ แต่สิ่งเหล่านี้จะไร้ประโยชน์ทันทีหากไม่สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้จริง และการดูงานที่
อุตส่าห์เขียนเป็นเล่มๆ นั้นก็จะสูญเปล่าทันที
ระบบการบริหารดีที่ดี การให้บริการที่แปลกใหม่ ทรัพยากรที่ยอดเยี่ยม ฯลฯ เหล่านี้บางอย่าง
อาจลอกเลียนแบบได้ แต่คงไม่ทั้งหมด เพราะแต่ห้องสมุดย่อมมีความต่างในด้านนโยบาย งบประมาณ
ทรัพยากรบุคคล เราจึงควรพิจารณาความเป็นไปได้ ข้อดี ข้อด้อย ข้อจากัดของห้องสมุดเราเองว่า
สามารถทาอย่างที่เห็นได้ไหม ไม่ใช่ว่าเห็นของใครดีก็เอาอย่างไปเสียหมด สิ่งที่เหนือกว่าคือการรู้จักนา
ความคิดที่ได้มา “ประยุกต์” ให้เข้ากับห้องสมุดของเราเองต่างหาก
สรุป
กล่าวโดยสรุปถึงความร่วมมือระหว่างห้องสมุดนั้น อยู่ที่ว่าจะร่วมมือกันเพื่ออะไร ถ้าไม่มี
เป้าหมายที่ชัดเจน ความร่วมมือระหว่างองค์กรก็ไร้ประโยชน์ และเครือข่ายฯ นั้นก็ไม่จาเป็นต้องสร้างขึ้น
ในรูปแบบหน่วยงานอย่างเป็นทางการ การใช้ความสัมพันธ์ส่วนตัวของบรรณารักษ์หรือเจ้าหน้าที่ก็
นับเป็นการสร้างเครือข่ายฯ ได้เหมือนกัน แนวคิดในการสร้างเครือข่ายฯ ที่จาเป็น ได้แก่
1. กาหนดเป้าหมายที่ชัดเจนในการสร้างเครือข่ายฯ
2. ความเหลื่อมล้าทางศักยภาพของแต่ละห้องสมุดไม่ใช่อุปสรรค
3. ความร่วมมือคือการแบ่งปัน ต้องพร้อมที่จะรับและยินดีที่จะให้
4. ข้อมูล (Contents) แนวคิด (Ideas) ประสบการณ์ (Experience) คือสิ่งที่เครือข่ายควรมีร่วมกัน
5. เลือกใช้กลวิธีและเครื่องมือที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
6. แต่ละห้องสมุดควรหาความเป็นเอกลักษณ์ให้กับตัวเอง เพื่อสร้างจุดต่าง
7. พัฒนา “ตน” คือสิ่งสาคัญที่ต้องไม่มองข้าม
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
อภิชัย อารยะเจริญชัย
บรรณารักษ์ (ผู้ชานาญการพิเศษ) งานสารสนเทศและห้องสมุดสตางค์ มงคลสุข
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
URL: http://stang.sc.mahidol.ac.th www.facebook.com/StangMongkolsukLibrary
e-mail: apichai.ara@mahidol.ac.th
tel: 0 2201 5716

More Related Content

Featured

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

การสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุด

  • 1. การสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุด เครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุดเป็นเรื่องที่มีมาช้านานแล้ว จากแนวความคิดที่ต้องการ ให้เกิดการใช้ทรัพยากรและบริการร่วมกัน เนื่องจากแทบจะเป็นไปไม่ได้เลยที่ห้องสมุดแต่ละแห่งจะมี ทรัพยากรมากเพียงพอและครอบคลุมถึงความต้องการของผู้ใช้ ซึ่งนอกจากส่วนของการให้บริการแล้ว ยังอาจรวมถึงการดาเนินงานบางอย่างของห้องสมุดด้วย ความหมายของ “เครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุด” อาจสรุปรวบยอดได้ว่าคือการทางาน ร่วมกันของห้องสมุดตั้งแต่สองแห่งขึ้นไป เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง แต่การที่จะไปถึง จุดนั้นจาเป็นต้องมีกรอบการทางานบางอย่างที่เป็นข้อตกลงร่วมกันเสียก่อน เนื่องจากห้องสมุดแต่ละ แห่งอาจมีนโยบายหรือข้อกาหนดที่ไม่เหมือนกัน แม้ว่าบางครั้งจะอยู่ภายใต้การบริหารงานขององค์กร เดียวกันก็ตาม ซึ่งการสร้างเครือข่ายความร่วมมือฯ อาจเป็นไปอย่างเป็นทางการหรือไม่ก็ได้ ยกตัวอย่างเช่น การสร้างมาตรฐานการลงรายการบรรณานุกรมสิ่งพิมพ์ หรือ MARC Format ก็ นับได้ว่าเป็นการสร้างเครือข่ายรูปแบบหนึ่งที่เกิดจากความพยายามทาให้เกิดรูปแบบการทางานที่ ตรงกันทั่วโลก เมื่อมีการทางานในรูปแบบเดียวกัน การเชื่อมโยงข้อมูลหรือการเข้าถึงทรัพยากรของ ห้องสมุดแต่ละแห่ง จึงเป็นที่เข้าใจตรงกันและเกิดการประสานความร่วมมือได้ง่ายยิ่งขึ้น แต่ในความหมายของความร่วมมือฯ โดยส่วนใหญ่ยังคงพุ่งเป้าไปที่ทรัพยากรและการให้บริการ เป็นสาคัญ ในประเทศไทยมีการสร้างเครือข่ายห้องสมุดอยู่หลายแห่ง อาทิ เครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างห้องสมุดในส่วนภูมิภาค (PULINET) เครือข่ายความร่วมมือพัฒนาห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา (ThaiLIS) ฯลฯ ซึ่งเกิดจากการการจับมือเป็นพันธมิตรระหว่างห้องสมุดที่มีความคล้ายกันในด้านต่างๆ หรือห้องสมุดที่อยู่เขตพื้นที่ใกล้เคียง หรือกระทั่งห้องสมุดที่มีความแตกต่างกันในทุกด้าน แต่มุ่งเน้น ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการ เพราะแม้ว่าจะเป็นห้องสมุดเฉพาะ แต่ความต้องการของผู้ใช้ที่ เกินกว่าขอบเขตทรัพยากรของห้องสมุด จึงจาเป็นต้องสร้างพันธมิตรขึ้นมาเพื่อการนี้ ทาไมต้องมีเครือข่ายความร่วมมือฯ ประเด็นหลักของการสร้างเครือข่ายความร่วมมือฯ ได้แก่ 1) เพื่อพัฒนาการดาเนินงานของห้องสมุดพันธมิตร 2) ส่งเสริมให้เกิดการใช้ทรัพยากรและบริการร่วมกัน 3) แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและส่งเสริมให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาชีพ บางเครือข่ายความร่วมมือฯ อาจเพิ่มประเด็นของนโยบายการทางาน ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว เป็นไปได้ยากที่ห้องสมุดแต่ละแห่งจะปรับเปลี่ยนนโยบายให้เหมือนกันหรือสอดคล้องกัน เนื่องจาก ห้องสมุดทุกแห่งต่างต้องดาเนินการตามนโยบายของต้นสังกัดซึ่งไม่มีทางที่จะตรงกันได้ทั้งหมด เว้นเสียแต่จะเป็นห้องสมุดที่อยู่ภายใต้องค์กรเดียวกัน
  • 2. ดังนั้นโดยส่วนใหญ่ความร่วมมือระหว่างห้องสมุดจึงมุ่งเน้นไปที่ทรัพยากรและการให้บริการดังที่ ได้กล่าวมาแล้ว ขณะที่ส่วนอื่นๆ สามารถดาเนินการให้เป็นไปตามจุดประสงค์ได้ในขอบเขตที่จากัด แต่ก็ มิได้เป็นอุปสรรคต่อการทางานของเครือข่ายฯ มากนัก อีกทั้งจุดมุ่งหมายหลักที่แม้จะไม่ได้ระบุไว้ชัดเจน แต่ห้องสมุดทุกแห่งล้วนคานึงถึงเป็นอย่างดีนั่นคือ ผู้ใช้บริการ แต่ในยุคปัจจุบันที่เป็นยุคแห่งข้อมูลข่าวสาร ประกอบกับการเจริญเติบโตของเทคโนโลยีทาง สารสนเทศ ทาให้ห้องสมุดไม่ใช่ทางเลือกแรกสาหรับผู้ใช้บริการอีกต่อไปในการค้นหาข้อมูล ห้องสมุด จาเป็นต้องปรับเปลี่ยนบทบาทของตนเองไปตามพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปของผู้ใช้ ซึ่งหากห้องสมุดใดยังคง ดาเนินการแบบเดิมๆ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ก็เท่ากับว่าห้องสมุดกาลังถูกเปลี่ยนให้กลายเป็นเพียงห้อง อ่านหนังสือหรือจุดนัดพบเพียงเท่านั้น สาหรับห้องสมุดที่ดาเนินงานภายใต้องค์กร จาเป็นต้องหาข้อสรุปที่ชัดเจนให้ได้ว่าผู้ใช้บริการ หลักต้องการอะไรจากห้องสมุดกันแน่ เพราะห้องสมุดในองค์กรมีความแตกต่างจากห้องสมุด มหาวิทยาลัย หรือ ห้องสมุดสาธารณะ ห้องสมุดในองค์กรจาเป็นต้องเน้นสาระที่ตอบโจทย์การทางาน ของคนในองค์กร (หรือผู้ใช้สาธารณะตามแต่นโยบายของห้องสมุด) ขณะที่ห้องสมุดอื่นจาเป็นต้องสนอง ความต้องการของผู้ใช้ทั้งด้าน Contents และ Space เมื่อผู้ใช้ในองค์กรไม่ได้ให้ความสาคัญกับพื้นที่มาก นัก ห้องสมุดจึงต้องหันมาใส่ใจเรื่อง Contents ให้มากขึ้น การสร้างเครือข่ายความร่วมมือฯ จึงเป็น สิ่งจาเป็น การเติบโตของเทคโนโลยีทางสารสนเทศก็อาจช่วยให้เครือข่ายความร่วมมือฯ พัฒนาไปได้ด้วย เช่นกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสะดวกในการเข้าถึงสารสนเทศ แต่ในทางกลับกัน ความสะดวกอาจ ตามมาด้วยความเสี่ยงบางประการด้วย อาทิ การละเมิดลิขสิทธิ์ การนาสารสนเทศไปใช้อย่างผิด วัตถุประสงค์ เป็นต้น ห้องสมุดต้องมีความแตกต่าง หากห้องสมุดทุกแห่งเหมือนกันหมด แล้วจะสร้างเครือข่ายความร่วมมือไปเพื่ออะไร ห้องสมุดก็ไม่ควรขาดเอกลักษณ์ของตนเอง ยิ่งเมื่อมีความร่วมมือด้วยกันแล้ว การที่ห้องสมุดแต่ ละแห่งไม่มีความต่างกัน ความร่วมมือก็ไม่อาจบังเกิดขึ้น ทรัพยากรห้องสมุดยุคใหม่ถูกเปลี่ยนมาเป็นรูปแบบดิจิทัลมากขึ้น โอกาสในการบอกรับจึงมี ความคล้ายคลึงกันมากขึ้น ข้อแตกต่างมีเพียงประการเดียวคือปริมาณการบอกรับ บางครั้งจึงเกิดความ ร่วมมือในการบอกรับทรัพยากรร่วมกัน ซึ่งเป็นการตอบโจทย์ที่ดีว่าทาไมถึงต้องมีเครือข่ายฯ เพื่อลดการ บอกรับที่ซ้าซ้อนกันนั่นเอง ในยุคที่ห้องสมุดไม่ใช่ตัวเลือกแรกในการค้นหาข้อมูล ห้องสมุดจึงจาเป็นต้องสร้างความโดดเด่น ค้นหาจุดแข็งของตนเองเพื่อสร้างเหตุผลและความจาเป็นในการมีอยู่ ห้องสมุดแต่ละแห่งควรแสวงหาความโดดเด่นของตนเองให้เจอ โดยเฉพาะการสร้าง Contents ที่เป็นประโยชน์และต่างจากห้องสมุดอื่น ห้องสมุดในส่วนภูมิภาคเป็นตัวอย่างที่ดี สังเกตได้ว่าห้องสมุด
  • 3. ในส่วนภูมิภาคส่วนใหญ่มักมีการจัด Collection หรือรวบรวมจัดเก็บข้อมูลในท้องถิ่น สิ่งนี้คือตัวอย่างที่ เด่นชัดในการสร้างความโดดเด่นที่ห้องสมุดอื่นไม่มีทางมีเหมือน หากจะกล่าวว่าเครือข่ายความร่วมมือฯ ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อการแบ่งปัน ก็คงไม่ผิดนัก การ แบ่งปันนี้ประกอบไปด้วย สาระความรู้ (Contents) ความคิดสร้างสรรค์ (Idea) และ ประสบการณ์ (Experience) ห้องสมุดควรสร้างความโดดเด่นเพื่อเป็นจุดได้เปรียบ และประสานความร่วมมือให้ แข็งแกร่งและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ทุกอย่างที่เป็นประโยชน์สามารถแบ่งปันถึงกันได้ โดยอาจไม่ จาเป็นต้องสร้างเครือข่ายฯ ที่เป็นทางการ การสร้างเครือข่ายฯ แบบหลวมๆ โดยอาศัยความสัมพันธ์ ระหว่างบุคลากร ก็สามารถพัฒนาการดาเนินงานของห้องสมุดได้ไม่แพ้กัน ประเมินตนเอง สารวจผู้อื่น ผู้ใช้เป็นโจทย์ เมื่อการสร้างเครือข่ายความร่วมมือฯ เกิดจากห้องสมุดตั้งแต่สองแห่งขึ้นไป ย่อมจะเกิดการ เปรียบเทียบระหว่างกันในทุกๆ ด้าน ดังนั้น ก่อนที่จะจับมือเป็นพันธมิตรกับห้องสมุดอื่น เราเองก็ควร จะต้องรู้จักตนเองให้มากที่สุดเสียก่อน ตอบตนเองให้เสียก่อนว่าห้องสมุดของเราโดดเด่นในเรื่องใด ถ้า จะสร้างเครือข่ายความร่วมมือฯ เรามีอะไรไปแบ่งปันให้ผู้อื่นหรือเรามีสิ่งใดที่จะดึงดูดให้ห้องสมุดอื่น อยากจะเชื่อมโยงกับเรา จุดเริ่มต้นที่ต้องทาอย่างที่สุดคือการพัฒนาสิ่งที่เป็นอยู่ให้ดียิ่งขึ้นและให้ดีที่สุดเสียก่อน แล้วจึง ค่อยคิดพัฒนาไปสู่ความร่วมมือกับห้องสมุดอื่น คิดแบบง่ายๆ ว่าถ้าเป็นเรา เราอยากจะสร้างเคือข่ายกับ ห้องสมุดอื่นหรือไม่ เพราะอะไร การเปิดโลกก็เป็นเรื่องสาคัญ นอกจากรู้จักตัวเองแล้วยังต้องเปิดหูเปิดตา โครงการการศึกษาดู งานเป็นสิ่งที่จาเป็น ไม่ใช่เพียงการไปเที่ยวเปลี่ยนบรรยากาศ แต่คือโอกาสที่ดีที่สุดในการศึกษาเรียนรู้ จากห้องสมุดอื่นๆ อาจช่วยให้เราเกิดประกายความคิดใหม่ๆ ที่จะนามาพัฒนาห้องสมุดของเราให้ ก้าวหน้ายิ่งขึ้น ปัญหาที่พบบ่อยสาหรับการศึกษาดูงานคือคาถามที่ว่า ดูงานแล้วได้อะไร บางห้องสมุดสามารถเขียนรายงานการศึกษาดูงานได้เป็นเล่มๆ สามารถพรีเซนต์ให้ผู้บริหารฟัง ได้เป็นวันๆ แต่สิ่งเหล่านี้จะไร้ประโยชน์ทันทีหากไม่สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้จริง และการดูงานที่ อุตส่าห์เขียนเป็นเล่มๆ นั้นก็จะสูญเปล่าทันที ระบบการบริหารดีที่ดี การให้บริการที่แปลกใหม่ ทรัพยากรที่ยอดเยี่ยม ฯลฯ เหล่านี้บางอย่าง อาจลอกเลียนแบบได้ แต่คงไม่ทั้งหมด เพราะแต่ห้องสมุดย่อมมีความต่างในด้านนโยบาย งบประมาณ ทรัพยากรบุคคล เราจึงควรพิจารณาความเป็นไปได้ ข้อดี ข้อด้อย ข้อจากัดของห้องสมุดเราเองว่า สามารถทาอย่างที่เห็นได้ไหม ไม่ใช่ว่าเห็นของใครดีก็เอาอย่างไปเสียหมด สิ่งที่เหนือกว่าคือการรู้จักนา ความคิดที่ได้มา “ประยุกต์” ให้เข้ากับห้องสมุดของเราเองต่างหาก
  • 4. สรุป กล่าวโดยสรุปถึงความร่วมมือระหว่างห้องสมุดนั้น อยู่ที่ว่าจะร่วมมือกันเพื่ออะไร ถ้าไม่มี เป้าหมายที่ชัดเจน ความร่วมมือระหว่างองค์กรก็ไร้ประโยชน์ และเครือข่ายฯ นั้นก็ไม่จาเป็นต้องสร้างขึ้น ในรูปแบบหน่วยงานอย่างเป็นทางการ การใช้ความสัมพันธ์ส่วนตัวของบรรณารักษ์หรือเจ้าหน้าที่ก็ นับเป็นการสร้างเครือข่ายฯ ได้เหมือนกัน แนวคิดในการสร้างเครือข่ายฯ ที่จาเป็น ได้แก่ 1. กาหนดเป้าหมายที่ชัดเจนในการสร้างเครือข่ายฯ 2. ความเหลื่อมล้าทางศักยภาพของแต่ละห้องสมุดไม่ใช่อุปสรรค 3. ความร่วมมือคือการแบ่งปัน ต้องพร้อมที่จะรับและยินดีที่จะให้ 4. ข้อมูล (Contents) แนวคิด (Ideas) ประสบการณ์ (Experience) คือสิ่งที่เครือข่ายควรมีร่วมกัน 5. เลือกใช้กลวิธีและเครื่องมือที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด 6. แต่ละห้องสมุดควรหาความเป็นเอกลักษณ์ให้กับตัวเอง เพื่อสร้างจุดต่าง 7. พัฒนา “ตน” คือสิ่งสาคัญที่ต้องไม่มองข้าม -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- อภิชัย อารยะเจริญชัย บรรณารักษ์ (ผู้ชานาญการพิเศษ) งานสารสนเทศและห้องสมุดสตางค์ มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล URL: http://stang.sc.mahidol.ac.th www.facebook.com/StangMongkolsukLibrary e-mail: apichai.ara@mahidol.ac.th tel: 0 2201 5716